SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
เทคโนโลยีอวกาศ
(space technology)
ครู
สุขุมาล
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
space technologyspace technology
อวกาศ space หมายถึง อาณาบริเวณ
อันกว้างใหญ่ เลยชั้นบรรยากาศของ
โลกออกไป ไม่สามารถระบุถึง
ขอบเขตได้ชัดเจน
เทคโนโลยีอวกาศ หมายถึง ระเบียบ
วิธีการนำาความรู้ เครื่องมือและวิธีการ
ต่างๆทางวิทยาศาสตร์มาปรับใช้ให้
เหมาะสมกับการศึกษาทางด้าน
ดาราศาสตร์ และอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
คือ การสำารวจสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่นอกโลก
รวมทั้งโลกของเรา
ปัจจุบันเทคโนโลยีอวกาศได้มีการ
พัฒนาไปเป็นอย่างมาก ทำาให้ได้ความรู้
ใหม่ๆ มากขึ้น หน่วยงานที่มีบทบาทมาก
ในการพัฒนาทางด้านนี้ คือ องค์การนา
ซ่าของสหรัฐอเมริกา
การศึกษาสิ่งต่าง ๆ ในเอกภพโดยการ
ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศนั้นมี
กล้องโทรทรรศน์กล้องโทรทรรศน์((telescopetelescope))
ชนิดของกล้องโทรทรรศน์
1.กล้องโทรทรรศน์ แบบหักเหแสง
(Refractor)
2.กล้องโทรทรรศน์ แบบสะท้อนแสง
(Reflector)
3.กล้องโทรทรรศน์ชนิดผสม
(Catadioptic)
กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง ที่ใหญ่ที่สุดกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง ที่ใหญ่ที่สุด
ในโลกในโลก
เป็นแบบหักเหแสง อยู่ที่หอดูดาวเยอร์เกสเป็นแบบหักเหแสง อยู่ที่หอดูดาวเยอร์เกส
สหรัฐอเมริกาสหรัฐอเมริกา
เลนส์ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง
กล้องโทรทรรศน์ ที่หอดูดาวสิรินธร จกล้องโทรทรรศน์ ที่หอดูดาวสิรินธร จ ..เชียงใหม่เชียงใหม่
เริ่มดำาเนินการมาตั้งแต่ปี พเริ่มดำาเนินการมาตั้งแต่ปี พ ..ศศ..25392539 เสร็จสมบูรณ์ในเสร็จสมบูรณ์ใน
เดือน ธเดือน ธ..คค 25432543 เป็นกล้องแบบสะท้อนแสง ชนิดริชชีเป็นกล้องแบบสะท้อนแสง ชนิดริชชี--
เครเทียน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเครเทียน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.50.5 เมตรเมตร ((2020 นิ้วนิ้ว))
การเดินทางสู่อวกาศการเดินทางสู่อวกาศ
การจะเดินทางออกจากโลกจึงต้องตอบ
คำาถามต่างๆ
ที่ท้าทาย คือ• จะใช้ยานพาหนะอะไรจึงจะเดินทางไป
ได้
• จะออกแบบยาน อย่างไร
• จะใช้พลังงานจากแหล่งใด เป็นเชื้อ
เพลิง
• ทำาอย่างไร ยานพาหนะ จะเอาชนะแรง
โน้มถ่วงของโลกได้
ในการส่งดาวเทียมหรือยาน
อวกาศขึ้นสู่อวกาศ จะต้องอาศัย
จรวดที่มีแรงขับดันและความเร็ว
สูง สามารถ เอาชนะแรงโน้มถ่วง
ของโลกที่พยายามดึงดูดมวลทุก
อย่างเข้าสู่พื้นโลก ความเร็วของ
จรวดหรือยานอวกาศที่สามารถ
เอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกได้
เรียกว่า ความเร็วจากผิวโลกที่จะ
การใช้ประโยชน์จากจรวดในการใช้ประโยชน์จากจรวดใน
อดีตอดีต
บันทึกของชาวจีนที่ต่อสู้กับชาวมองโกล
ในปี พ.ศ.1775 กล่าวถึงการใช้
ประโยชน์จากจรวดไว้ว่า ใช้จรวดขับ
ดันลูกธนูพุ่งเข้าหาฝ่ายตรงข้าม
บั้งไฟของไทยก็มีหลักการเดียวกับจรวด
คือ แรงกิริยาจากไอเสียกระทำาต่อบั้งไฟ
ให้พุ่งออกไปข้างหน้า เท่ากับแรง
ปฏิกิริยาจากบั้งไฟ กระทำาต่อ ไอเสียให้
พุ่งไปข้างหลัง
ในปีพ.ศ.2446 ไชออลคอฟสกี
( Tsiolkovski )
ชาวรัสเซีย ค้นคว้าเกี่ยวกับเชื้อเพลิง
แข็งจะไม่มีแรงขับดันสูงพอที่จะนำายาน
อวกาศไปสู่อวกาศได้ ควรใช้เชื้อเพลิง
เหลว
ซึ่งแยกเชื้อเพลิง และสารที่ช่วยในการ
เผาไหม้ออกจากกัน
การนำาจรวดมาต่อเป็นชั้นๆ จะช่วยลด
มวลของจรวดลง
ไชออลคอฟสกีไชออลคอฟสกี (( Tsiolkovski )Tsiolkovski )
หลักการส่งยานอวกาศของไช
ออลคอฟสกีถือเป็นหลักการ
สำาคัญในการเดินทางสู่อวกาศ
ในปี พ.ศ.2469 โรเบิร์ต กอดดาร์
ด ( Robert Goddard ) ชาว
อเมริกัน ประสบความสำาเร็จใน
การสร้างจรวดเชื้อเพลิงเหลว
โดยใช้ออกซิเจนเหลวเป็นสารที่
ช่วยในการเผาไหม้อยู่ในถังหนึ่ง
โรเบิร์ต กอดดาร์ดโรเบิร์ต กอดดาร์ด (( RobertRobert
Goddard )Goddard )
ได้มีการพัฒนา จรวดเชื้อเพลิงเหลว
มาเป็นลำาดับ กระทั่งสหภาพโซเวียต
ประสบความสำาเร็จในการใช้จรวด
สามท่อนสำาหรับส่งยานอวกาศ หรือ
ดาวเทียมที่มีนำ้าหนักมากขึ้นสู่อวกาศ
จากนั้นการศึกษาค้นคว้า ด้านอวกาศ
ก็มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว เนื่องจาก
มีการแข่งขันกันระหว่างประเทศ
มหาอำานาจ ระหว่างรัสเซียและ
ยุคสำารวจอวกาศเริ่มอย่างจริงจัง
เมื่อปี พ.ศ. 2500 เมื่อสหภาพ
โซเวียตส่ง ดาวเทียมสปุตนิก 1 ขึ้น
ไปในอวกาศ หลังจากนั้นในปี
เดียวกัน สหภาพโซเวียตก็ส่ง
ดาวเทียม สปุตนิก 2 โดยมีสุนัข
ตัวเมียชื่อไลก้า ขึ้นไปในอวกาศ
ด้วย
 ต่อมาสหรัฐอเมริกาจึงส่งดาว
เทียมเอกซ์พลอเรอร์1เข้าสู่วงโคจร
ดาวเทียมสปุตนิคดาวเทียมสปุตนิค
ยาน สปุตนิคยาน สปุตนิค-2-2 ได้ส่งหมาที่ชื่อได้ส่งหมาที่ชื่อ
ไลก้าไลก้า((LaikaLaika))
ไปด้วยแม้ว่ามันจะไม่ได้กลับมาไปด้วยแม้ว่ามันจะไม่ได้กลับมา
โลกก็ตามโลกก็ตาม
ต่อมาสหรัฐอเมริกาจึงส่งดาวเทียม
เอกซ์พลอเรอร์1เข้าสู่วงโคจรของ
โลกในปี พ.ศ. 2501
ผู้หญิงคนแรกที่เดินทางไปใน
อวกาศเป็นชาวรัสเซีย ชื่อ วาเล็น
ตินา เทอเรซโกวา ในปี ค.ศ. 1963
ดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์ดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์11
วาเล็นตินา เทอเรซโกวาวาเล็นตินา เทอเรซโกวา
12   เมษายน 1961   ยูริ กาการิน ชาว
  รัสเซีย เป็นมนุษย์คนแรกที่ขึ้นสู่อวกาศ
 กาการินขึ้นไปสูง 200   ไมล์ โคจรรอบ
โลก 2     รอบ ต่อมาเพียง 5  สัปดาห์หลัง
 จาก กาการิน ขึ้นสู่อวกาศ อเมริกันก็ส่ง
นักบินอวกาศขึ้นสู่อวกาศสำาเร็จ    
 
วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ.
1961) นักบินอวกาศ อลัน บี. เชฟเพิร์ด จู
เนียร์ กลายเป็นชาวอเมริกันคนแรกใน
อวกาศ
จอห์น เกล็นน์ กลายเป็นชาวอเมริกันคน
แรก ที่โคจรรอบโลก เมื่อวันที่ 20
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505
ยานอพอลโล 11 (16-24 กรกฎาคม
1969)พามนุษย์ไปลงบนดวงจันทร์ครั้ง
แรก มีลูกเรือสามคน คือ นีล อาร์มส
ตรอง, เอดวิน อัลดริน และ ไมเคิ้ล คอ
ลลินส์
นักบินอวกาศก้าวเดินบนพื้นผิวนักบินอวกาศก้าวเดินบนพื้นผิว
ดวงจันทร์ดวงจันทร์
ในการเดินทางไปกับ ยานอะในการเดินทางไปกับ ยานอะ
พอลโลพอลโล 1111
ระบบการขนส่งอวกาศระบบการขนส่งอวกาศ
ระบบการขนส่งอวกาศ เป็นโครงการที่ถูก
ออกแบบให้สามารถนำาชิ้นส่วนบางส่วนที่ใช้
ไปแล้วกลับมาใช้ใหม่อีก เพื่อเป็นการ
ประหยัด และมีประสิทธิภาพมากที่สุด ระบบ
การขนส่งอวกาศประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ
1. จรวดเชื้อเพลิงแข็ง
2. ถังเชื้อเพลิงภายนอก (สำารองไฮโดรเจน
เหลวและออกซิเจนเหลว)
3. ยานขนส่งอวกาศ(กระสวยอวกาศ)( space
shuttle)
กระสวยอวกาศลำาแรกที่ปล่อยใช้กระสวยอวกาศลำาแรกที่ปล่อยใช้
งานสู่อวกาศคืองานสู่อวกาศคือ
กระสวยอวกาศโคลัมเบีย ในวันที่กระสวยอวกาศโคลัมเบีย ในวันที่
1212 เมษายน พเมษายน พ..ศศ.. 25242524
ดาวเทียม(satellite) คือสิ่งประดิษฐ์ ที่
มนุษย์สร้างขึ้น แล้ว ส่งไปโคจรรอบ
โลก (หรือโคจร ไปในอวกาศ ซึ่งจะ
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ยานอวกาศ)
ดาวเทียม คือ ห้องทดลองที่บรรจุ
อุปกรณ์เอาไว้ ส่งขึ้นไปโคจรรอบ
โลก มีรูปทรงต่างๆ ดาวเทียมมีระยะ
เวลาโคจรรอบโลกแตกต่างกันขึ้นอยู่
กับขนาดและระยะห่างของวงโคจร
การส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลก
ทำาได้
2 วิธี คือ ส่งโดยใช้จรวด และ ส่งโดย
การใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีอวกาศ
ดาวเทียมดาวเทียม ((satellitesatellite))
สามารถแบ่งประเภทของดาวเทียม
ตามหน้าที่ต่างๆ ได้ดังนี้ (1) ดาวเทียม
อุตุนิยมวิทยา
(2) ดาวเทียมสำารวจทรัพยากร
(3) ดาวเทียมสื่อสาร
(4) ดาวเทียมสังเกตการณ์ทาง
ดาราศาสตร์
(5) ดาวเทียมทางทหาร
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาได้ถูกส่ง
ขึ้นสู่วงโคจรในอวกาศเป็นครั้ง
แรกเมื่อ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
2503 มีชื่อว่า
TIROS-1 (Television and Infrared
Observational Satellite) ของ
ประเทศสหรัฐอเมริกา หากเรา
แบ่งดาวเทียมอุตุนิยม วิทยาตาม
ลักษณะการโคจรรอบโลกของ
1. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาชนิดวงโคจร
ค้างฟ้า (Geostationary
Meteorological Satellite) ดาวเทียม
ชนิดนี้จะโคจรรอบโลกใช้เวลา 24
ชั่วโมง ซึ่งเท่ากับเวลาที่โลกหมุนรอบ
ตัวเอง โดยวงโคจรจะอยู่ในตำาแหน่ง
เส้นศูนย์สูตรของโลก และจะโคจรไป
ไปในทางเดียวกับการโคจรรอบตัว
เองของโลกด้วยความเร็วที่เท่ากัน
ดังนั้นตำาแหน่งของดาวเทียมจะ
สัมพันธ์กับตำาแหน่งบนพื้นโลกใน
บริเวณเดิม เสมอ
2. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาชนิดโคจรรอบ
โลก (NearPolarOrbit Meteorological
Satellite) ดาวเทียมชนิดนี้จะโคจรผ่าน
ใกล้ขั้วโลกเหนือ และ ขั้วโลกใต้มีความ
สูงจากพื้นโลกประมาณ 850 กิโลเมตร
โดยจะโคจรรอบโลก ประมาณ 102 นาที
ต่อ 1 รอบ ในหนึ่งวันจะโคจรรอบโลก
ประมาณ 14 รอบ และ จะเคลื่อนที่ผ่าน
เส้นศูนย์สูตรในเวลาเดิม (ตามเวลาท้อง
ถิ่น) ผ่านแนวเดิม 2 ครั้ง โดยจะโคจร
การถ่ายภาพของดาวเทียมชนิดนี้จะ
ถ่ายภาพ และส่งสัญญาณข้อมูลสู่ภาค
พื้นดินในเวลาจริง (Real Time) ใน
ขณะที่ดาวเทียม โคจรผ่านพื้นที่นั้นๆ
โดยจะครอบคลุมความกว้างประมาณ
2,700 กิโลเมตร ตัวอย่างดาวเทียม
ประเภทนี้ได้แก่ ได้แก่ ดาวเทียม
NOAA ดาวเทียม FY-1 ดาวเทียม
METEOR-2 เป็นต้น
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา เป็น
ดาวเทียมที่ทำาหน้าที่ ตรวจความ
แปรปรวนของลมฟ้าอากาศ เพื่อการ
พยากรณ์อากาศ ได้แก่ ดาวเทียมไท
รอส ทรานสิต นิมบัส และ
คอสมอส GMS, NOAA
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาดวงแรก เพื่อ
พยากรณ์อากาศ คือ ดาวเทียมไท
รอส 1 ส่งเข้าสู่วงโคจรรอบโลก เมื่อ
วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2503 และมี
ดาวเทียมไทรอสติดตามขึ้นไปอีกถึง
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา GMSGMS
ดาวเทียมสำารวจทรัพยากรดาวเทียมสำารวจทรัพยากร
โลกโลก
เป็นดาวเทียมที่มีอุปกรณ์สำารวจ
แหล่งทรัพยากรที่สำาคัญ นอกจาก
นี้ยังเฝ้าสังเกตสภาวะแวดล้อมที่
เกิดบนโลก ช่วยเตือนเรื่อง
อุทกภัย และความแห้งแล้งที่เกิด
ขึ้น การตัดไม้ทำาลายป่า การ
ทับถมของตะกอนปากแม่นำ้า รวม
ไปถึงแหล่งที่มีปลาชุกชุม และ
อื่นๆ อีกมาก
ดาวเทียมสำารวจ
ทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่
- ดาวเทียมแลนด์แสต ( Landsat )
ของสหรัฐอเมริกา
- ดาวเทียม SPOT ของฝรั่งเศส
และกลุ่มประเทศในยุโรป -
ดาวเทียม MOS-1 ของประเทศ
ญี่ปุ่นเป็นต้น
ดาวเทียมดาวเทียม SPOTSPOT
ดาวเทียมดาวเทียม LANDSATLANDSAT
ดาวเทียมดาวเทียม NOAANOAA
ดาวเทียมดาวเทียม ERSERS
ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาวเทียมสังเกตการณ์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
เป็นดาวเทียมที่มีกล้องโทรทรรศน์และ
อุปกรณ์ดาราศาสตร์ สำาหรับศึกษาวัตถุ
ท้องฟ้า
ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ที
ทั้งประเภทที่โคจรอยู่รอบโลกและ
ประเภทที่โคจรผ่านไปใกล้ดาวเคราะห์
หรือลงสำารวจดาวเคราะห์ ซึ่งเรียกอีก
อย่างหนึ่งว่ายานอวกาศ
เช่น ยานอวกาศวอยเอเจอร์ที่เดินทาง
ยานอวกาศวอยเอเจอร์ยานอวกาศวอยเอเจอร์
ยานอวกาศยานอวกาศ CassiniCassini
ดาวเทียมสื่อสารดาวเทียมสื่อสาร
เป็นดาวเทียมที่มีอุปกรณ์สื่อสารติดตั้งอยู่
เช่น ดาวเทียมอินเทลแซท
ดาวเทียมชุดนี้อยู่ในวงโคจรรอบโลก 3
แห่ง คือ เหนือมหาสมุทรอินเดีย
เพื่อการติดต่อระหว่างทวีปเอเซียกับทวีป
ยุโรปเหนือมหาสมุทรแปซิฟิก
เพื่อการติดต่อระหว่างทวีปเอเซียกับทวีป
อเมริกา และเหนือมหาสมุทรแอตแลนติก
 เพื่อการติดระหว่างทวีปอเมริกากับทวีป
ยุโรป เมื่อรวม
ดาวเทียมสื่อสารของไทย ชื่อไทยคม สร้าง
โดยบริษัท ฮิวจ์ แอร์คราฟท์ ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ส่งขึ้นสู่อวกาศโดยบริษัทแอ
เรียน สเปซ ประเทศฝรั่งเศส จากฐานส่งที่
เมืองคูรู ดินแดนเฟรนช์เกียนา
ดาวเทียมไทยคมช่วยการติดต่อสื่อสารได้
ทั่วประเทศไทยและประเทศในแถบอินโด
จีนไปจนถึงเกาหลีและญี่ปุ่น รวมทั้งชายฝั่ง
ทะเลด้านตะวันออกของจีน
เป็นดาวเทียมสื่อสารที่ประเทศไทยให้
บริการสื่อสารโทรคมนาคมด้านต่างๆ เช่น
ดาวเทียมปาลาปา ( PALAPA ) เป็น
ดาวเทียมสื่อสารของประเทศ
อินโดนีเซีย
ดาวเทียมไทยคม
        บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำากัด
(มหาชน) ปี 2534 บริษัท ชินวัตร
คอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมิวนิเคชั่นส์
จำากัด (มหาชน) ได้รับสัมปทาน
โครงการดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติ
ของกระทรวงคมนาคมเป็นเวลา 30 ปี
ปัจจุบันบริษัทฯ ประสบความสำาเร็จใน
โดยดาวเทียมไทยคม 1A
และ2 ซึ่งเป็นดาวเทียมรุ่นHS-
376 สามารถให้บริการของ
ช่องสัญญาณจำานวน 28
ทรานสพอนเดอร์แบ่งเป็นย่าน
ความถี่ C-Band 22 ทรานส
พอนเดอร์และ Ku-Band 6
ทรานสพอนเดอร์ ดาวเทียม
ดาวเทียมไทยคม 4 หรือ ไอพี
สตาร์ (IPSTAR) ของบริษัท ชินแซท
เทลไลท์ จำากัด (มหาชน) เป็น
ดาวเทียมสื่อสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก มี
นำ้าหนักถึง 6,486.48 กิโลกรัม สร้าง
โดยบริษัทสเปซ ซิสเต็มส์ ลอเรล
(Space System / Loral - SS/L) ถูก
ปล่อยขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 11 ส.ค.
2548
การขายหุ้น "ชินคอร์ป" หรือหุ้น
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำากัด
(มหาชน)
ให้กับกองทุนเทมาเส็ก บริษัท
สัญชาติสิงคโปร์ ทำาให้
"ดาวเทียม"
ที่ใช้ชื่อ "ไทยคม" ทุกดวง ติดอยู่
ในกลุ่มถูกขายให้บริษัทสิงคโปร์
ไปด้วย
ดาวเทียมไทยคมดาวเทียมไทยคม 44 หรือ ไอพีหรือ ไอพี
สตาร์สตาร์
ดาวเทียมดาวเทียม GPSGPS
ระบบ แจ้งตำาบลที่อยู่ พิกัด ตำาแหน่งบนพื้น
โลกด้วยดาวเทียมนั้น
เป็นโครงการของกระทรวงกลาโหม
สหรัฐอเมริกา ที่ได้ดำาเนิน
โครงการ Global Positioning Systemหรือ
"GPS"ขึ้น
ระบบ GPS จะใช้ดาวเทียมจำานวนทั้งหมด
24 ดวง โคจรอยู่ใน
ระดับสูงที่พ้นจากคลื่นวิทยุรบกวนของโลก
วิธีการที่สามารถให้ความถูกต้องเพียงพอที่
จะใช้ชี้บอกตำาแหน่งได้
ดาวเทียมดาวเทียม GPSGPS
จากการนำามาใช้งานจริง จะให้ความถูก
ต้องสูง
โดยที่ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของ
ตำาแหน่งทางราบตำ่ากว่า 50 เมตร และถ้า
รังวัดแบบวิธี "อนุพันธ์"(Differential)
 จะให้ความถูกต้องถึงระดับเซนติเมตร
จากการพัฒนาทางด้านอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ทำาให้สามารถผลิตเครื่องรับ
GPS
ดาวเทียมดาวเทียม GPSGPS
ยานขนส่งอวกาศดิสคัฟเวอรีนำา
กล้องโทรทรรศน์ มูลค่า 1,500 ล้าน
เหรียญสหรัฐ ขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 25 เม.
ย
พ.ศ. 2533
เพื่อเป็นเกียรติแก่ เอ็ดวิน ฮับเบิล นัก
ดาราศาสตร์ชาวอเมริกา
ผู้ศึกษาค้นคว้าเรื่องราวของกาแล็กซี
ต่างๆ กล้องโทรทรรศน์
กล้องนี้จึงได้ชื่อว่า กล้องโทรทรรศน์
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
กล้องบนพื้นโลกส่องสังเกตวัตถุ
ท้องฟ้าได้ไกลราว 2 พันล้านปีแสง
กล้องฮับเบิลส่องเห็นไปได้ไกลถึง
14,000 ล้านปีแสง
ข้อมูลที่ได้จากกล้องอับเบิลให้เห็น
รายละเอียดต่างๆ ของ
-วัตถุท้องฟ้า
- ส่วนประกอบในระบบสุริยะ
- การกำาเนิดของดาวฤกษ์
- โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงของ
กาแล็กซี
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
ภาพมุมลึกจากกล้อภาพมุมลึกจากกล้อ
งฮับเบิลงฮับเบิล
ในเดือนธันวาคมปี 1995 กล้องโทร
ทัศน์อวกาศฮับเบิลได้ชี้ไปยังอาณา
บริเวณอันว่างเปล่าบนท้องฟ้า ใน Ursa
Major
เป็นเวลา 10 วัน
ได้เป็นสิ่งที่มีชื่อเสียงมากทาง
ดาราศาสตร์ เป็นภาพมุมลึก เป็นส่วน
เล็กๆมันได้ถูกแสดงที่นี่ วัตถุทุกๆอย่าง
ในภาพเป็นแกเล็กซี ที่อยู่ห่างจากเรา 5
ถึง 10 พันล้านปีแสง แกเล็กซีที่ถูกเปิด
ภาพมุมลึกจากกล้องฮับเบิลภาพมุมลึกจากกล้องฮับเบิล
ในเดือนธันวาคมปีในเดือนธันวาคมปี 19951995
นอกจากนั้นยังสามารถแบ่งประเภทนอกจากนั้นยังสามารถแบ่งประเภท
ของดาวเทียมตามความสูงในการของดาวเทียมตามความสูงในการ
โคจรเทียบกับพื้นโลกได้ดังนี้คือโคจรเทียบกับพื้นโลกได้ดังนี้คือ
     1. สูงจากพื้นโลกประมาณ 41,157
กิโลเมตร เป็นดาวเทียมที่โคจรหยุดนิ่ง
กับที่เทียบกับพื้นโลก(Geostationary
Satellites) จะลอยอยู่หยุดนิ่งค้างฟ้าเมื่อ
เทียบกับตำาแหน่งใดตำาแหน่งหนึ่งบน
โลก โดยส่วนมากจะเป็นดาวเทียม
ประเภทดาวเทียมสื่อสาร
ตัวอย่างเช่นดาวเทียมไทยคม
ดาวเทียมเหล่านี้อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร
โลกประมาณ จะวางตัวอยู่ในแนว
เส้นศูนย์สูตรโลก และสูงจากพื้นโลก
ประมาณ 41,157 กิโลเมตร หรือ
2.2. สูงจากพื้นโลกประมาณสูงจากพื้นโลกประมาณ 9,700-9,700-
19,40019,400 กิโลเมตรกิโลเมตร
- เป็นดาวเทียมที่ไม่ได้หยุดนิ่งเทียบกับพื้น
โลก(Asynchronous Satellite) ซึ่งโดยส่วน
มากจะเป็นดาวเทียมนำาทางแบบจีพีเอส
(GPS: Global Positioning System)
- ซึ่งนำาไปประยุกต์ใช้ในระบบการติดตาม
บอกตำาแหน่ง หรือนำาร่องบนโลก ไม่ว่าจะ
เป็น เครื่องบิน เรือเดินสมุทร รถยนต์
- ระบบดาวเทียมจีพีเอสจะประกอบด้วย
ดาวเทียม 24 ดวง ใน 6 วงโคจร ที่มีวง
โคจรเอียงทำามุม 55 องศาในลักษณะสาน
กันคล้ายลูกตระกร้อ
3.3. สูงจากพื้นโลกประมาณสูงจากพื้นโลกประมาณ 4,800-9,7004,800-9,700
กิโลเมตรกิโลเมตร
    - เป็นดาวเทียมที่ไม่ได้หยุดนิ่งเทียบกับ
พื้นโลก (Asynchronous Satellite)
- ใช้สำาหรับการสำารวจ และสังเกตการณ์
ทางวิทยาศาสตร์
เช่น การวิจัยเกี่ยวกับพืช-สัตว์ การ
ติดตามร่องรอยของสัตว์ป่า เป็นต้น
-ดาวเทียมที่ระดับดังกล่าวมีคาบการ
โคจรประมาณ 100 นาที
4.4. สูงจากพื้นโลกประมาณสูงจากพื้นโลกประมาณ 130-130-
11,,940940กิโลเมตรกิโลเมตร
 เป็นดาวเทียมที่ไม่ได้หยุดนิ่งเทียบกับ
พื้นโลก (Asynchronous Satellite)
ใช้ในการสำารวจทรัพยากรบนโลก
รวมไปถึงดาวเทียม
ด้านอุตุนิยมวิทยา

More Related Content

What's hot

ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Thanyamon Chat.
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้Anana Anana
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 

What's hot (20)

ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 

Viewers also liked

มองท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์
มองท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์มองท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์
มองท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์Jiraporn
 
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศnarongsakday
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (7)

มองท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์
มองท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์มองท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์
มองท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์
 
universe
universeuniverse
universe
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
 

Similar to เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407Palm Siripakorn
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมtanakit pintong
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15wan55dee
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15wan55dee
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15wan55dee
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401Png Methakullachat
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียมWatta Poon
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406Vilasinee Threerawong
 
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4pagePrachoom Rangkasikorn
 

Similar to เทคโนโลยีอวกาศ (20)

ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
Start
StartStart
Start
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
 
Astroplan17
Astroplan17Astroplan17
Astroplan17
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
 
Astroplan19
Astroplan19Astroplan19
Astroplan19
 
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
 
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 

เทคโนโลยีอวกาศ