SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
ดาวเทียม
                นำเสนอ
        อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร
              สมำชิกกลุ่ม
1.นำย ถิระพัฒน์ นำคเสวต เลขที่ 2 ม.4/1
2.นำย บุญอุ้ม เมธำกุลชำติ เลขที่ 3 ม.4/1
ดาวเทียม (อังกฤษ: Satellite) คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่สามารถ
โคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ใน
ลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงาน
สภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่นการสารวจทางธรณีวิทยา
สังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึง
การสังเกตวัตถุ และดวงดาว ดาราจักร ต่างๆ
ดาวเทียมเป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน มีส่วนประกอบหลายๆ
อย่างประกอบเข้าด้วยกันและสามารถทางานได้โดยอัตโนมัติ สามารถโคจร
รอบโลกด้วยความเร็วที่สูงพอที่จะหนีจากแรงดึงดูดของโลกได้ การสร้าง
ดาวเทียมนั้นมีความพยายามออกแบบให้ชิ้นส่วนต่างๆ ทางานได้อย่าง
ประสิทธิภาพมากที่สุด และราคาไม่แพงมาก ดาวเทียมประกอบด้วย
ส่วนประกอบเป็นจานวนมาก แต่ละส่วนจะมีระบบควบคุมการทางานแยก
ย่อยกันไป และมีอุปกรณ์เพื่อควบคุมให้ระบบต่างๆ ทางานร่วมกัน โดย
องค์ประกอบส่วนใหญ่ของดาวเทียมประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
1.โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สาคัญมาก โครงจะมีน้าหนัก
ประมาณ 15 - 25% ของน้าหนักรวม ดังนั้น จึงจาเป็นต้องเลือกวัสดุที่มีน้าหนัก
เบา และต้องไม่เกิดการสั่นมากเกินที่กาหนด หากได้รับสัญญาณที่มีความถี่
หรือความสูงของคลื่นมากๆ (amptitude)
2.ระบบเครื่องยนต์ ซึ่งเรียกว่า "aerospike" อาศัยหลักการทางานคล้าย
กับเครื่องอัดอากาศ และปล่อยออกทางปลายท่อ ซึ่งระบบดังกล่าวจะทางานได้
ดีในสภาพสุญญากาศ ซึ่งต้องพิจารณาถึงน้าหนักบรรทุกของดาวเทียมด้วย
3. ระบบพลังงาน ทาหน้าที่ผลิตพลังงาน และกักเก็บไว้เพื่อแจกจ่ายไป
ยังระบบไฟฟ้าของดาวเทียม โดยมีแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar
Cell) ไว้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า ให้
ดาวเทียม แต่ในบางกรณีอาจใช้พลังงานนิวเคลียร์แทน
4. ระบบควบคุมและบังคับ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ที่เก็บรวมรวม
ข้อมูล และประมวลผลคาสั่งต่างๆ ที่ได้รับจากส่วนควบคุมบนโลก โดยมี
อุปกรณ์รับส่งสัญญาณ (Radar System) เพื่อใช้ในการ
ติดต่อสื่อสาร
5.ระบบสื่อสารและนาทาง มีอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ซึ่งจะทางาน
โดยแผงวงจรควบคุมอัตโนมัติ
6. อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษาระดับความสูงให้สัมพันธ์
กันระหว่างพื้นโลก และดวงอาทิตย์ หรือเพื่อรักษาระดับให้ดาวเทียม
สามารถโคจรอยู่ได้
7. เครื่องมือบอกตาแหน่ง เพื่อกาหนดการเคลื่อนที่ นอกจากนี้ยังมี
ส่วนย่อยๆ อีกบางส่วนที่จะทางานหลังจาก ได้รับการกระตุ้นบางอย่าง
เช่น ทางานเมื่อได้รับสัญญาณ สะท้อนจากวัตถุบางชนิด หรือทางานเมื่อ
ได้รับลาแสงรังสี ฯลฯ
ชิ้นส่วนต่างๆ ของดาวเทียมได้ถูกทดสอบอย่างละเอียด ส่วนประกอบต่างๆ
ถูกออกแบบสร้าง และทดสอบใช้งานอย่างอิสระ ส่วนต่างๆ ได้ถูกนามา
ประกอบเข้าด้วยกัน และทดสอบอย่างละเอียดครั้งภายใต้สภาวะที่เสมือนอยู่
ในอวกาศก่อนที่มัน จะถูกปล่อยขึ้นไปในวงโคจร ดาวเทียมจานวนไม่น้อยที่
ต้องนามาปรับปรุงอีกเล็กน้อย ก่อนที่พวกมันจะสามารถทางานได้ เพราะว่า
หากปล่อยดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรแล้ว เราจะไม่สามารถปรับปรุงอะไรได้ และ
ดาวเทียมต้องทางานอีกเป็นระยะเวลานาน ดาวเทียมส่วนมากจะถูกนาขึ้นไป
พร้อมกันกับจรวด ซึ่งตัวจรวดจะตกลงสู่มหาสมุทรหลังจากที่เชื้อเพลิงหมด
ข้อดีและข้อเสียของระบบดาวเทียม
ข้อดี
1. ส่งสัญญาณครอบคลุมไปยังทุกจุดของโลกได้
2. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการส่งข้อมูลของระบบดาวเทียมไม่
ขึ้นอยู่กับระยะทางที่ห่างกันของสถานีพื้นดิน
ข้อเสีย
มีเวลาหน่วง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณ
ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมีระยะห่าง
จากพื้นโลกประมาณ 36000 - 38000 กิโลเมตร และโคจรตามการหมุน
ของโลก เมื่อเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นโลกจะเสมือนว่าดาวเทียมลอยนิ่งอยู่บน
ท้องฟ้า และดาวเทียมจะมีระบบเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมตาแหน่งให้อยู่ใน
ตาแหน่งองศาทีได้สัปทานเอาไว้ กับหน่วยงานที่ดูแลเรื่องตาแหน่งวงโคจร
                ่
ของดาวเทียมคือ IFRB ( International Frequency
Registration Board )
ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะทาหน้าที่เหมือนสถานีทวน
สัญญาณ คือจะรับสัญญาณทียิงขึ้นมาจากสถานีภาคพื้นดิน เรียก
                            ่
สัญญาณนี้ว่าสัญญาณขาขึ้นหรือ ( Uplink ) รับและขยาย
สัญญาณพร้อมทั้งแปลงสัญญาณให้มีความถี่ต่าลงเพื่อป้องกันการ
รบกวนกันระหว่างสัญญาณขาขึ้นและส่งลงมา โดยมีจานสายอากาศ
ทาหน้าที่รับและส่งสัญญาณ ส่วนสัญญาณในขาลง
เรียกว่า        ( Downlink )
1. จงบอกส่วนประกอบของดาวเทียมมา 3 อย่าง
  โครงสร้างดาวเทียม ระบบเครื่องยนต์ ระบบพลังงาน ระบบควบคุม ระบบสื่อสาร
  อุปกรณ์ควบคุมระดับสูง เครื่องมือบอกตาแหน่ง

 2. ข้อดีของดาวเทียมคืออะไร

1. ส่งสัญญาณครอบคลุมไปยังทุกจุดของโลกได้
2. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการส่งข้อมูลของระบบดาวเทียมไม่ขึ้นอยู่กับระยะทางที่
ห่างกันของสถานีพื้นดิน
3.ข้อเสียของดาวเทียม
มีเวลาหน่วง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณ
4.ดาวเทียมค้างฟ้ามีระยะทางห่างจากโลกประมาณเท่าไหร่

ประมาณ 36000 - 38000 กิโลเมตร
5. หน่วยงานที่ดูแลเรื่องตาแหน่งวงโคจรของดาวเทียมคือ

IFRB ( International Frequency Registration Board )
1.http://www.thaigoodview.com/node/118153

2.http://th.wikipedia.org
3.http://www.atom.rmutphysics.com/
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401

More Related Content

What's hot

กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ narongsakday
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar systemJiraporn
 

What's hot (17)

Universe
UniverseUniverse
Universe
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียนแบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar system
 

Similar to ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401

ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403Purinut Wongmaneeroj
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1onchalermpong
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียมWatta Poon
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 

Similar to ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401 (20)

ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
 
Start
StartStart
Start
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ดาวฤกษ์.pptx
ดาวฤกษ์.pptxดาวฤกษ์.pptx
ดาวฤกษ์.pptx
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Astro & space technology
Astro & space technologyAstro & space technology
Astro & space technology
 

ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401