SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ดาวเทียม
       นำเสนอ
อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร
       สมำชิก
  1.น.นัสรี สุไลมำน
   2.พบธรรม เกษมสันต์ ณ อยุธยำ
• ป้ำยบอกทำง, ค้นหำ
• สถำนีบนพื้นโลก
• ดาวเทียม (อังกฤษ: Satellite) คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่
  สำมำรถโคจรรอบโลก โดยอำศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สำมำรถโคจร
  รอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจร
  รอบดวงอำทิตย์ วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทำงกำรทหำร กำร
  สื่อสำร กำรรำยงำนสภำพอำกำศ กำรวิจัยทำงวิทยำศำสตร์เช่นกำรสำรวจ
  ทำงธรณีวิทยำสังเกตกำรณ์สภำพของอวกำศ โลก ดวงอำทิตย์ ดวงจันทร์
  และดำวอื่นๆ รวมถึงกำรสังเกตวัตถุ และดวงดำว ดำรำจักร ต่ำงๆ
• ดาวเทียมก่อนทศวรรษที่ 60
• ดำวเทียมได้ถูกส่งขึนไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2500
                     ้
  ดำวเทียมดังกล่ำวมีชื่อว่ำ สปุตนิก (Sputnik) โดยรัสเซียเป็นผู้ส่งขึ้น
  ไปโคจร สปุตนิกทำหน้ำที่ตรวจสอบกำรแผ่รังสีของชั้นบรรยำกำศชั้นไอ
  โอโนสเฟีย ในปี พ.ศ. 2501 สหรัฐอเมริกำได้ส่งดำวเทียมขึ้นไปโคจรบ้ำง
  มีชื่อว่ำ "Explorer" ทำให้รัสเซียและสหรัฐเป็น 2 ประเทศผู้นำ
  ทำงด้ำนกำรสำรวจทำงอวกำศ และกำรแข่งขันกันระหว่ำงทั้งคู่ได้เริ่มขึ้น
  ในเวลำต่อมำ
• ดาวเทียมในทศวรรษที่ 60
• ช่วงทศวรรษนี้เป็นช่วงกำรเฟื่องฟูของดำวเทียมสำหรับมนุษยชำติ ในเดือนสิงหำคม
  ค.ศ. 1960 สหรัฐได้ส่งดำวเทียม Echo 1 ขึ้นไปทำหน้ำที่ในกำรสะท้อนคลื่นวิทยุสู่
  โลกได้เป็นผลสำเร็จ ทำให้เชื่อได้ว่ำกำรสื่อสำรผ่ำนดำวเทียมเป็นเรื่องที่สำมำรถ
  เป็นไปได้ซึ่งก่อนหน้ำนั้น ในเดือนเมษำยนปีเดียวกัน สหรัฐก็ได้ส่งดำวเทียม TIROS
  1 ขึ้นไปสู่อวกำศ ดำวเทียม TIROS 1 เป็นดำวเทียมสำรวจสภำพอำกำศดวงแรกที่
  ได้ส่งภำพถ่ำยกลุ่มเมฆหมอกกลับมำยังโลก จำกนั้นกองทัพเรือสหรัฐได้พัฒนำ
  ดำวเทียมหำตำแหน่งดวงแรกที่ได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรในเดือนเมษำยน ปี ค.ศ. 1960
  และหลังจำกนั้นเป็นต้นมำก็ได้พฒนำดำวเทียมเป็นจำนวนมำกกว่ำ 100 ดวงถูกส่ง
                                  ั
  ขึ้นไปโคจรแทนที่กันในแต่ละปี
• ดาวเทียมในทศวรรษที่ 75
• ช่วงทศวรรษที่ 75 ได้มีกำรเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เกิดขึ้นในโลกของ
  ดำวเทียม อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ๆ ที่มประสิทธิภำพมำกกว่ำเดิมได้
                                         ี
  ถูกนำมำใช้ ชินส่วนอุปกรณ์เหล่ำนั้นล้วนถูกทำขึ้นมำจำกกำรใช้เครื่อง
               ้
  คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีในกำรผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ตั้งแต่
  ขั้นตอนกำรออกแบบและก่อสร้ำงดำวเทียม
ดาวเทียมในทศวรรษที่ 80
• ช่วงทศวรรษที่ 80 ดำวเทียมได้ถูกนำมำใช้ในกำรช่วยเหลือมนุษย์มำก
  ขึ้น ในเดือนพฤศจิกำยน ปี พ.ศ. 2525 Palapa B-2 ซึ่งเป็น
  ดำวเทียมเพื่อกำรช่วยเหลือมนุษย์ดวงแรกที่ถกส่งขึ้นไปโดยบรรทุกไป
                                           ู
  กับกระสวยอวกำศชำเลนเจอร์(ยำนอะพอลโล11)
ดาวเทียมในทศวรรษที่ 90
• ในช่วงทศวรรษที่ 90 ดำวเทียมถูกใช้งำนไปอย่ำงกว้ำงขวำง ไม่เว้น
  แม้แต่งำนธรรมดำทั่วไป ยกตัวอย่ำงเช่น บริษัท TRW Inc. ซึ่งเป็น
  บริษัทเอกชนธรรมดำ ก็ได้มีกำรวำงแผนทีจะสร้ำงระบบดำวเทียมที่
                                            ่
  ครอบคลุมเครือข่ำย ข่ำยกำรสื่อสำรผ่ำนดำวเทียม ระบบนี้เรียกว่ำ
  "Odyssey" ซึ่งได้ถูกใช้ในธุรกิจโทรคมนำคม ดำวเทียมของ TRW
  จะเน้นให้บริกำรในเขตพื้นทีสำคัญๆ เหมือนกับว่ำมันได้ครอบคลุมโลก
                                ่
  ทุกส่วนไว้เป็นหนึ่งเดียว ฉะนั้น บริษัทจึงคำดหวังว่ำจะสร้ำงกำไรงำมๆ
  จำกธุรกิจดำวเทียมโทรคมนำคม เหล่ำนี้เป็นวิวฒนำกำรที่เกิดขึ้นและ
                                                ั
  ถูกพัฒนำไปสู่สิ่งที่ดีกว่ำอยู่ตลอดเวลำ
•   ดำวเทียมเป็นเครื่องมือทำงอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน มีส่วนประกอบหลำยๆ อย่ำงประกอบเข้ำด้วยกันและสำมำรถทำงำนได้โดยอัตโนมัติ สำมำรถโคจร
    รอบโลกด้วยควำมเร็วที่สูงพอที่จะหนีจำกแรงดึงดูดของโลกได้ กำรสร้ำงดำวเทียมนันมีควำมพยำยำมออกแบบให้ชิ้นส่วนต่ำงๆ ทำงำนได้อย่ำง
                                                                               ้
    ประสิทธิภำพมำกที่สุด และรำคำไม่แพงมำก ดำวเทียมประกอบด้วยส่วนประกอบเป็นจำนวนมำก แต่ละส่วนจะมีระบบควบคุมกำรทำงำนแยกย่อยกันไป
    และมีอุปกรณ์เพื่อควบคุมให้ระบบต่ำงๆ ทำงำนร่วมกัน โดยองค์ประกอบส่วนใหญ่ของดำวเทียมประกอบด้วยส่วนต่ำงๆ ดังนี้
•   โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สำคัญมำก โครงจะมีน้ำหนักประมำณ 15 - 25% ของน้ำหนักรวม ดังนั้น จึงจำเป็นต้องเลือกวัสดุที่มีน้ำหนักเบำ
    และต้องไม่เกิดกำรสั่นมำกเกินที่กำหนด หำกได้รับสัญญำณที่มีควำมถี่ หรือควำมสูงของคลื่นมำกๆ (amptitude)
•   ระบบเครื่องยนต์ ซึ่งเรียกว่ำ "aerospike" อำศัยหลักกำรทำงำนคล้ำยกับเครื่องอัดอำกำศ และปล่อยออกทำงปลำยท่อ ซึ่งระบบดังกล่ำวจะทำงำน
    ได้ดีในสภำพสุญญำกำศ ซึ่งต้องพิจำรณำถึงน้ำหนักบรรทุกของดำวเทียมด้วย
•   ระบบพลังงาน ทำหน้ำที่ผลิตพลังงำน และกักเก็บไว้เพื่อแจกจ่ำยไปยังระบบไฟฟ้ำของดำวเทียม โดยมีแผงรับพลังงำนแสงอำทิตย์ (Solar Cell) ไว้
    รับพลังงำนจำกแสงอำทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงำนไฟฟ้ำ ให้ดำวเทียม แต่ในบำงกรณีอำจใช้พลังงำนนิวเคลียร์แทน
•   ระบบควบคุมและบังคับ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ที่เก็บรวมรวมข้อมูล และประมวลผลคำสั่งต่ำงๆ ที่ได้รับจำกส่วนควบคุมบนโลก โดยมีอุปกรณ์
    รับส่งสัญญำณ (Radar System) เพื่อใช้ในกำรติดต่อสื่อสำร
•   ระบบสื่อสารและนาทาง มีอุปกรณ์ตรวจจับควำมร้อน ซึ่งจะทำงำน โดยแผงวงจรควบคุมอัตโนมัติ
•   อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษำระดับควำมสูงให้สัมพันธ์กันระหว่ำงพื้นโลก และดวงอำทิตย์ หรือเพื่อรักษำระดับให้ดำวเทียมสำมำรถโคจรอยู่
    ได้
•   เครื่องมือบอกตาแหน่ง เพื่อกำหนดกำรเคลื่อนที่ นอกจำกนี้ยังมีส่วนย่อยๆ อีกบำงส่วนทีจะทำงำนหลังจำก ได้รับกำรกระตุนบำงอย่ำง เช่น ทำงำนเมื่อ
                                                                                     ่                            ้
    ได้รับสัญญำณ สะท้อนจำกวัตถุบำงชนิด หรือทำงำนเมื่อได้รับลำแสงรังสี ฯลฯ
•   ชิ้นส่วนต่ำงๆ ของดำวเทียมได้ถูกทดสอบอย่ำงละเอียด ส่วนประกอบต่ำงๆ ถูกออกแบบสร้ำง และทดสอบใช้งำนอย่ำงอิสระ ส่วนต่ำงๆ ได้ถูกนำมำ
    ประกอบเข้ำด้วยกัน และทดสอบอย่ำงละเอียดครั้งภำยใต้สภำวะที่เสมือนอยูในอวกำศก่อนที่มัน จะถูกปล่อยขึนไปในวงโคจร ดำวเทียมจำนวนไม่น้อยที่
                                                                          ่                           ้
    ต้องนำมำปรับปรุงอีกเล็กน้อย ก่อนที่พวกมันจะสำมำรถทำงำนได้ เพรำะว่ำหำกปล่อยดำวเทียมขึนสู่วงโคจรแล้ว เรำจะไม่สำมำรถปรับปรุงอะไรได้ และ
                                                                                           ้
    ดำวเทียมต้องทำงำนอีกเป็นระยะเวลำนำน ดำวเทียมส่วนมำกจะถูกนำขึ้นไปพร้อมกันกับจรวด ซึ่งตัวจรวดจะตกลงสู่มหำสมุทรหลังจำกที่เชื้อเพลิงหมด
คาถาม+เฉลย
• ดำวเทียมทำหน้ำที่อย่ำงไร
• ตอบ ดำวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยูในตำแหน่ง วงโคจรค้ำงฟ้ำ ซึ่งมีระยะห่ำงจำก
                                     ่
  พื้นโลกประมำณ 36000 - 38000 กิโลเมตร และโคจรตำมกำรหมุนของโลก เมื่อ
  เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นโลกจะเสมือนว่ำดำวเทียมลอยนิ่งอยู่บนท้องฟ้ำ และ
  ดำวเทียมจะมีระบบเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมตำแหน่งให้อยู่ในตำแหน่งองศำที่ได้สัปทำน
  เอำไว้ กับหน่วยงำนที่ดูแลเรื่องตำแหน่งวงโคจรของดำวเทียมคือ IFRB (
  International Frequency Registration Board )
                       ดำวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้ำ จะทำหน้ำที่เหมือนสถำนีทวน
  สัญญำณ คือจะรับสัญญำณที่ยิงขึ้นมำจำกสถำนีภำคพื้นดิน เรียกสัญญำณนี้ว่ำ
  สัญญำณขำขึ้นหรือ ( Uplink ) รับและขยำยสัญญำณพร้อมทั้งแปลงสัญญำณให้
  มีควำมถี่ต่ำลงเพื่อป้องกันกำรรบกวนกันระหว่ำงสัญญำณขำขึ้นและส่งลงมำ โดยมี
  จำนสำยอำกำศทำหน้ำที่รับและส่งสัญญำณ ส่วนสัญญำณในขำลงเรียกว่ำ (
  Downlink )

More Related Content

Similar to ดาวเทียม

ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402
ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402
ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402Sirawich Wuvanich
 
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406Vilasinee Threerawong
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401Png Methakullachat
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407Palm Siripakorn
 
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406Thunchanok Charoenpinyoying
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมtanakit pintong
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)rapinn
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 

Similar to ดาวเทียม (17)

ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402
ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402
ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402
 
Start
StartStart
Start
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
 
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 

ดาวเทียม

  • 1. ดาวเทียม นำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก 1.น.นัสรี สุไลมำน 2.พบธรรม เกษมสันต์ ณ อยุธยำ
  • 2. • ป้ำยบอกทำง, ค้นหำ • สถำนีบนพื้นโลก • ดาวเทียม (อังกฤษ: Satellite) คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่ สำมำรถโคจรรอบโลก โดยอำศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สำมำรถโคจร รอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจร รอบดวงอำทิตย์ วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทำงกำรทหำร กำร สื่อสำร กำรรำยงำนสภำพอำกำศ กำรวิจัยทำงวิทยำศำสตร์เช่นกำรสำรวจ ทำงธรณีวิทยำสังเกตกำรณ์สภำพของอวกำศ โลก ดวงอำทิตย์ ดวงจันทร์ และดำวอื่นๆ รวมถึงกำรสังเกตวัตถุ และดวงดำว ดำรำจักร ต่ำงๆ
  • 3. • ดาวเทียมก่อนทศวรรษที่ 60 • ดำวเทียมได้ถูกส่งขึนไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2500 ้ ดำวเทียมดังกล่ำวมีชื่อว่ำ สปุตนิก (Sputnik) โดยรัสเซียเป็นผู้ส่งขึ้น ไปโคจร สปุตนิกทำหน้ำที่ตรวจสอบกำรแผ่รังสีของชั้นบรรยำกำศชั้นไอ โอโนสเฟีย ในปี พ.ศ. 2501 สหรัฐอเมริกำได้ส่งดำวเทียมขึ้นไปโคจรบ้ำง มีชื่อว่ำ "Explorer" ทำให้รัสเซียและสหรัฐเป็น 2 ประเทศผู้นำ ทำงด้ำนกำรสำรวจทำงอวกำศ และกำรแข่งขันกันระหว่ำงทั้งคู่ได้เริ่มขึ้น ในเวลำต่อมำ
  • 4. • ดาวเทียมในทศวรรษที่ 60 • ช่วงทศวรรษนี้เป็นช่วงกำรเฟื่องฟูของดำวเทียมสำหรับมนุษยชำติ ในเดือนสิงหำคม ค.ศ. 1960 สหรัฐได้ส่งดำวเทียม Echo 1 ขึ้นไปทำหน้ำที่ในกำรสะท้อนคลื่นวิทยุสู่ โลกได้เป็นผลสำเร็จ ทำให้เชื่อได้ว่ำกำรสื่อสำรผ่ำนดำวเทียมเป็นเรื่องที่สำมำรถ เป็นไปได้ซึ่งก่อนหน้ำนั้น ในเดือนเมษำยนปีเดียวกัน สหรัฐก็ได้ส่งดำวเทียม TIROS 1 ขึ้นไปสู่อวกำศ ดำวเทียม TIROS 1 เป็นดำวเทียมสำรวจสภำพอำกำศดวงแรกที่ ได้ส่งภำพถ่ำยกลุ่มเมฆหมอกกลับมำยังโลก จำกนั้นกองทัพเรือสหรัฐได้พัฒนำ ดำวเทียมหำตำแหน่งดวงแรกที่ได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรในเดือนเมษำยน ปี ค.ศ. 1960 และหลังจำกนั้นเป็นต้นมำก็ได้พฒนำดำวเทียมเป็นจำนวนมำกกว่ำ 100 ดวงถูกส่ง ั ขึ้นไปโคจรแทนที่กันในแต่ละปี
  • 5. • ดาวเทียมในทศวรรษที่ 75 • ช่วงทศวรรษที่ 75 ได้มีกำรเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เกิดขึ้นในโลกของ ดำวเทียม อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ๆ ที่มประสิทธิภำพมำกกว่ำเดิมได้ ี ถูกนำมำใช้ ชินส่วนอุปกรณ์เหล่ำนั้นล้วนถูกทำขึ้นมำจำกกำรใช้เครื่อง ้ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีในกำรผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ตั้งแต่ ขั้นตอนกำรออกแบบและก่อสร้ำงดำวเทียม
  • 6. ดาวเทียมในทศวรรษที่ 80 • ช่วงทศวรรษที่ 80 ดำวเทียมได้ถูกนำมำใช้ในกำรช่วยเหลือมนุษย์มำก ขึ้น ในเดือนพฤศจิกำยน ปี พ.ศ. 2525 Palapa B-2 ซึ่งเป็น ดำวเทียมเพื่อกำรช่วยเหลือมนุษย์ดวงแรกที่ถกส่งขึ้นไปโดยบรรทุกไป ู กับกระสวยอวกำศชำเลนเจอร์(ยำนอะพอลโล11)
  • 7. ดาวเทียมในทศวรรษที่ 90 • ในช่วงทศวรรษที่ 90 ดำวเทียมถูกใช้งำนไปอย่ำงกว้ำงขวำง ไม่เว้น แม้แต่งำนธรรมดำทั่วไป ยกตัวอย่ำงเช่น บริษัท TRW Inc. ซึ่งเป็น บริษัทเอกชนธรรมดำ ก็ได้มีกำรวำงแผนทีจะสร้ำงระบบดำวเทียมที่ ่ ครอบคลุมเครือข่ำย ข่ำยกำรสื่อสำรผ่ำนดำวเทียม ระบบนี้เรียกว่ำ "Odyssey" ซึ่งได้ถูกใช้ในธุรกิจโทรคมนำคม ดำวเทียมของ TRW จะเน้นให้บริกำรในเขตพื้นทีสำคัญๆ เหมือนกับว่ำมันได้ครอบคลุมโลก ่ ทุกส่วนไว้เป็นหนึ่งเดียว ฉะนั้น บริษัทจึงคำดหวังว่ำจะสร้ำงกำไรงำมๆ จำกธุรกิจดำวเทียมโทรคมนำคม เหล่ำนี้เป็นวิวฒนำกำรที่เกิดขึ้นและ ั ถูกพัฒนำไปสู่สิ่งที่ดีกว่ำอยู่ตลอดเวลำ
  • 8. ดำวเทียมเป็นเครื่องมือทำงอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน มีส่วนประกอบหลำยๆ อย่ำงประกอบเข้ำด้วยกันและสำมำรถทำงำนได้โดยอัตโนมัติ สำมำรถโคจร รอบโลกด้วยควำมเร็วที่สูงพอที่จะหนีจำกแรงดึงดูดของโลกได้ กำรสร้ำงดำวเทียมนันมีควำมพยำยำมออกแบบให้ชิ้นส่วนต่ำงๆ ทำงำนได้อย่ำง ้ ประสิทธิภำพมำกที่สุด และรำคำไม่แพงมำก ดำวเทียมประกอบด้วยส่วนประกอบเป็นจำนวนมำก แต่ละส่วนจะมีระบบควบคุมกำรทำงำนแยกย่อยกันไป และมีอุปกรณ์เพื่อควบคุมให้ระบบต่ำงๆ ทำงำนร่วมกัน โดยองค์ประกอบส่วนใหญ่ของดำวเทียมประกอบด้วยส่วนต่ำงๆ ดังนี้ • โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สำคัญมำก โครงจะมีน้ำหนักประมำณ 15 - 25% ของน้ำหนักรวม ดังนั้น จึงจำเป็นต้องเลือกวัสดุที่มีน้ำหนักเบำ และต้องไม่เกิดกำรสั่นมำกเกินที่กำหนด หำกได้รับสัญญำณที่มีควำมถี่ หรือควำมสูงของคลื่นมำกๆ (amptitude) • ระบบเครื่องยนต์ ซึ่งเรียกว่ำ "aerospike" อำศัยหลักกำรทำงำนคล้ำยกับเครื่องอัดอำกำศ และปล่อยออกทำงปลำยท่อ ซึ่งระบบดังกล่ำวจะทำงำน ได้ดีในสภำพสุญญำกำศ ซึ่งต้องพิจำรณำถึงน้ำหนักบรรทุกของดำวเทียมด้วย • ระบบพลังงาน ทำหน้ำที่ผลิตพลังงำน และกักเก็บไว้เพื่อแจกจ่ำยไปยังระบบไฟฟ้ำของดำวเทียม โดยมีแผงรับพลังงำนแสงอำทิตย์ (Solar Cell) ไว้ รับพลังงำนจำกแสงอำทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงำนไฟฟ้ำ ให้ดำวเทียม แต่ในบำงกรณีอำจใช้พลังงำนนิวเคลียร์แทน • ระบบควบคุมและบังคับ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ที่เก็บรวมรวมข้อมูล และประมวลผลคำสั่งต่ำงๆ ที่ได้รับจำกส่วนควบคุมบนโลก โดยมีอุปกรณ์ รับส่งสัญญำณ (Radar System) เพื่อใช้ในกำรติดต่อสื่อสำร • ระบบสื่อสารและนาทาง มีอุปกรณ์ตรวจจับควำมร้อน ซึ่งจะทำงำน โดยแผงวงจรควบคุมอัตโนมัติ • อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษำระดับควำมสูงให้สัมพันธ์กันระหว่ำงพื้นโลก และดวงอำทิตย์ หรือเพื่อรักษำระดับให้ดำวเทียมสำมำรถโคจรอยู่ ได้ • เครื่องมือบอกตาแหน่ง เพื่อกำหนดกำรเคลื่อนที่ นอกจำกนี้ยังมีส่วนย่อยๆ อีกบำงส่วนทีจะทำงำนหลังจำก ได้รับกำรกระตุนบำงอย่ำง เช่น ทำงำนเมื่อ ่ ้ ได้รับสัญญำณ สะท้อนจำกวัตถุบำงชนิด หรือทำงำนเมื่อได้รับลำแสงรังสี ฯลฯ • ชิ้นส่วนต่ำงๆ ของดำวเทียมได้ถูกทดสอบอย่ำงละเอียด ส่วนประกอบต่ำงๆ ถูกออกแบบสร้ำง และทดสอบใช้งำนอย่ำงอิสระ ส่วนต่ำงๆ ได้ถูกนำมำ ประกอบเข้ำด้วยกัน และทดสอบอย่ำงละเอียดครั้งภำยใต้สภำวะที่เสมือนอยูในอวกำศก่อนที่มัน จะถูกปล่อยขึนไปในวงโคจร ดำวเทียมจำนวนไม่น้อยที่ ่ ้ ต้องนำมำปรับปรุงอีกเล็กน้อย ก่อนที่พวกมันจะสำมำรถทำงำนได้ เพรำะว่ำหำกปล่อยดำวเทียมขึนสู่วงโคจรแล้ว เรำจะไม่สำมำรถปรับปรุงอะไรได้ และ ้ ดำวเทียมต้องทำงำนอีกเป็นระยะเวลำนำน ดำวเทียมส่วนมำกจะถูกนำขึ้นไปพร้อมกันกับจรวด ซึ่งตัวจรวดจะตกลงสู่มหำสมุทรหลังจำกที่เชื้อเพลิงหมด
  • 9. คาถาม+เฉลย • ดำวเทียมทำหน้ำที่อย่ำงไร • ตอบ ดำวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยูในตำแหน่ง วงโคจรค้ำงฟ้ำ ซึ่งมีระยะห่ำงจำก ่ พื้นโลกประมำณ 36000 - 38000 กิโลเมตร และโคจรตำมกำรหมุนของโลก เมื่อ เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นโลกจะเสมือนว่ำดำวเทียมลอยนิ่งอยู่บนท้องฟ้ำ และ ดำวเทียมจะมีระบบเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมตำแหน่งให้อยู่ในตำแหน่งองศำที่ได้สัปทำน เอำไว้ กับหน่วยงำนที่ดูแลเรื่องตำแหน่งวงโคจรของดำวเทียมคือ IFRB ( International Frequency Registration Board ) ดำวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้ำ จะทำหน้ำที่เหมือนสถำนีทวน สัญญำณ คือจะรับสัญญำณที่ยิงขึ้นมำจำกสถำนีภำคพื้นดิน เรียกสัญญำณนี้ว่ำ สัญญำณขำขึ้นหรือ ( Uplink ) รับและขยำยสัญญำณพร้อมทั้งแปลงสัญญำณให้ มีควำมถี่ต่ำลงเพื่อป้องกันกำรรบกวนกันระหว่ำงสัญญำณขำขึ้นและส่งลงมำ โดยมี จำนสำยอำกำศทำหน้ำที่รับและส่งสัญญำณ ส่วนสัญญำณในขำลงเรียกว่ำ ( Downlink )