SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล
( Amazing Solar System )
• นาย ณัฐวุฒิ ชะลิ ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 6/4 เลขที่ 10
• นางสาวมยุรี จิโน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 เลขที่ 16
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ระยะเวลาในการดาเนินงาน
1 เดือน (30 วัน)
ผู้จัดทา
• นาย ณัฐวุฒิ ชะลิ ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 6/4 เลขที่ 10
• นางสาวมยุรี จิโน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 เลขที่ 16
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
Amazing Mysterious Solar System
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)
วัตถุประสงค์
 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ ในระบบสุระจักรวาล
 เพื่อศีกษาหาความรู้รอบตัวให้มากขึ้น
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากระบบสุริยะจักรวาลของเรา มีสิ่งต่างๆมากมายที่น่าค้นหานอกเหนือจาก
ว่าดาวต่างๆคือดาวอะไร มีทั้งเรื่องลึกลับและน่ามหัศจรรย์ต่างๆที่ไม่มีคนรู้จัก หรือยังไม่
ค่อยได้รับความสนใจเท่าที่ควร ทาให้ไม่ค่อยมีคนรู้มากนัก และอีกอย่างเรื่องพวกนี้ก็
จัดได้ว่าเป็นความรู้รอบตัวอีกอย่างหนึ่งอีกด้วย ดังนั้นทางคณะผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะ
ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมหัศจรรย์ต่างๆ ในระบบสุริยะจักรวาล
ขอบเขตโครงงาน
(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
 จัดทาโครงงานศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวในระบบสุริยะจักรวาล
 ดวงดาว และดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาล
เอกสารอ้างอิง
ดวงอาทิตย์
ดาวพุธ
ดาวศุกร์
โลก
ดาวอังคาร
ดาวพฤหัส
ดาวเสาร์
ดาวยูเรนัส
ดาวเนปจูน
ดวงอาทิตย์(SUN)
ดวงอาทิตย์ (Sun)
ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะของเรา ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์
แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ล้วนแล้วแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่
สาคัญยิ่งต่อโลก เช่น ให้พลังงานแก่พืชในรูปของแสง และพืชก็เปลี่ยนแสงให้เป็นพลังงานในการตรึงแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นน้าตาล ตลอดจนทาให้โลกมีสภาวะอากาศหลากหลาย เอื้อต่อการดารงชีวิต
ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยไฮโดรเจนอยู่ร้อยละ 74 โดยมวล ฮีเลียมร้อยละ 25 โดยมวล และ
ธาตุอื่น ๆ ในปริมาณเล็กน้อย ดวงอาทิตย์จัดอยู่ในสเปกตรัม G2V ซึ่ง G2 หมายความว่าดวงอาทิตย์
มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ 5,780 เคลวิน (ประมาณ 5,515 องศาเซลเซียส หรือ 9,940 องศาฟาเรนไฮ)
ดวงอาทิตย์จึงมีสีขาว แต่เห็นบนโลกเป็นสีเหลือง เนื่องจากการกระเจิงของแสง ส่วน V (เลข 5) บ่งบอก
ว่าดวงอาทิตย์อยู่ในลาดับหลักผลิตพลังงานโดยการหลอมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม และอยู่ในสภาพสมดุล
ไม่ยุบตัวหรือขยายตัว
ปัจจุบันและอนาคตของดวงอาทิตย์
ตามการศึกษาแบบจาลองคอมพิวเตอร์ว่าด้วยวัฏจักรดาวฤกษ์ นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่าดวงอาทิตย์มี
อายุประมาณ 4,570 ล้านปี ในขณะนี้ดวงอาทิตย์กาลังอยู่ในลาดับหลัก ทาการหลอมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม โดย
ทุก ๆ วินาที มวลสารของดวงอาทิตย์มากกว่า 4 ล้านตันถูกเปลี่ยนเป็นพลังงาน ดวงอาทิตย์ใช้เวลาโดยประมาณ 1
หมื่นล้านปีในการดารงอยู่ในลาดับหลัก
เมื่อไฮโดรเจนซึ่งเป็นเชื้อเพลิงของดวงอาทิตย์หมดลง วาระสุดท้ายของดวงอาทิตย์ก็มาถึง (คือการพ้นไป
จากลาดับหลัก) โดยดวงอาทิตย์จะเริ่มพบกับจุดจบคือการแปรเปลี่ยนไปเป็นดาวยักษ์แดงภายใน 4-5 พันล้านปี ผิว
นอกของดวงอาทิตย์ขยายตัวออกไป ส่วนแกนนั้นยุบตัวลงและร้อนขึ้นสลับกับเย็นลง มีการหลอมฮีเลียมเป็นคาร์บอน
และออกซิเจนที่อุณหภูมิราว 100 ล้านเคลวิน จากสถานการณ์ข้างต้นดูเหมือนว่าดวงอาทิตย์จะกลืนกินโลกให้หลอมลง
ไปเป็นเนื้อเดียวกัน แต่จากรายงานวิจัยฉบับหนึ่งได้ศึกษาพบว่าวงโคจรของโลกจะตีตัวออกห่างดวงอาทิตย์เพราะมวล
ของดวงอาทิตย์ได้สูญเสียไป จนแรงดึงดูระหว่างมวลมีค่าลดลง
ปัจจุบันและอนาคตของดวงอาทิตย์
แต่ถึงกระนั้น น้าทะเลก็ถูกความร้อนจากดวงอาทิตย์เผาผลาญจนระเหยสิ้นไปในอวกาศ และ
บรรยากาศโลกก็อันตรธานไปจนไม่เอื้อแก่ชีวิตต่อมาได้มีการค้นพบ ว่าดวงอาทิตย์นั้นจะสว่างขึ้น 10
เปอร์เซนต์ ทุก ๆ 1000 ล้านปี ถึงตอนนั้นโลกก็ไม่อาจจะเอื้อ ต่อสิ่งมีชีวิตไปก่อนแล้ว เวลาของสิ่งมีชีวิต
บนโลก จึงเหลือแค่ 500 ล้านปีเท่านั้น
หลังจากที่ดวงอาทิตย์ได้ผ่านสภาพการเป็นดาวยักษ์แดงแล้ว อุณหภูมิจากปฏิกิริยาการหลอม
ฮีเลียมที่เพิ่มสลับกับลงภายในแกน ก็จะเป็นตัวการให้ผิวดวงอาทิตย์ด้านนอกผละตัวออกจากแกน เกิด
เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ แล้วอันตรธานไปในความมืดมิดของอวกาศ และเป็นวัสดุสาหรับสร้างดาวฤกษ์และ
ระบบสุริยะรุ่นถัดไป ส่วนแกนที่เหลืออยู่ก็จะกลายเป็นดาวแคระขาวที่ร้อนจัดและมีแสงจางมาก ก่อนจะดับ
ลงกลายเป็นดาวแคระดา จากทั้งหมดที่กล่าวมานี้คือชีวิตของดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยถึงปานกลาง
โครงสร้างดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์เป็นวัตถุที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีมวลคิดเป็นร้อยละ 99
ของระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่มีรูปทรงเกือบเป็นทรงกลม โดยมีความ
แบนที่ขั้วเพียงหนึ่งในเก้าล้าน ซึ่งหมายความว่าความแตกต่างของเส้นผ่านศูนย์กลาง
ที่ขั้วกับเส้นผ่านศูนย์กลางที่เส้นศูนย์สูตรมีเพียง 10 กิโลเมตร จากการที่ดวง
อาทิตย์มีเฉพาะส่วนที่เป็นพลาสมา ไม่มีส่วนที่เป็นของแข็ง ทาให้อัตราเร็วของการ
หมุนรอบตัวเองในแต่ละส่วนมีความต่างกัน เช่นที่เส้นศูนย์สูตรจะหมุนเร็วกว่าที่ขั้ว
ที่เส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์มีคาบการหมุนรอบตัวเอง 25 วัน ส่วนที่ขั้วมีคาบ 35
วัน แต่เมื่อสังเกตบนโลกแล้วจะพบว่าคาบของการหมุนรอบตัวเองที่เส้นศูนย์สูตรของ
ดวงอาทิตย์คือ 28 วัน
ดวงอาทิตย์มีความหนาแน่นมากที่สุดบริเวณแกน
ซึ่งเป็นแหล่งผลิตพลังงาน และมีค่าน้อยลงเกือบเป็นรูปเอ็กโพเนนเชียลตาม
ระยะทางที่ห่างออกมาจากแกน และแม้ว่าภายในดวงอาทิตย์นั้นจะไม่สามารถ
มองเห็นได้ แต่นักวิทยาศาสตร์ก็สามารถศึกษาภายในได้ผ่านทางการใช้คลื่น
สะเทือนในดวงอาทิตย์
โครงสร้างดวงอาทิตย์
• แกน
ส่วนแกนของดวงอาทิตย์สันนิษฐานว่ามีรัศมีเป็น 0.2 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ ความหนาแน่นประมาณ
150,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ 150 เท่าของความหนาแน่นของน้าบนโลก อุณหภูมิประมาณ 13,600,000 เคล
วิน ตลอดชีวิตส่วนใหญ่ของดวงอาทิตย์ ภายในแกนจะมีปฏิกิริยาฟิวชันลูกโซ่ โปรตอน-โปรตอน ซึ่งเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็น
ฮีเลียม พลังงานที่ได้นี้ทาให้ส่วนที่เหลือของดวงอาทิตย์สุกสว่างและเปล่งแสงทุก ๆ วินาที จะมีนิวเคลียสของไฮโดรเจน
3.4×1038 ตัว ถูกแปรรูปเป็นฮีเลียม ผลิตพลังงานได้ 383×1024 จูล หรือเทียบได้กับระเบิดไตรไนโตรโทลูอีน (TNT)
ถึง 9.15×1019 กิโลกรัม พลังงานจากแกนของดวงอาทิตย์ใช้เวลานานมากในการขึ้นสู่พื้นผิว อย่างมากเป็น 50 ล้านปี
อย่างน้อยเป็น 17,000 ปี เพราะโฟตอนพลังงานสูง (รังสีเอกซ์และรังสีแกมมา) ถูกดูดกลืนไปในพลาสมา แล้วเปล่ง
พลังงานออกมาสลับกันเรื่อย ๆ ทุก ๆ ระยะไม่กี่มิลลิเมตร
โครงสร้างดวงอาทิตย์
• เขตแผ่รังสีความร้อน
ในส่วนของเขตแผ่รังสีความร้อน (radiation zone) ซึ่งอยู่ในช่วง 0.2 ถึง 0.7 ส่วนของรัศมีดวงอาทิตย์
ในชั้นนี้ไม่มีการพาความร้อน (convection) เพราะอัตราความแตกต่างของอุณหภูมิเทียบกับระยะความสูงน้อยกว่าอัตรา
การเปลี่ยนอุณหภูมิตามความสูงแบบอะเดียแบติก (adiabatic lapse rate) พลังงานในส่วนนี้ถูกนาออกมาภายนอกช้า
มากดังที่ได้กล่าวไว้ก่อนแล้ว
• เขตพาความร้อน
ในส่วนของเขตพาความร้อน (convection zone) ซึ่งอยู่บริเวณผิวนอกที่เหลือ เป็นส่วนที่พลังงานถูก
ถ่ายเทผ่านแท่งความร้อน (heat column) โดยเนื้อสารที่ร้อนและมีพลังงานเริ่มต้นจากด้านล่าง แล้วไหลขึ้นด้านบนจนถึง
ผิว จากนั้นถ่ายเทความร้อนและกลับลงไปใหม่ แท่งความร้อนสามารถสังเกตได้จาก “เกล็ด” บนภาพถ่ายผิวดวงอาทิตย์
โครงสร้างดวงอาทิตย์
• โฟโตสเฟียร์
ในส่วนของโฟโตสเฟียร์ (photosphere) แปลว่า ทรงกลมแห่งแสง ซึ่งเป็นส่วนที่เรามองเห็นดวงอาทิตย์
แสงสว่างที่เปล่งในดวงอาทิตย์นั้นเกิดจากอิเล็กตรอนชนกับอะตอมไฮโดรเจนเกิดเป็น H-[12][13] เหนือชั้นนี้ แสงอาทิตย์
ก็จะถูกปลดปล่อยออกมา และมีอุณหภูมิต่าลงตามความสูงที่มากขึ้น จนทาให้สังเกตเห็นรอยมัวตรงขอบดวงอาทิตย์ใน
ภาพถ่าย (ดังภาพถ่ายด้านบน)
โครงสร้างดวงอาทิตย์
• บรรยากาศ
บรรยากาศของดวงอาทิตย์ประกอบด้วย 5 ชั้น ได้แก่ ชั้นอุณหภูมิต่าสุด (temperature minimum) โคร
โมสเฟียร์ (chromosphere) เขตเปลี่ยนผ่าน (transition region) โคโรนา (corona) และเฮลิโอสเฟียร์
(heliosphere) ตามลาดับจากต่าไปสูง
ชั้นแรก ชั้นอุณหภูมิต่าสุด มีอุณหภูมิประมาณ 4,000 เคลวิน และหนา 500 กิโลเมตร ชั้นถัดไปคือโครโมส
เฟียร์ ซึ่งแปลว่ารงคมณฑล หรือทรงกลมแห่งสี เหตุที่เรียกชื่อนี้ก็เพราะเห็นเป็นแสงสีแวบขณะเกิดสุริยุปราคา ชั้นนี้หนา
2,000 กิโลเมตร มีอุณหภูมิติดลบถึง -100,000 องศาเซลเซียส ชั้นต่อไปเป็นเขตเปลี่ยนผ่านซึ่งอุณหภูมิอาจติดลบถึงล้าน
เคลวิน และยิ่งต่าขึ้นไปอีกในชั้นโคโรนา ทาให้สิ่งนี้เป็นปัญหาคาใจนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งก็สันนิษฐานว่าอาจเกิดจากการ
ต่อเชื่อมทางแม่เหล็ก (magnetic connection) ชั้นที่เหลือชั้นสุดท้ายคือ เฮลิโอสเฟียร์ หรือสุริยมณฑล คือชั้นที่อานาจ
ของลมสุริยะสามารถไปถึง ซึ่งอาจมากกว่า 20 หน่วยดาราศาสตร์ (20 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์)
โครงการสารวจดวงอาทิตย์
องค์การนาซาได้เคยปล่อยยานสารวจดวงอาทิตย์ในโครงการไพโอเนียร์ ซึ่งปล่อยช่วงปี พ.ศ. 2502
ถึง พ.ศ. 2511 โดยทาการตรวจวัดสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์และลมสุริยะ ต่อมาก็ได้ส่งยานสกายแล็บเมื่อปี
พ.ศ. 2516 ทาการศึกษาโคโรนาของดวงอาทิตย์ และการพ่นมวลของโคโรนา ในปี พ.ศ. 2534 ญี่ปุ่นได้ส่งยาน
โยะโกะ (阳光) เพื่อศึกษาเพลิงสุริยะในช่วงรังสีเอกซ์ นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นว่า โคโรนาจะยุบลงในช่วงที่
มีกิจกรรมบนผิวดวงอาทิตย์มาก ยานโยะโกะถูกปลดระวางเมื่อ พ.ศ. 2548
ภารกิจสารวจดวงอาทิตย์ที่เรารู้จักกันมักหนีไม่พ้นหอสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์และสุริยมณฑล หรือ
โซโฮ (Solar and Heliospheric Observatory; SOHO) อันเป็นความร่วมมือระหว่างสหรัฐอเมริกา
และสหภาพยุโรป ถูกปล่อยเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2538 เดิมทีกาหนดให้ปฏิบัติงานสองปี แต่กลับ
ปฏิบัติงานมากกว่า 10 ปี ยานโซโฮเป็นยานสังเกตการณ์ที่ทาให้เรารู้หลายอย่างเกี่ยวกับดวงอาทิตย์มากขึ้นใน
หลาย ๆ ช่วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และยังสังเกตเห็นดาวหางที่พุ่งชนดวงอาทิตย์ด้วย ส่วนอีกโครงการหนึ่งที่มี
แผนจะปล่อยขึ้นสู่ห้วงอวกาศในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2551 คือโครงการหอสังเกตการณ์สุริยพลวัต (Solar
Dynamic Observatory) ซึ่งจะนาไปไว้ยังจุดลากรองจ์ (Lagrangian point) หรือจุดสะเทินแรงดึงดูด
ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์
โครงการสารวจดวงอาทิตย์
นอกเหนือจากนี้ ยังมีโครงการสังเกตระบบ
สุริยะจากมุมอื่น โดยมีการส่งยานยุลลิซิส (Ulysses)
เมื่อ พ.ศ. 2533 โดยให้ไปยังดาวพฤหัสบดีเพื่อเหวี่ยง
ตัวขึ้นเหนือระนาบระบบสุริยะ ครานั้นยานสามารถ
สังเกตเห็นดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 ชนดาวพฤหัสบดี
ในปี พ.ศ. 2537 เมื่อยานยุลลิซิสถึงที่หมาย ก็จะทา
การสารวจลมสุริยะและสนามแม่เหล็กที่ละติจูดสูง ๆ
และพบว่าอัตราเร็วลมสุริยะอยู่ที่ 750 กิโลเมตรต่อ
วินาที ซึ่งช้ากว่าที่ได้คาดไว้ และยังมีสนามแม่เหล็กที่
ทาให้รังสีคอสมิกกระเจิงด้วย
ดาวพุธ(Mercury)
ดาวพุธ
ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลา
โคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทาให้สังเกตเห็นได้ยาก
ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลาเดียวที่เคยสารวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ.
2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทาแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น
ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้ม
ถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ
1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้
ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคาเต็มว่า Mercurius เทพนาสารของพระเจ้า สัญลักษณ์
แทนดาวพุธ คือ ☿ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏ
ในเวลาหัวค่า และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวง
เดียวกัน
บรรยากาศ
ดาวพุธมีชั้นบรรยากาศเบาบางและมีสเถียรภาพต่าอันเกิดจากการที่ดาวพุธมีขนาดเล็กจนไม่มีแรงดึงดูด
เพียงพอในการกักเก็บอะตอมของก๊าซเอาไว้ ชั้นบรรยากาศของดาวพุธประกอบไปด้วยไฮโดรเจน, ฮีเลียม, ออกซิเจน,
โซเดียม, แคลเซียม, โพแทสเซียม และ น้า มีความดันบรรยากาศประมาณ 10-14 บาร์
บรรยากาศของดาวพุธมีการสูญเสียและถูกทดแทนอยู่ตลอดเวลาโดยมีแหล่งที่มาหลายแหล่ง ไฮโดรเจน
และฮีเลียมอาจจะมาจากลมสุริยะ พวกมันแพร่เข้ามาผ่านสนามแม่เหล็กของดาวพุธก่อนจะหลุดออกจากบรรยากาศใน
ที่สุด การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี จากแกนของดาวก็อาจจะเป็นอีกแหล่งหนึ่งที่ช่วยเติมฮีเลียม โซเดียม และ
โพแทสเซียมให้กับบรรยากาศดาวพุธ
ไม่เคยถูกแสงอาทิตย์โดยตรงเลย การสารวจได้เผยให้เห็นถึงแถบสะท้อนเรดาร์ขนาดใหญ่อยู่บริเวณขั้วของ
ดาว ซึ่งน้าแข็งเป็นหนึ่งในสารไม่กี่ชนิดที่สามารถสะท้อนเรดาร์ได้ดีเช่นนี้ ภาพถ่ายพื้นผิวบริเวณขั้วเหนือโดยใช้เรดาร์
บริเวณที่มีน้าแข็งนั้นเชื่อกันว่าอยุ่ลึกลงไปใต้พื้นผิวเพียงไม่กี่เมตร และมีน้าแข็งประมาณ 1014 - 1015
กิโลกรัม เปรียบเทียบกับน้าแข็งที่แอนตาร์กติกาของโลกเราที่มีน้าแข็งอยู่ 4 x 10 18 กิโลกรัม ที่มาของน้าแข็งบนดาว
พุธยังไม่แน่ชัด แต่เชื่อกันว่าอาจจะมีที่มาจากดาวหางที่พุ่งชนดาวพุธเมื่อหลายล้านปีก่อน
หรืออาจจะมาจากภายในของดาวพุธเอง
ภูมิประเทศ
ดาวพุธมีหลุมอุกกาบาตจานวนมากจนดูคล้ายดวงจันทร์ ภูมิลักษณ์ที่เด่นที่สุดบนดาวพุธ (เท่าที่
สามารถถ่ายภาพได้) คือ แอ่งแคลอริส หลุมอุกกาบาตที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,350 กิโลเมตร ผิวดาว
พุธมีผาชันอยู่ทั่วไป ซึ่งก่อตัวขึ้นเมื่อหลายพันล้านปีที่แล้ว ขณะที่ใจกลางดาวพุธเย็นลงพร้อมกับหดตัว จนทาให้
เปลือกดาวพุธย่นยับ พื้นที่ส่วนใหญ่ของดาวพุธปกคลุมด้วยที่ราบ 2 แบบที่มีอายุต่างกัน ที่ราบที่มีอายุน้อยจะมี
หลุมอุกกาบาตหนาแน่นน้อยกว่า เป็นเพราะมีลาวาไหลมากลบหลุมอุกกาบาตที่เกิดก่อนหน้า
โครงสร้างของดาวพุธ
1. เปลือก - หนา100–200 กม.
2. แมนเทิล - หนา 600 กม.
3. แกน - รัศมี 1,800 กม
องค์ประกอบภายใน
ดาวพุธมีแก่นที่ประกอบด้วยเหล็กในสัดส่วนที่
สูง (แม้เมื่อเปรียบเทียบกับโลก) เป็นโลหะประมาณ 70%
ที่เหลืออีก 30% เป็นซิลิเกต ความหนาแน่นเฉลี่ยมีค่า
5,430 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งน้อยกว่าความหนาแน่น
ของโลกอยู่เล็กน้อย สาเหตุที่ดาวพุธมีเหล็กอยู่มากแต่มีความ
หนาแน่นต่ากว่าโลก เป็นเพราะในโลกมีการอัดตัวแน่นกว่า
ดาวพุธ ดาวพุธมีมวลเพียง 5.5% ของมวลโลก แก่นที่เป็น
เหล็กมีปริมาตรราว 42% ของดวง (แก่นโลกมีสัดส่วนเพียง
17%) ล้อมรอบด้วยเนื้อดาวหรือแมนเทิลหนา 600 กิโลเมตร
การเคลื่อนที่
ดาวพุธเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุด โดยใช้เวลาเพียง 87.969 วันในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ
ดาวพุธหมุนรอบตัวเองในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ คือ จากทิศตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบ
ตัวเองรอบละ 58.6461 วัน เมื่อพิจารณาจากคาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ จะ
พบว่าระยะเวลากลางวัน ถึงกลางคืนบนดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะ
การศึกษาและการสารวจ
ยานอวกาศที่เข้าไปเฉียดใกล้ๆ ดาวพุธและนาภาพมาต่อกันจนได้ภาพพื้นผิวดาวพุธเป็นครั้งแรกคือ ยานอวกาศมารี
เนอร์ 10 ของสหรัฐอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2517 นับว่าเป็นยานลาแรกและลาเดียวที่ส่งไปสารวจดาวพุธ ยานมารีเนอร์ 10
เข้าใกล้ดาวพุธ 3 ครั้งด้วยกัน คือ เมื่อเดือนมีนาคม และ กันยายน พ.ศ. 2517 และเดือนมีนาคม พ.ศ. 2518 ยาน
เข้าใกล้ดาวพุธที่สุดครั้ง แรกเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2517 และได้ส่งภาพกลับมา 647 ภาพ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่
21 กันยายน พ.ศ. 2517 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2518 ขณะนั้นเครื่องมือภายในยานได้เสื่อมสภาพ
ลง ในที่สุดก็ติดต่อกับโลกไม่ได้ตั้งแต่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2518 ยานมารีเนอร์ 10 จึงกลายเป็นขยะอวกาศที่โคจรอยู่
รอบดวงอาทิตย์ โดยเข้ามาใกล้ดาวพุธครั้งคราวตามจังหวะเดิมต่อไป
ดาวศุกร์(Venus)
ดาวศุกร์
ดาวศุกร์ (อังกฤษ: Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 2 ชื่อละตินของ
ดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรักของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก
บางครั้งเรียกว่า "น้องสาว" ของโลก แม้ว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบ
เป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด
สาหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลาดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และ
ดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 47.8°
มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่าเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่าทางทิศตะวันตก เรียกว่า "ดาว
ประจาเมือง" และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า "ดาวประกายพรึก" หรือ "ดาวรุ่ง"
ชาวบาบิโลนโบราณรู้จักดาวศุกร์มาตั้งแต่ราว 1,600 ปีก่อนคริสตกาล แต่เชื่อว่าด้วยความสว่างสุกใส
ของดาวศุกร์ น่าจะเป็นที่รู้จักมาก่อนหน้านั้นนานแล้วนับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สัญลักษณ์แทนดาวศุกร์
คือ ♀
บรรยากาศ
บรรยากาศของดาวศุกร์ ประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 97% ไนโตรเจน 3.5% ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
และ อาร์กอน 0.5% มีชั้นเมฆคาร์บอนไดออกไซด์ที่หนาทึบมาก ปกคลุมดาวศุกร์ทั้งดวงทาให้สะท้อนแสงอาทิตย์ได้ดี จึง
เห็นดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างสุกใสมาก และยานอวกาศที่ไปสารวจดาวศุกร์ก็ไม่สามารถถ่ายภาพพื้นผิว โดยตรงได้
ต้องอาศัยคลื่นเรดาห์ผ่านทะลุชั้นเมฆแล้วนามาวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์อีกครั้ง
อุณหภูมิของดาวศุกร์ ด้วยชั้นเมฆหนาของดาวศุกร์ทาให้เกิดสภาวะเรือนกระจก อุณหภูมิบนดาวศุกร์สูงมาก
ประมาณ 500 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน
การเคลื่อนที่
ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลานานกว่าการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์1 รอบ และถ้าเราอยู่บนดาวศุกร์เวลา
1 วัน จะไม่ยาวเท่ากับเวลาที่ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ นี่คือลักษณะพิเศษที่ดาวศุกร์ไม่เหมือนดาวเคราะห์ดวงใดๆ
นอกจากนี้ดาวศุกร์ยังหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือหมุนจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ในขณะที่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์จากทิศ
ตะวันตกไปทิศตะวันออก ดาวศุกร์จึงหมุนสวนทางกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และหมุนสวนทางกับการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์
ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเองรอบละ 243 วัน แต่ 1 วันของดาวศุกร์ยาวนานเท่ากับ 117 วันของโลก
เพราะตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นจนถึงดวงอาทิตย์ตกยาวนาน 58.5 วันของโลก
ดาวศุกร์เคลื่อนรอบดวงอาทิตย์รอบละ 225 วัน 1 ปีของดาวศุกร์จึงยาวนาน 225 วันของโลก
ยานอวกาศสารวจดาวศุกร์
ยานอวกาศที่สารวจดาวศุกร์ มีด้วยกันหลายลาได้แก่
 มาริเนอร์ 2 เมื่อ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2505
 เวเนรา 4 เมื่อ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2510
 เวเนรา 7 เมื่อ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2513
 มาริเนอร์ 10 เมื่อ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517
 เวเนรา 9 เมื่อ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2518
 เวเนรา 15 เมื่อ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2526
 ไพโอเนียร์-วีนัส 2 เมื่อ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2521
 แมกเจลแลน เมื่อ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2533
โลก(world)
โลก
โลก เป็นดาวเคราะห์ลาดับที่สามจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นมากที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาด
ใหญ่ที่สุดในบรรดาดาวเคราะห์หินทั้งสี่ดวงของระบบสุริยะ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่าเอื้ออานวยต่อการ
ดารงชีพของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพของโลกได้ใช้เวลากว่าหลายร้อยล้านปีในการวิวัฒน์ขึ้น แผ่ขยายมาอย่างต่อเนื่อง
เว้นแต่เมื่อถูกขัดขวางโดยการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่แม้ว่าตามการประมาณของนักการศึกษาจะคาดว่ามากกว่าร้อยละ 99 ของสปีชีส์
ทั้งหมดที่เคยอยู่อาศัยบนโลกนั้นสูญพันธุ์ไปแล้ว โลกก็ยังคงเป็นบ้านอาศัยของสิ่งมีชีวิตร่วม 10-14 ล้านสปีชีส์] เป็นที่พึ่งพิงของ
มนุษย์มากกว่า 7.2 พันล้านคน ทั้งด้วยชีวมณฑลและแร่ธาตุต่างๆ ประชากรมนุษย์บนโลกแบ่งออกได้เป็นรัฐเอกราชกว่าสองร้อย
แห่งโดยมีปฏิสัมพันธ์กันผ่านทางการทูต ความขัดแย้ง การท่องเที่ยว การค้าตลอดจนการสื่อสาร
ด้วยความสอดคล้องของหลักฐานจากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งข้อมูลอื่นๆ โลกได้ก่อกาเนิดขึ้นเมื่อเวลา
ประมาณสี่พันห้าร้อยล้านปีก่อน ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตได้ปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศ
และพิ้นผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน และเป็นผลให้เกิด
การสร้างชั้นโอโซนขึ้นในบรรยากาศ ทั้งชั้นโอโซนและสนามแม่เหล็กโลกได้ร่วมกันกั้นขวางเกือบทั้งหมดของรังสีที่เป็นอันตรายต่อ
สิ่งมีชีวิตจากดวงอาทิตย์ ทาให้สิ่งมีชีวิตสามารถเจริญรุ่งเรืองได้ทั้งบนผืนดินเช่นเดียวกับในผืนน้า นับจากนั้นมา
ตาแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลก
ล้วนยอมให้สิ่งมีชีวิตยังคงดารงอยู่ได้
โลก
ด้วยความสอดคล้องของหลักฐานจากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งข้อมูลอื่นๆ โลกได้ก่อกาเนิดขึ้นเมื่อเวลา
ประมาณสี่พันห้าร้อยล้านปีก่อน ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตได้ปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศ
และพื้นผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน และเป็นผลให้เกิด
การสร้างชั้นโอโซนขึ้นในบรรยากาศ ทั้งชั้นโอโซนและสนามแม่เหล็กโลกได้ร่วมกันกั้นขวางเกือบทั้งหมดของรังสีที่เป็นอันตรายต่อ
สิ่งมีชีวิตจากดวงอาทิตย์ ทาให้สิ่งมีชีวิตสามารถเจริญรุ่งเรืองได้ทั้งบนผืนดินเช่นเดียวกับในผืนน้า นับจากนั้นมา ตาแหน่งของโลก
ในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลก ล้วนยอมให้สิ่งมีชีวิตยังคงดารงอยู่ได้
โลก
ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลายๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งเคลื่อนตัวย้ายที่ตัดผ่านกันตามพื้นผิว
ตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกถูกปกคลุมด้วยน้า บริเวณที่เหลือประกอบด้วยทวีปและเกาะต่างๆ ซึ่งมีทะเลสาบ
และแหล่งน้าอื่นๆ อีกจานวนมากกอปรกันขึ้นเป็นไฮโดรสเฟียร์ บริเวณขั้วโลกทั้งสองถูกปกคลุมด้วยน้าแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่
น้าแข็งอันมั่นคงของแผ่นน้าแข็งแอนตาร์กติก และน้าแข็งทะเลของแพน้าแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดย
มีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกาเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลหนาสถานะแข็งโดยอนุโลมภายใต้เปลือก
เบื้องบน
โลกมีปฏิสัมพันธ์เชิงโน้มถ่วงกับวัตถุต่างๆ ในห้วงอวกาศโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ระหว่างการ
โคจรรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบ โลกจะหมุนรอบแกนของตนเองประมาณ 366.26 รอบ เกิดเป็นวันสุริยะ 365.26 วัน หรือเรียกเป็น
หนึ่งปีดาราคติ แกนหมุนของโลกเอียงทามุม 23.4 องศา กับแนวตั้งฉากของระนาบการโคจร ก่อให้เกิดฤดูกาลผันแปรไปบนพื้นผิว
ดาวในรอบระยะเวลาหนึ่งปีฤดูกาล (365.24 วันสุริยะ) ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารแท้ตามธรรมชาติเพียงหนึ่งเดียวของโลก ซึ่งเริ่ม
โคจรรอบโลกเมื่อประมาณ 4.53 พันล้านปีก่อน ปฏิสัมพันธ์เชิงโน้มถ่วงระหว่างดวงจันทร์กับโลกทาให้เกิดน้าขึ้นน้าลงในมหาสมุทร
หน่วงการหมุนของโลกให้ช้าลงทีละน้อย และทาให้ความเอียงของแกนโลกมีเสถียรภาพ
องค์ประกอบและโครงสร้าง โลกมีรูปร่างเป็นทรงกลมไม่สมบูรณ์โดยแป้น
เล็กน้อยตามแนวแกนหมุนจากขั้วหนึ่งใปยังอีกขั้วหนึ่ง เกิด
เป็นลักษณะที่ป่องออกตรงกลางในแถบศูนย์สูตรการป่องนี้
เป็นผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลกและเป็นสาเหตุให้
เส้นผ่านศูนย์กลางในแนวศูนย์สูตรยาวกว่าเส้นผ่าน
ศูนย์กลางในแนวขั้วเหนือ-ใต้ราว 43 กิโลเมตร (27 ไมล์)
จุดบนพื้นผิวโลกที่ไกลที่สุดจากจุดศูนย์กลางมวลของโลกคือ
ยอดภูเขาไฟชิมโบราโซในประเทศเอกวาดอร์ เส้นผ่าน
ศูนย์กลางเฉลี่ยของทรงกลมอ้างอิงอยู่ที่ประมาณ 12,742
กิโลเมตร (7,918 ไมล์) ใกล้เคียงกับระยะ 40,000
กม./π ซึ่งเป็นนิยามแรกของระยะทาง 1 เมตร ว่าให้
เท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะจากเส้นศูนย์สูตรไปยังขั้ว
โลกเหนือผ่านกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
องค์ประกอบและโครงสร้าง
ภูมิประเทศในแต่ละท้องที่มีการเบี่ยงเบนไปจากทรงกลมอุดม
คติ แต่เมื่อมองในระดับโลกทั้งใบการเบี่ยงเบนเหล่านี้ก็ถือว่าเล็กน้อย จุดที่
ถือว่ามีความเบี่ยงเบนท้องถิ่นมากที่สุดบนพื้นผิวหินของโลกก็คือ ยอดเขาเอ
เวอร์เรสต์ด้วยระดับความสูง 8,848 เมตรจากระดับน้าทะเลกลาง คิดเป็นค่า
ความเบี่ยงเบนร้อยละ 0.14 และร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนาที่ระดับความลึก
10,911 เมตรจากระดับน้าทะเลกลาง คิดเป็นค่าความเบี่ยงเบนร้อยละ 0.17
(ประมาณ 1/584) หากเปรียบโลกกับลูกคิวซึ่งมีความยอมให้ได้ทาง
อุตสาหกรรมที่ร้อยละ 0.22 แล้ว บางบริเวณของโลกเช่นแนวสันเขาและร่อง
ลึกก้นมหาสมุทรต่างๆ ก็จะให้ความรู้สึกไม่ต่างกับตาหนิที่เล็กน้อยมาก
ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของโลกเช่นที่ราบใหญ่บนพื้นดินหรือที่ราบก้นสมุทร
ก็จะให้ความรู้สึกเรียบเนียนยิ่งกว่าลูกบิลเลียด อันเนื่องมาจากการป่อง
ออกบริเวณศูนย์สูตร ตาแหน่งบนพื้นผิวที่ใกลที่สุดจากจุดศูนย์กลางของโลก
คือ ยอดเขาชิมโบราโซในประเทศเอกวาดอร์ และวัสคารัน (สเปน:
Huascarán) ในประเทศเปรู ซึ่งเป็นตาแหน่งบนผิวโลกที่มีแรงโน้มถ่วง
ต่าที่สุด
องค์ประกอบและโครงสร้าง
โลกมีมวลโดยประมาณ 5.97×1024 กิโลกรัม ส่วนมากประกอบขึ้นจากเหล็ก (ร้อยละ 32.1) ออกซิเจน (ร้อยละ
30.1) ซิลิกอน (ร้อยละ 15.1) แมกนีเซียม (ร้อยละ 13.9) กามะถัน (ร้อยละ 2.9) นิกเกิล (ร้อยละ 1.8) แคลเซียม (ร้อยละ
1.5) และอลูมิเนียม (ร้อยละ 1.4) ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 1.2 ประกอบด้วยธาตุอื่นๆ ในปริมาณเล็กน้อย จากกระบวนการการ
แยกลาดับชั้นโดยมวลทาให้เชื่อว่าบริเวณแกนโลกประกอบขึ้นในขั้นต้นด้วยเหล็กร้อยละ 88.8 มีนิกเกิลในปริมาณเล็กน้อยราวร้อยละ
5.8 กามะถันร้อยละ 4.5 และน้อยกว่าร้อยละ 1 เป็นธาตุพบน้อยชนิดอื่น
นักธรณีเคมี เอฟ.ดับเบิลยู.คล้าก คานวณว่ามากกว่าร้อยละ 47 เล็กน้อยของมวลของเปลือกโลกประกอบขึ้นจาก
ออกซิเจน หินที่พบได้ทั่วไปที่เป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกนั้นเป็นสารประกอบออกไซด์แทบทั้งหมด ส่วนคลอรีน กามะถัน และ
ฟลูออรีน ถือว่าเป็นข้อยกเว้นสาคัญในบรรดาหินทั้งหลายซึ่งเมื่อรวมปริมาณทั้งหมดแล้วมักจะต่ากว่าร้อยละ 1 หินออกไซด์หลัก
ได้แก่ ซิลิกา อลูมินา ปูนขาว แมกนีเซีย ออกไซด์ของเหล็ก โพแทช และโซดา ซิลิกาโดยทั่วไปแล้วมีสมบัติเป็นกรด ทาให้แร่ซิลิ
เกตรวมถึงแร่ทั่วไปชนิดอื่นๆ ที่มาจากหินอัคนีก็มีลักษณะเช่นนี้ จากการคานวณบนฐานการวิเคราะห์กว่า 1,672 ตัวอย่างจากหิน
ทุกชนิด คล้ากสรุปว่าหินร้อยละ 99.22 ประกอบขึ้นจากสารประกอบออกไซด์ 11 ชนิด (ตามตารางด้านขวา) โดยองค์ประกอบ
แบบอื่นมีปรากฏในปริมาณเพียงเล็กน้อย
องค์ประกอบและโครงสร้าง
• องค์ประกอบทางเคมี
โลกมีมวลโดยประมาณ 5.97×1024 กิโลกรัม ส่วนมากประกอบขึ้นจากเหล็ก (ร้อยละ 32.1) ออกซิเจน (ร้อยละ 30.1) ซิลิกอน
(ร้อยละ 15.1) แมกนีเซียม (ร้อยละ 13.9) กามะถัน (ร้อยละ 2.9) นิกเกิล (ร้อยละ 1.8) แคลเซียม (ร้อยละ 1.5) และ
อลูมิเนียม (ร้อยละ 1.4) ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 1.2 ประกอบด้วยธาตุอื่นๆ ในปริมาณเล็กน้อย จากกระบวนการการแยกลาดับ
ชั้นโดยมวลทาให้เชื่อว่าบริเวณแกนโลกประกอบขึ้นในขั้นต้นด้วยเหล็กร้อยละ 88.8 มีนิกเกิลในปริมาณเล็กน้อยราวร้อยละ 5.8
กามะถันร้อยละ 4.5 และน้อยกว่าร้อยละ 1 เป็นธาตุพบน้อยชนิดอื่น
นักธรณีเคมี เอฟ.ดับเบิลยู.คล้าก คานวณว่ามากกว่าร้อยละ 47 เล็กน้อยของมวลของเปลือกโลกประกอบขึ้นจาก
ออกซิเจน หินที่พบได้ทั่วไปที่เป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกนั้นเป็นสารประกอบออกไซด์แทบทั้งหมด ส่วนคลอรีน กามะถัน และ
ฟลูออรีน ถือว่าเป็นข้อยกเว้นสาคัญในบรรดาหินทั้งหลายซึ่งเมื่อรวมปริมาณทั้งหมดแล้วมักจะต่ากว่าร้อยละ 1 หินออกไซด์หลัก
ได้แก่ ซิลิกา อลูมินา ปูนขาว แมกนีเซีย ออกไซด์ของเหล็ก โพแทช และโซดา ซิลิกาโดยทั่วไปแล้วมีสมบัติเป็นกรด ทาให้แร่ซิลิ
เกตรวมถึงแร่ทั่วไปชนิดอื่นๆ ที่มาจากหินอัคนีก็มีลักษณะเช่นนี้ จากการคานวณบนฐานการวิเคราะห์กว่า 1,672 ตัวอย่างจากหิน
ทุกชนิด คล้ากสรุปว่าหินร้อยละ 99.22 ประกอบขึ้นจากสารประกอบออกไซด์ 11 ชนิด
(ตามตารางด้านขวา) โดยองค์ประกอบแบบอื่นมีปรากฏในปริมาณเพียงเล็กน้อย
องค์ประกอบและโครงสร้าง
นักธรณีเคมี เอฟ.ดับเบิลยู.คล้าก คานวณว่ามากกว่า
ร้อยละ 47 เล็กน้อยของมวลของเปลือกโลกประกอบขึ้นจาก
ออกซิเจน หินที่พบได้ทั่วไปที่เป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกนั้น
เป็นสารประกอบออกไซด์แทบทั้งหมด ส่วนคลอรีน กามะถัน
และฟลูออรีน ถือว่าเป็นข้อยกเว้นสาคัญในบรรดาหินทั้งหลายซึ่ง
เมื่อรวมปริมาณทั้งหมดแล้วมักจะต่ากว่าร้อยละ 1 หินออกไซด์
หลักได้แก่ ซิลิกา อลูมินา ปูนขาว แมกนีเซีย ออกไซด์ของ
เหล็ก โพแทช และโซดา ซิลิกาโดยทั่วไปแล้วมีสมบัติเป็นกรด
ทาให้แร่ซิลิเกตรวมถึงแร่ทั่วไปชนิดอื่นๆ ที่มาจากหินอัคนีก็มี
ลักษณะเช่นนี้ จากการคานวณบนฐานการวิเคราะห์กว่า 1,672
ตัวอย่างจากหินทุกชนิด คล้ากสรุปว่าหินร้อยละ 99.22 ประกอบ
ขึ้นจากสารประกอบออกไซด์ 11 ชนิด (ตามตารางด้านขวา) โดย
องค์ประกอบแบบอื่นมีปรากฏในปริมาณเพียงเล็กน้อย
องค์ประกอบและโครงสร้าง
• โครงสร้างภายใน
เช่นเดียวกับดาวเคราะห์หินดวงอื่นๆ โครงสร้างภายในของโลกแบ่งออกได้เป็นชั้นๆ ด้วยคุณสมบัติทางกายภาพ
(กลศาสตร์ภาวะต่อเนื่อง) หรือคุณสมบัติทางเคมี แต่ที่ต่างจากดาวเคราะห์หินอื่นคือ การมีแก่นชั้นนอกและแก่นชั้นในแยกกัน
อย่างเด่นชัด โครงสร้างทั้งหมดแบ่งออกได้เป็น เปลือกโลก แมนเทิล แก่นชั้นนอก และแก่นชั้นใน
#เปลือกโลก
ชั้นนอกของโลกเป็นเปลือกซิลิเกตแข็งซึ่งแยกออกชัดเจนด้วยคุณสมบัติทางเคมีโดยมีชั้นแมนเทิลแข็งความหนืดสูงอยู่
เบื้องล่าง เปลือกโลกมีปริมาตรรวมน้อยกว่าร้อยละ 1 ของโลกเล็กน้อยแยกออกจากชั้นแมนเทิลโดยความไม่ต่อเนื่องโมโฮโรวิคซิช
เปลือกโลกส่วนบนมีความหนาแน่นระหว่าง 2.69 - 2.74 ก./ซม.3 ซึ่งต่ากว่าเปลือกโลกส่วนล่างที่มีความหนาแน่นระหว่าง 3.0
- 3.25 ก./ซม.3 ลึกลงในเปลือกโลกอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเพิ่มขึ้น 30 องศาทุกๆ กิโลเมตรในเปลือกส่วนบน แต่
ความต่างของอุณหธรณีจะลดลงในเปลือกส่วนล่างและขึ้นถึง 400 องศาเซลเซียสที่ขอบเขตต่อกับแมนเทิล ความหนาของเปลือกโลก
มีความแตกต่างกันตั้งแต่บริเวณรอยเลื่อนแยกตัวซึ่งเป็นบริเวณที่บางที่สุด แผ่นเปลือกสมุทรที่มีความหนาไม่เกิน 10 กิโลเมตร
ไปจนถึงความหนาหลายสิบกิโลเมตรในแผ่นเปลือกทวีป แผ่นเปลือกโลกกับส่วนของแมนเทิลชั้นบนที่แกร่ง
และเย็นนั้น รวมกันเรียกว่าธรณีภาค และธรณีภาคนี้เองที่แผ่นธรณีภาคประกอบกันขึ้น
องค์ประกอบและโครงสร้าง
#แผ่นเปลือกสมุทร (หรือเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร)
มีความหนา 7-10 กิโลเมตร ความหนาแน่นประมาณ 2.9 ก./ซม.3 ประกอบด้วยหินเมฟิก เช่นบะซอลต์
ตอนกลางเป็นไดอะเบส ตอนล่างประกอบด้วยแกบโบร ตามธรณีเคมีเรียกว่าไซมา มีซิลิกา เหล็ก และแมกนีเซียม เป็น
องค์ประกอบสาคัญ แผ่นเปลือกมหาสมุทรโดยมากแล้วมีอายุเพียง 100 ล้านปี อาจถึง 200 ล้านปีในบางบริเวณ พื้นทะเลเมดิ
เตอเรเนียนตะวันออกซึ่งเป็นส่วนเหลือของมหาสมุทรโบราณเททีสคาดว่ามีอายุเก่าแก่ถึง 270 ล้านปี
#แผ่นเปลือกทวีป (หรือเปลือกโลกภาคพื้นทวีป)
มีปริมาตรราว 7 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร หรือร้อยละ 70 ของเปลือกโลกทั้งหมด และคิดเป็นร้อยละ 40 ของ
พื้นผิวโลก มีความหนา 25-70 กิโลเมตร ความหนาแน่นประมาณ 2.7 ก./ซม.3 ต่ากว่าเปลือกมหาสมุทร ประกอบด้วยหิน
อัคนี หินแปร และหินตะกอนหลายชนิดรวมถึงบริเวณบ่าทวีป ตามธรณีเคมีเรียกว่าไซอัล มีซิลิกา และอลูมินา เป็นองค์ประกอบ
สาคัญในลักษณะหินเฟลสิก และแกรนิตชนิดต่างๆ เชื่อว่าที่ความลึกระดับหนึ่ง ไซอัลจะมีคุณสมบัติทางกายภาพใกล้เคียงกับไซ
มา โดยแยกจากกันด้วยความไม่ต่อเนื่องคอนราด แผ่นเปลือกทวีปโดยเฉลี่ยแล้วมีอายุประมาณ 2.0 พันล้านปี
ส่วนที่เก่าที่สุดมีอายุประมาณ 3.7 - 4.28 พันล้านปี
องค์ประกอบและโครงสร้าง
#แมนเทิล
แมนเทิลหรือเนื้อโลก เป็นเปลือกหินซิลิเกตความหนาประมาณ 2,900 กิโลเมตร (1,800 ไมล์) ประกอบขึ้นเป็น
ราวร้อยละ 84 ของปริมาตรโลก มีอุณหภูมิตั้งแต่ 500-900 องศาเซลเซียส (932-1,652 องศาฟาเรนไฮต์) ณ ขอบเขตบนต่อ
กับเปลือกโลกไปจนถึง 4,000 องศาเซลเซียส (7,230 องศาฟาเรนไฮต์) ที่ขอบเขตต่อกับแก่น ตั้งแต่ขอบเขตต่อกับเปลือกโลกลง
มาจนถึงระดับ 410 กิโลเมตรใต้พื้นผิวเรียกว่าแมนเทิลชั้นบน ส่วนบนสุดที่เป็นหินแกร่งหนาประมาณ 50-120 กิโลเมตร (31-75
ไมล์) ประกอบเป็นชั้นล่างสุดของธรณีภาค ส่วนล่างลงมาที่หนาประมาณ 200 กิโลเมตร (120 ไมล์) เป็นหินส่วนที่ความหนืดต่า
กว่าเรียกว่าฐานธรณีภาค ความดันที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ตามระดับความลึกนั้นทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผลึกของหิน
องค์ประกอบเกิดเป็นชั้นเปลี่ยนผ่านในระดับความลึก 410-660 กิโลเมตร (250-410 ไมล์) ใต้พื้นผิวซึ่งแยกแมนเทิลชั้นล่างและ
ชั้นบนออกจากกัน ที่ระดับความลึก 660-2,891 กิโลเมตร (410-1,796 ไมล์) คือแมนเทิลชั้นล่าง มีความดันที่ขอบเขตต่อกับ
แก่นประมาณ 136 พันล้านปาสกาล (1.4 ล้านบรรยากาศ)[ขอบเขตแก่นต่อกับแมนเทิลมีความหนาผันแปรเฉลี่ยประมาณ 200
กิโลเมตร (120 ไมล์) แยกจากแก่นเหลวด้านล่างด้วยความไม่ต่อเนื่องกูเทนเบิร์ก
องค์ประกอบและโครงสร้าง
#แก่นโลก
แก่นโลกหรือแกนโลกประกอบด้วยแก่นชั้นนอกสภาพเหลวที่มีความหนืดต่าอย่างยิ่งวางอยู่เหนือแก่นชั้นในสภาพ
แข็ง โดยแยกออกจากกันด้วยความไม่ต่อเนื่องเลห์มานน์-บุลเลน คาดว่าทั้งสองชั้นมีองค์ประกอบคล้ายกันคือเป็นโลหะผสม
เหล็ก-นิกเกิลโดยมีส่วนใหญ่ราวร้อยละ 80 เป็นเหล็ก และมีธาตุเบาอย่างอื่นๆ อีกเล็กน้อย ชั้นนอกมีความหนาประมาณ
2,270 กิโลเมตร ในขณะที่ชั้นในมีความหนาประมาณ 1,220 กิโลเมตร (ราวร้อยละ 70 ของรัศมีของดวงจันทร์) [แก่น
ชั้นนอกเป็นบริเวณที่กาเนิดสนามแม่เหล็กโดยมีความเข้มสนามแม่เหล็กภายในเฉลี่ยกว่าห้าสิบเท่าของพื้นผิวโลกการสูญเสีย
ความร้อนไปอย่างต่อเนื่องของบริเวณภายในของโลกทาให้แก่นชั้นในโตขึ้นในอัตราประมาณ 1 มิลลิเมตรต่อปีและแก่นชั้นในนั้น
น่าจะหมุนโดยมีอัตราเร็วเชิงมุมสูงกว่าบริเวณอื่นของดาวเล็กน้อยคือล้าหน้าไปประมาณ 0.1-0.5 องศาต่อปี เชื่อกันว่าแก่นโลกมี
ทองคา ทองคาขาว และโลหะมีค่าชนิดอื่นๆ อยู่มากมาย หากสกัดออกมาเทบนพื้นโลก โลหะเหล่านั้นจะสามารถปกคลุมพื้นที่
ทั้งหมดของโลกได้ด้วยระดับความหนาราว 0.45 เมตร
ดาวอังคาร(Mars)
ดาวอังคาร
ดาวอังคาร เป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 4 ชื่อละตินของดาวอังคาร
(Mars) มาจากชื่อเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน หรือตรงกับเทพเจ้า Ares ของกรีก เป็นเพราะดาวอังคารปรากฏเป็นสี
แดงคล้ายสีโลหิต บางครั้งจึงเรียกว่า "ดาวแดง" หรือ "Red Planet" (ความจริงมีสีค่อนไปทางสีส้มอมชมพูมากกว่า)
ชื่อจีน เป็น 火星 ความหมายว่าดาวไฟเพาระสีส้มของมัน สัญลักษณ์แทนดาวอังคาร คือ ♂ เป็นโล่และหอกของ
เทพเจ้ามาร์ส ดาวอังคารมีดาวบริวารหรือดวงจันทร์ขนาดเล็ก 2 ดวง คือ โฟบอสและไดมอส โดยทั้งสองดวงมีรูปร่างบิด
เบี้ยวไม่เป็นรูปกลม ซึ่งคาดกันว่าอาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่หลงเข้ามาแล้วดาวอังคารคว้าดึงเอาไว้ให้อยู่ในเขตแรงดึงดูดของ
ตน
ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หิน (terrestrial planet) มีชั้นบรรยากาศเบาบาง พื้นผิวมีลักษณะคล้ายคลึงทั้ง
หลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย และบริเวณน้าแข็งขั้วโลก บนโลก ดาวอังคารมีภูเขาที่สูงที่สุด
ในระบบสุริยะคือ ภูเขาไฟโอลิมปัส (Olympus Mons) และหุบเขาลึกที่มีชื่อว่า มาริเนริส (Marineris) ที่ใหญ่ที่สุดใน
ระบบสุริยะ ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2008 มีบทความ 3 บทความตีพิมพ์ลงในนิตรสาร "Nature" เกี่ยวกับหลักฐาน
ของหลุมอุกกาบาตที่ใหญ่มหึมา โดยมีความกว้าง 8,500 กิโลเมตร ยาว 10,600 นอกจากนั้นสิ่งที่ดาวอังคารมีและ
คล้ายคลึงกับโลกก็คือคาบการหมุนรอบตัวเองและฤดูกาล
ลักษณะทางกายภา
โดยภาพรวมนั้นดาวอังคารมีขนาดที่เล็กกว่าโลก คือมีความยาวของเส้นผ่าน
ศูนย์กลางเท่ากับรัศมีของโลกและมีน้าหนักเทียบได้กับ 11% ของโลก ปริมาตร 15% ของ
โลก พื้นที่ผิวทั้งหมดของดาวอังคารยังน้อยว่าพื้นที่ที่เป็นพื้นดินของโลกเสียอีก ส่วนสีของ
ดาวที่เห็นเป็นสีส้ม-แดงนั้น เกิดจาก ไอร์ออน(II) ออกไซด์ ซึ่งเป็นที่รู้กันคือ แร่เหล็ก
หรือสนิมเหล็กนั่นเอง
ดาวบริวาร
ดาวพฤหัส(Jupiter)
Great Red Spot ของดาวพฤหัส
มีสิ่งหนึ่งที่ดูชั่วร้ายอย่างไม่น่าเชื่อมันคืออันดับที่ 5 ในการจัดอันดับ 7 สิ่งมหัศจรรย์ของเรา พายุ
ที่บ้าคลั่งที่มีขนาดใหญ่เกือบสามเท่าของในโลก เจ้าแม่แห่งพายุที่นี่มีขนาดใหญ่กว่าโลกประมาณสามเท่า
เราไม่รู้แน่ชัดว่าเรดสป็อตก่อตัวขึ้นมา
ยังไง มันอยู่ของมันอย่างนั้นมาตั้งแต่เราเห็นครั้งแรก
ตั้งแต่ปี 1650 มันอยู่ตรงนั้นมาตั้งแต่ตอนที่เราไม่ได้สนใจ
มันซะอีก The Great Red Spot คือพายุโบราณที่
หมันอย่างบ้าคลั่งมานานนับศตวรรษ พายุเมฆขนาดใหญ่
ที่หมุนวงอยู่สูงเหนือดวงดาว 5 ไมล์ ทาให้พายุอื่นๆบน
โลกของเราดูด้อยไปเลย
พายุหมุนที่ The Great Red Spot ของดาวพฤหัสวัดได้ความเร็วลม 400 ไมล์ต่อชั่วโมง
ซึ่งมันเร็วกว่า
ทอร์นาโดบางลูกที่รุนแรงที่สุดใน
โลก และทอร์นาโดบนโลกจะหมุน
นานประมาณ 10-20 นาที หรือ
มากที่สุดก็ 2-3 ชั่วโมง ในขณะที่
The Great Red Spot ของ
ดาวพฤหัส นั้นหมุนอยู่อย่างน้อย
400 ปี และมีขนาดใหญ่กว่าโลกถึงสามเท่า นี่เป็นพายุที่คุณไม่อยากจะโดนดูดเข้าไปอย่างแน่นอน
พายุฤดูร้อนส่วนใหญ่ในซีกโลกใต้จะหมุนตามเข็มนาฬิกาเหมือนที่
โลกของเราหมุน แต่บนดาวพฤหัส The Great Red Spot หมุนไม่
เหมือนกับโลก The Great Red Spot จะอยู่ทางซีกโลกใต้ของดาว
พฤหัส มันหมุนทวนเข็มนาฬิกา เป็นเพราะว่าความกดอากาศสูงซึ่งตรง
ข้ามกับพายุความกดอากาศต่าบนโลกของเรา ต้นกาเนิดของพายุที่มีอายุ
ยืนยาวทาให้นักดาราศาสตร์งุนงง แต่ตอนนี้วิทยาศาสตร์อาจกาลังไข
ความลับของพายออก
กล้องเทเลสโคปอวกาศฮับเบิล
ถ่ายภาพพายุ 3 ลูกที่มีขนาดเล็กกว่าบน
ดาวพฤหัส ที่เรียกว่า White Spot
ภายในเวลา 3 ปี White Spot ทั้งสาม
จะมารวมตัวกัน และจะกลายเป็นพายุที่มี
ขนาดเท่าลูกโลก ในเวลาแค่เพียงสัปดาห์
เดียวพายุก็เปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีแดง
ตอนนี้เราเรียกว่า Red Junior แต่ทาไม
มันถึงได้กลายเป็นสีแดง
และนั่นก็ยังเป็นปริศนาอยู่
นักดาราศาสตร์สงสัยว่าการรวมตัวกันในลักษณะนี้ พายุในตอนเริ่มต้นอาจเป็นสีขาวมา
ก่อน แต่เมื่อความเร็วเพิ่มขึ้น มันเริ่มดึงวัสดุที่อยู่ลึกลงไปในพื้นผิวของดาวพฤหัสเข้ามา การ
รวมตัวกันอาจทาให้เกิดก๊าซซัลเฟอร์ เราไม่เข้าใจว่าทาไม The Great Red Spot จึงมีสี
แดงเหมือนกับอิฐ อาจเป็นเพราะสารเคมีที่มารวมกันแล้วทาปฏิกิริยากับแสงอาทิตย์แล้วเกิดเป็น
สีแบบนี้ขึ้นมาก็ได้
ดาวเสาร์(Saturn)
วงแหวนของดาวเสาร์ (The Rings of Saturn)
จากรูปที่เห็น นี่คือบรรยากาศชั้นโทรโปสเฟียร์ของดาวเสาร์ ด้านบนคือภาพวงแหวนใน
มุมมองที่ชัดเจน จะมองเห็นโครงสร้างเป็นชั้นๆ ที่สวยงามอย่างน่าอัศจรรย์ที่สุดในระบบสุริยะ
แสงสะท้อนสีขาวจากวงแหวนแท้จริงแล้วคือก้อนน้าแข็งจานวนนับไม่ถ้วนที่โคจรอยู่สูงจากศีรษะ
ขึ้นไป 75,000 กิโลเมตร แสงสะท้อนนี้ถูกเรียกว่า Ringshine หากเปรียบเทียบแล้ว
Ringshine มีความสว่างกว่าพระจันทร์เสี้ยวบนโลกถึง 6 ดวง
หากก้มมองต่าลงมา สิ่งที่เห็นคือดวงอาทิตย์ขึ้นที่ขอบฟ้าของดาวเสาร์ แสงอาทิตย์หักเห
และสะท้อนกับหมอกและผลึกของแอมโมเนีย
เกิดเป็นปรากฏการณ์ซันด๊อก (ปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์
ซ้อนกัน 3 ดวง) แม้สถานที่ตรงนี้จะมีปรากฏการณ์ที่
สวยงามแต่ก็แฝงไปด้วยอันตราย หากคุณไปอยู่ตรงนั้น
คุณจะได้รับอันตรายจากสายลมแอมโมเนียที่พัดกรรโชก
ด้วยความเร็ว 1,500 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่เพียงเท่า
นั้น ต่าลงไปใต้เท้าของคุณประมาณ 30,000 กิโลเมตร
คือมหาสมุทรของโลหะเหลวไฮโดรเจน ความดันของมหาสมุทรนี้สูงมากจนไม่มีสิ่งใดจะทนต่อความดันนี้
ได้ จึงเป็นเหตุให้ไม่มีพาหนะใดที่ร่อนลงบนดาวดวงนี้ได้อย่างปลอดภัย
ดาวยูเรนัส(Uranus)
ดาวยูเรนัส
ดาวยูเรนัส (หรือ มฤตยู) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวง
อาทิตย์เป็นลาดับที่ 7 ในระบบสุริยะ จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่
เป็นอันดับที่ 3. ตั้งชื่อตามเทพเจ้า Ouranos ของกรีก สัญลักษณ์แทนดาว
ยูเรนัส คือ หรือ (ส่วนใหญ่ใช้ในดาราศาสตร์) ชื่อไทยของยูเรนัส
คือ ดาวมฤตยู ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส คือ เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล(Sir
William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781) ต่อมาในปี พ.ศ.
2520 (ค.ศ. 1977) นักดาราศาสตร์จากหอดูดาวไคเปอร์แอร์บอร์น
(James L. Elliot, Edward W. Dunham, and Douglas J.
Mink using the Kuiper Airborne Observatory) ค้นพบว่า ดาว
ยูเรนัสมี วงแหวนจางๆโดยรอบ และเราก็ได้เห็นรายละเอียด ของดาวยูเรนัส
พร้อมทั้งวงแหวน และดวงจันทร์บริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เมื่อ
ยานวอยเอเจอร์ 2(Voyager 2) เคลื่อนผ่าน
ดาวยูเรนัส
ดวงจันทร์บริวาร
ที่ค้นพบแล้วมีทั้งหมด 27 ดวง 5 ดวงหลัก
คือ มิแรนดา (Miranda) แอเรียล (Ariel) อัมเบรี
ยล (Umbriel) ทิทาเนีย (Titania) และโอเบ
อรอน (Oberon) ดวงจันทร์ทิทาเนียและโอเบอรอนพบโดย
เฮอร์เชล 6 ปี หลังจากที่ค้นพบดาวยูเรนัส ส่วนแอเรียลและ
อัมเบรียลพบโดยวิลเลียม ลาสเชลล์
ดาวเนปจูน (Neptune)
ดาวเนปจูน (อังกฤษ: Neptune) หรือชื่อไทยว่า ดาวสมุทร หรือ ดาวเกตุ คือดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ลาดับสุดท้ายที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ (ขึ้นอยู่กับการโคจรของดาวพลูโต ซึ่งบางครั้งจะเข้ามาอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่า
แต่ปัจจุบันดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์แคระแล้ว) ตัวดาวมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่เป็นอันดับที่ 4 รองจากดาวพฤหัส
ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และมีมวลเป็นลาดับที่ 3 รองจากดาวพฤหัสและดาวเสาร์ คาว่า "เนปจูน" นั้นตั้งชื่อตามเทพเจ้า
แห่งท้องทะเลของโรมัน (กรีก : โปเซดอน) มีสัญลักษณ์เป็น (♆)
ดาวเนปจูนมีสีน้าเงิน เนื่องจากองค์ประกอบหลักของบรรยากาศผิวนอกเป็น ไฮโดรเจน ฮีเลียม และ
มีเทน บรรยากาศของดาวเนปจูน มีกระแสลมที่รุนแรง (2500 กม/ชม.) อุณหภูมิพื้นผิวอยู่ที่ประมาณ -220℃
(-364 F) ซึ่งหนาวเย็นมาก เนื่องจาก ดาวเนปจูนอยู่ไกลดวงอาทิตย์มาก แต่แกนกลางภายในของดาวเนปจูน
ประกอบด้วยหินและก๊าซร้อน อุณหภูมิประมาณ 7,000℃ (12,632 F) ซึ่งร้อนกว่าพื้นผิวของดวงอาทิตย์เสียอีก
ดาวเนปจูน
เอกสารอ้างอิง
• http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%
E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C
• http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phitsanulok/suwicha_p/mercury.html
• http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phitsanulok/suwicha_p/mercury.html
• www.thaigoodview.com
• http://www.prc.ac.th/Astronomy/Venus.htm
• http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phitsanulok/suwicha_p/venus.html
• http://www.prc.ac.th/Astronomy/Venus.htm

More Related Content

What's hot

โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemnative
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5maitree khanrattaban
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพMoukung'z Cazino
 

What's hot (14)

โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
Solarsystem
SolarsystemSolarsystem
Solarsystem
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 

Viewers also liked

บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลChompunut Puifacy
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืชวิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืชSara Hayo
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 

Viewers also liked (18)

บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
ดาราศาสตร
ดาราศาสตร ดาราศาสตร
ดาราศาสตร
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืชวิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 

Similar to มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง

6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์Som Kamonwan
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403Purinut Wongmaneeroj
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกwattumplavittayacom
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์Wichai Likitponrak
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์Mook Sunita
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯpimnarayrc
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศChapa Paha
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานKobwit Piriyawat
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานKobwit Piriyawat
 
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)pimnarayrc
 
โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)jinoom
 

Similar to มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง (18)

6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
Sun
SunSun
Sun
 
บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
 
Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศ
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
TRAPPIST-1
TRAPPIST-1TRAPPIST-1
TRAPPIST-1
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
 
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
 
โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)
 

More from mayuree_jino

comใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
comใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานcomใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
comใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานmayuree_jino
 
ใบงานท 4เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา_
ใบงานท  4เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา_ใบงานท  4เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา_
ใบงานท 4เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา_mayuree_jino
 
ใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานmayuree_jino
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท  2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญของโครงงานใบงานท  2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญของโครงงานmayuree_jino
 
ใบงานท 6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__
ใบงานท   6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__ใบงานท   6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__
ใบงานท 6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__mayuree_jino
 
ใบงานท 5 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาเคร__องม_อ_
ใบงานท   5 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาเคร__องม_อ_ใบงานท   5 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาเคร__องม_อ_
ใบงานท 5 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาเคร__องม_อ_mayuree_jino
 

More from mayuree_jino (13)

comใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
comใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานcomใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
comใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
 
'Ko8
'Ko8'Ko8
'Ko8
 
K8
K8K8
K8
 
K7
K7K7
K7
 
K6
K6K6
K6
 
K5
K5K5
K5
 
K8
K8K8
K8
 
ใบงานท 4เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา_
ใบงานท  4เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา_ใบงานท  4เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา_
ใบงานท 4เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา_
 
ใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท  2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญของโครงงานใบงานท  2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญของโครงงาน
 
ใบงานท 6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__
ใบงานท   6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__ใบงานท   6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__
ใบงานท 6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__
 
ใบงานท 5 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาเคร__องม_อ_
ใบงานท   5 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาเคร__องม_อ_ใบงานท   5 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาเคร__องม_อ_
ใบงานท 5 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาเคร__องม_อ_
 
Eng52
Eng52Eng52
Eng52
 

มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง

  • 1. มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล ( Amazing Solar System ) • นาย ณัฐวุฒิ ชะลิ ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 6/4 เลขที่ 10 • นางสาวมยุรี จิโน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 เลขที่ 16
  • 2. มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ระยะเวลาในการดาเนินงาน 1 เดือน (30 วัน) ผู้จัดทา • นาย ณัฐวุฒิ ชะลิ ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 6/4 เลขที่ 10 • นางสาวมยุรี จิโน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 เลขที่ 16 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ Amazing Mysterious Solar System ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)
  • 3. วัตถุประสงค์  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ ในระบบสุระจักรวาล  เพื่อศีกษาหาความรู้รอบตัวให้มากขึ้น ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากระบบสุริยะจักรวาลของเรา มีสิ่งต่างๆมากมายที่น่าค้นหานอกเหนือจาก ว่าดาวต่างๆคือดาวอะไร มีทั้งเรื่องลึกลับและน่ามหัศจรรย์ต่างๆที่ไม่มีคนรู้จัก หรือยังไม่ ค่อยได้รับความสนใจเท่าที่ควร ทาให้ไม่ค่อยมีคนรู้มากนัก และอีกอย่างเรื่องพวกนี้ก็ จัดได้ว่าเป็นความรู้รอบตัวอีกอย่างหนึ่งอีกด้วย ดังนั้นทางคณะผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะ ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมหัศจรรย์ต่างๆ ในระบบสุริยะจักรวาล
  • 4. ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)  จัดทาโครงงานศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวในระบบสุริยะจักรวาล  ดวงดาว และดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาล
  • 7. ดวงอาทิตย์ (Sun) ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะของเรา ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ล้วนแล้วแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่ สาคัญยิ่งต่อโลก เช่น ให้พลังงานแก่พืชในรูปของแสง และพืชก็เปลี่ยนแสงให้เป็นพลังงานในการตรึงแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นน้าตาล ตลอดจนทาให้โลกมีสภาวะอากาศหลากหลาย เอื้อต่อการดารงชีวิต ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยไฮโดรเจนอยู่ร้อยละ 74 โดยมวล ฮีเลียมร้อยละ 25 โดยมวล และ ธาตุอื่น ๆ ในปริมาณเล็กน้อย ดวงอาทิตย์จัดอยู่ในสเปกตรัม G2V ซึ่ง G2 หมายความว่าดวงอาทิตย์ มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ 5,780 เคลวิน (ประมาณ 5,515 องศาเซลเซียส หรือ 9,940 องศาฟาเรนไฮ) ดวงอาทิตย์จึงมีสีขาว แต่เห็นบนโลกเป็นสีเหลือง เนื่องจากการกระเจิงของแสง ส่วน V (เลข 5) บ่งบอก ว่าดวงอาทิตย์อยู่ในลาดับหลักผลิตพลังงานโดยการหลอมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม และอยู่ในสภาพสมดุล ไม่ยุบตัวหรือขยายตัว
  • 8. ปัจจุบันและอนาคตของดวงอาทิตย์ ตามการศึกษาแบบจาลองคอมพิวเตอร์ว่าด้วยวัฏจักรดาวฤกษ์ นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่าดวงอาทิตย์มี อายุประมาณ 4,570 ล้านปี ในขณะนี้ดวงอาทิตย์กาลังอยู่ในลาดับหลัก ทาการหลอมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม โดย ทุก ๆ วินาที มวลสารของดวงอาทิตย์มากกว่า 4 ล้านตันถูกเปลี่ยนเป็นพลังงาน ดวงอาทิตย์ใช้เวลาโดยประมาณ 1 หมื่นล้านปีในการดารงอยู่ในลาดับหลัก เมื่อไฮโดรเจนซึ่งเป็นเชื้อเพลิงของดวงอาทิตย์หมดลง วาระสุดท้ายของดวงอาทิตย์ก็มาถึง (คือการพ้นไป จากลาดับหลัก) โดยดวงอาทิตย์จะเริ่มพบกับจุดจบคือการแปรเปลี่ยนไปเป็นดาวยักษ์แดงภายใน 4-5 พันล้านปี ผิว นอกของดวงอาทิตย์ขยายตัวออกไป ส่วนแกนนั้นยุบตัวลงและร้อนขึ้นสลับกับเย็นลง มีการหลอมฮีเลียมเป็นคาร์บอน และออกซิเจนที่อุณหภูมิราว 100 ล้านเคลวิน จากสถานการณ์ข้างต้นดูเหมือนว่าดวงอาทิตย์จะกลืนกินโลกให้หลอมลง ไปเป็นเนื้อเดียวกัน แต่จากรายงานวิจัยฉบับหนึ่งได้ศึกษาพบว่าวงโคจรของโลกจะตีตัวออกห่างดวงอาทิตย์เพราะมวล ของดวงอาทิตย์ได้สูญเสียไป จนแรงดึงดูระหว่างมวลมีค่าลดลง
  • 9. ปัจจุบันและอนาคตของดวงอาทิตย์ แต่ถึงกระนั้น น้าทะเลก็ถูกความร้อนจากดวงอาทิตย์เผาผลาญจนระเหยสิ้นไปในอวกาศ และ บรรยากาศโลกก็อันตรธานไปจนไม่เอื้อแก่ชีวิตต่อมาได้มีการค้นพบ ว่าดวงอาทิตย์นั้นจะสว่างขึ้น 10 เปอร์เซนต์ ทุก ๆ 1000 ล้านปี ถึงตอนนั้นโลกก็ไม่อาจจะเอื้อ ต่อสิ่งมีชีวิตไปก่อนแล้ว เวลาของสิ่งมีชีวิต บนโลก จึงเหลือแค่ 500 ล้านปีเท่านั้น หลังจากที่ดวงอาทิตย์ได้ผ่านสภาพการเป็นดาวยักษ์แดงแล้ว อุณหภูมิจากปฏิกิริยาการหลอม ฮีเลียมที่เพิ่มสลับกับลงภายในแกน ก็จะเป็นตัวการให้ผิวดวงอาทิตย์ด้านนอกผละตัวออกจากแกน เกิด เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ แล้วอันตรธานไปในความมืดมิดของอวกาศ และเป็นวัสดุสาหรับสร้างดาวฤกษ์และ ระบบสุริยะรุ่นถัดไป ส่วนแกนที่เหลืออยู่ก็จะกลายเป็นดาวแคระขาวที่ร้อนจัดและมีแสงจางมาก ก่อนจะดับ ลงกลายเป็นดาวแคระดา จากทั้งหมดที่กล่าวมานี้คือชีวิตของดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยถึงปานกลาง
  • 10. โครงสร้างดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์เป็นวัตถุที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีมวลคิดเป็นร้อยละ 99 ของระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่มีรูปทรงเกือบเป็นทรงกลม โดยมีความ แบนที่ขั้วเพียงหนึ่งในเก้าล้าน ซึ่งหมายความว่าความแตกต่างของเส้นผ่านศูนย์กลาง ที่ขั้วกับเส้นผ่านศูนย์กลางที่เส้นศูนย์สูตรมีเพียง 10 กิโลเมตร จากการที่ดวง อาทิตย์มีเฉพาะส่วนที่เป็นพลาสมา ไม่มีส่วนที่เป็นของแข็ง ทาให้อัตราเร็วของการ หมุนรอบตัวเองในแต่ละส่วนมีความต่างกัน เช่นที่เส้นศูนย์สูตรจะหมุนเร็วกว่าที่ขั้ว ที่เส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์มีคาบการหมุนรอบตัวเอง 25 วัน ส่วนที่ขั้วมีคาบ 35 วัน แต่เมื่อสังเกตบนโลกแล้วจะพบว่าคาบของการหมุนรอบตัวเองที่เส้นศูนย์สูตรของ ดวงอาทิตย์คือ 28 วัน ดวงอาทิตย์มีความหนาแน่นมากที่สุดบริเวณแกน ซึ่งเป็นแหล่งผลิตพลังงาน และมีค่าน้อยลงเกือบเป็นรูปเอ็กโพเนนเชียลตาม ระยะทางที่ห่างออกมาจากแกน และแม้ว่าภายในดวงอาทิตย์นั้นจะไม่สามารถ มองเห็นได้ แต่นักวิทยาศาสตร์ก็สามารถศึกษาภายในได้ผ่านทางการใช้คลื่น สะเทือนในดวงอาทิตย์
  • 11. โครงสร้างดวงอาทิตย์ • แกน ส่วนแกนของดวงอาทิตย์สันนิษฐานว่ามีรัศมีเป็น 0.2 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ ความหนาแน่นประมาณ 150,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ 150 เท่าของความหนาแน่นของน้าบนโลก อุณหภูมิประมาณ 13,600,000 เคล วิน ตลอดชีวิตส่วนใหญ่ของดวงอาทิตย์ ภายในแกนจะมีปฏิกิริยาฟิวชันลูกโซ่ โปรตอน-โปรตอน ซึ่งเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็น ฮีเลียม พลังงานที่ได้นี้ทาให้ส่วนที่เหลือของดวงอาทิตย์สุกสว่างและเปล่งแสงทุก ๆ วินาที จะมีนิวเคลียสของไฮโดรเจน 3.4×1038 ตัว ถูกแปรรูปเป็นฮีเลียม ผลิตพลังงานได้ 383×1024 จูล หรือเทียบได้กับระเบิดไตรไนโตรโทลูอีน (TNT) ถึง 9.15×1019 กิโลกรัม พลังงานจากแกนของดวงอาทิตย์ใช้เวลานานมากในการขึ้นสู่พื้นผิว อย่างมากเป็น 50 ล้านปี อย่างน้อยเป็น 17,000 ปี เพราะโฟตอนพลังงานสูง (รังสีเอกซ์และรังสีแกมมา) ถูกดูดกลืนไปในพลาสมา แล้วเปล่ง พลังงานออกมาสลับกันเรื่อย ๆ ทุก ๆ ระยะไม่กี่มิลลิเมตร
  • 12. โครงสร้างดวงอาทิตย์ • เขตแผ่รังสีความร้อน ในส่วนของเขตแผ่รังสีความร้อน (radiation zone) ซึ่งอยู่ในช่วง 0.2 ถึง 0.7 ส่วนของรัศมีดวงอาทิตย์ ในชั้นนี้ไม่มีการพาความร้อน (convection) เพราะอัตราความแตกต่างของอุณหภูมิเทียบกับระยะความสูงน้อยกว่าอัตรา การเปลี่ยนอุณหภูมิตามความสูงแบบอะเดียแบติก (adiabatic lapse rate) พลังงานในส่วนนี้ถูกนาออกมาภายนอกช้า มากดังที่ได้กล่าวไว้ก่อนแล้ว • เขตพาความร้อน ในส่วนของเขตพาความร้อน (convection zone) ซึ่งอยู่บริเวณผิวนอกที่เหลือ เป็นส่วนที่พลังงานถูก ถ่ายเทผ่านแท่งความร้อน (heat column) โดยเนื้อสารที่ร้อนและมีพลังงานเริ่มต้นจากด้านล่าง แล้วไหลขึ้นด้านบนจนถึง ผิว จากนั้นถ่ายเทความร้อนและกลับลงไปใหม่ แท่งความร้อนสามารถสังเกตได้จาก “เกล็ด” บนภาพถ่ายผิวดวงอาทิตย์
  • 13. โครงสร้างดวงอาทิตย์ • โฟโตสเฟียร์ ในส่วนของโฟโตสเฟียร์ (photosphere) แปลว่า ทรงกลมแห่งแสง ซึ่งเป็นส่วนที่เรามองเห็นดวงอาทิตย์ แสงสว่างที่เปล่งในดวงอาทิตย์นั้นเกิดจากอิเล็กตรอนชนกับอะตอมไฮโดรเจนเกิดเป็น H-[12][13] เหนือชั้นนี้ แสงอาทิตย์ ก็จะถูกปลดปล่อยออกมา และมีอุณหภูมิต่าลงตามความสูงที่มากขึ้น จนทาให้สังเกตเห็นรอยมัวตรงขอบดวงอาทิตย์ใน ภาพถ่าย (ดังภาพถ่ายด้านบน)
  • 14. โครงสร้างดวงอาทิตย์ • บรรยากาศ บรรยากาศของดวงอาทิตย์ประกอบด้วย 5 ชั้น ได้แก่ ชั้นอุณหภูมิต่าสุด (temperature minimum) โคร โมสเฟียร์ (chromosphere) เขตเปลี่ยนผ่าน (transition region) โคโรนา (corona) และเฮลิโอสเฟียร์ (heliosphere) ตามลาดับจากต่าไปสูง ชั้นแรก ชั้นอุณหภูมิต่าสุด มีอุณหภูมิประมาณ 4,000 เคลวิน และหนา 500 กิโลเมตร ชั้นถัดไปคือโครโมส เฟียร์ ซึ่งแปลว่ารงคมณฑล หรือทรงกลมแห่งสี เหตุที่เรียกชื่อนี้ก็เพราะเห็นเป็นแสงสีแวบขณะเกิดสุริยุปราคา ชั้นนี้หนา 2,000 กิโลเมตร มีอุณหภูมิติดลบถึง -100,000 องศาเซลเซียส ชั้นต่อไปเป็นเขตเปลี่ยนผ่านซึ่งอุณหภูมิอาจติดลบถึงล้าน เคลวิน และยิ่งต่าขึ้นไปอีกในชั้นโคโรนา ทาให้สิ่งนี้เป็นปัญหาคาใจนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งก็สันนิษฐานว่าอาจเกิดจากการ ต่อเชื่อมทางแม่เหล็ก (magnetic connection) ชั้นที่เหลือชั้นสุดท้ายคือ เฮลิโอสเฟียร์ หรือสุริยมณฑล คือชั้นที่อานาจ ของลมสุริยะสามารถไปถึง ซึ่งอาจมากกว่า 20 หน่วยดาราศาสตร์ (20 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์)
  • 15. โครงการสารวจดวงอาทิตย์ องค์การนาซาได้เคยปล่อยยานสารวจดวงอาทิตย์ในโครงการไพโอเนียร์ ซึ่งปล่อยช่วงปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2511 โดยทาการตรวจวัดสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์และลมสุริยะ ต่อมาก็ได้ส่งยานสกายแล็บเมื่อปี พ.ศ. 2516 ทาการศึกษาโคโรนาของดวงอาทิตย์ และการพ่นมวลของโคโรนา ในปี พ.ศ. 2534 ญี่ปุ่นได้ส่งยาน โยะโกะ (阳光) เพื่อศึกษาเพลิงสุริยะในช่วงรังสีเอกซ์ นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นว่า โคโรนาจะยุบลงในช่วงที่ มีกิจกรรมบนผิวดวงอาทิตย์มาก ยานโยะโกะถูกปลดระวางเมื่อ พ.ศ. 2548 ภารกิจสารวจดวงอาทิตย์ที่เรารู้จักกันมักหนีไม่พ้นหอสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์และสุริยมณฑล หรือ โซโฮ (Solar and Heliospheric Observatory; SOHO) อันเป็นความร่วมมือระหว่างสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ถูกปล่อยเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2538 เดิมทีกาหนดให้ปฏิบัติงานสองปี แต่กลับ ปฏิบัติงานมากกว่า 10 ปี ยานโซโฮเป็นยานสังเกตการณ์ที่ทาให้เรารู้หลายอย่างเกี่ยวกับดวงอาทิตย์มากขึ้นใน หลาย ๆ ช่วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และยังสังเกตเห็นดาวหางที่พุ่งชนดวงอาทิตย์ด้วย ส่วนอีกโครงการหนึ่งที่มี แผนจะปล่อยขึ้นสู่ห้วงอวกาศในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2551 คือโครงการหอสังเกตการณ์สุริยพลวัต (Solar Dynamic Observatory) ซึ่งจะนาไปไว้ยังจุดลากรองจ์ (Lagrangian point) หรือจุดสะเทินแรงดึงดูด ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์
  • 16. โครงการสารวจดวงอาทิตย์ นอกเหนือจากนี้ ยังมีโครงการสังเกตระบบ สุริยะจากมุมอื่น โดยมีการส่งยานยุลลิซิส (Ulysses) เมื่อ พ.ศ. 2533 โดยให้ไปยังดาวพฤหัสบดีเพื่อเหวี่ยง ตัวขึ้นเหนือระนาบระบบสุริยะ ครานั้นยานสามารถ สังเกตเห็นดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 ชนดาวพฤหัสบดี ในปี พ.ศ. 2537 เมื่อยานยุลลิซิสถึงที่หมาย ก็จะทา การสารวจลมสุริยะและสนามแม่เหล็กที่ละติจูดสูง ๆ และพบว่าอัตราเร็วลมสุริยะอยู่ที่ 750 กิโลเมตรต่อ วินาที ซึ่งช้ากว่าที่ได้คาดไว้ และยังมีสนามแม่เหล็กที่ ทาให้รังสีคอสมิกกระเจิงด้วย
  • 18. ดาวพุธ ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลา โคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทาให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลาเดียวที่เคยสารวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทาแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้ม ถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้ ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคาเต็มว่า Mercurius เทพนาสารของพระเจ้า สัญลักษณ์ แทนดาวพุธ คือ ☿ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏ ในเวลาหัวค่า และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวง เดียวกัน
  • 19. บรรยากาศ ดาวพุธมีชั้นบรรยากาศเบาบางและมีสเถียรภาพต่าอันเกิดจากการที่ดาวพุธมีขนาดเล็กจนไม่มีแรงดึงดูด เพียงพอในการกักเก็บอะตอมของก๊าซเอาไว้ ชั้นบรรยากาศของดาวพุธประกอบไปด้วยไฮโดรเจน, ฮีเลียม, ออกซิเจน, โซเดียม, แคลเซียม, โพแทสเซียม และ น้า มีความดันบรรยากาศประมาณ 10-14 บาร์ บรรยากาศของดาวพุธมีการสูญเสียและถูกทดแทนอยู่ตลอดเวลาโดยมีแหล่งที่มาหลายแหล่ง ไฮโดรเจน และฮีเลียมอาจจะมาจากลมสุริยะ พวกมันแพร่เข้ามาผ่านสนามแม่เหล็กของดาวพุธก่อนจะหลุดออกจากบรรยากาศใน ที่สุด การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี จากแกนของดาวก็อาจจะเป็นอีกแหล่งหนึ่งที่ช่วยเติมฮีเลียม โซเดียม และ โพแทสเซียมให้กับบรรยากาศดาวพุธ ไม่เคยถูกแสงอาทิตย์โดยตรงเลย การสารวจได้เผยให้เห็นถึงแถบสะท้อนเรดาร์ขนาดใหญ่อยู่บริเวณขั้วของ ดาว ซึ่งน้าแข็งเป็นหนึ่งในสารไม่กี่ชนิดที่สามารถสะท้อนเรดาร์ได้ดีเช่นนี้ ภาพถ่ายพื้นผิวบริเวณขั้วเหนือโดยใช้เรดาร์ บริเวณที่มีน้าแข็งนั้นเชื่อกันว่าอยุ่ลึกลงไปใต้พื้นผิวเพียงไม่กี่เมตร และมีน้าแข็งประมาณ 1014 - 1015 กิโลกรัม เปรียบเทียบกับน้าแข็งที่แอนตาร์กติกาของโลกเราที่มีน้าแข็งอยู่ 4 x 10 18 กิโลกรัม ที่มาของน้าแข็งบนดาว พุธยังไม่แน่ชัด แต่เชื่อกันว่าอาจจะมีที่มาจากดาวหางที่พุ่งชนดาวพุธเมื่อหลายล้านปีก่อน หรืออาจจะมาจากภายในของดาวพุธเอง
  • 20. ภูมิประเทศ ดาวพุธมีหลุมอุกกาบาตจานวนมากจนดูคล้ายดวงจันทร์ ภูมิลักษณ์ที่เด่นที่สุดบนดาวพุธ (เท่าที่ สามารถถ่ายภาพได้) คือ แอ่งแคลอริส หลุมอุกกาบาตที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,350 กิโลเมตร ผิวดาว พุธมีผาชันอยู่ทั่วไป ซึ่งก่อตัวขึ้นเมื่อหลายพันล้านปีที่แล้ว ขณะที่ใจกลางดาวพุธเย็นลงพร้อมกับหดตัว จนทาให้ เปลือกดาวพุธย่นยับ พื้นที่ส่วนใหญ่ของดาวพุธปกคลุมด้วยที่ราบ 2 แบบที่มีอายุต่างกัน ที่ราบที่มีอายุน้อยจะมี หลุมอุกกาบาตหนาแน่นน้อยกว่า เป็นเพราะมีลาวาไหลมากลบหลุมอุกกาบาตที่เกิดก่อนหน้า โครงสร้างของดาวพุธ 1. เปลือก - หนา100–200 กม. 2. แมนเทิล - หนา 600 กม. 3. แกน - รัศมี 1,800 กม
  • 21. องค์ประกอบภายใน ดาวพุธมีแก่นที่ประกอบด้วยเหล็กในสัดส่วนที่ สูง (แม้เมื่อเปรียบเทียบกับโลก) เป็นโลหะประมาณ 70% ที่เหลืออีก 30% เป็นซิลิเกต ความหนาแน่นเฉลี่ยมีค่า 5,430 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งน้อยกว่าความหนาแน่น ของโลกอยู่เล็กน้อย สาเหตุที่ดาวพุธมีเหล็กอยู่มากแต่มีความ หนาแน่นต่ากว่าโลก เป็นเพราะในโลกมีการอัดตัวแน่นกว่า ดาวพุธ ดาวพุธมีมวลเพียง 5.5% ของมวลโลก แก่นที่เป็น เหล็กมีปริมาตรราว 42% ของดวง (แก่นโลกมีสัดส่วนเพียง 17%) ล้อมรอบด้วยเนื้อดาวหรือแมนเทิลหนา 600 กิโลเมตร
  • 22. การเคลื่อนที่ ดาวพุธเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุด โดยใช้เวลาเพียง 87.969 วันในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ดาวพุธหมุนรอบตัวเองในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ คือ จากทิศตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบ ตัวเองรอบละ 58.6461 วัน เมื่อพิจารณาจากคาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ จะ พบว่าระยะเวลากลางวัน ถึงกลางคืนบนดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะ การศึกษาและการสารวจ ยานอวกาศที่เข้าไปเฉียดใกล้ๆ ดาวพุธและนาภาพมาต่อกันจนได้ภาพพื้นผิวดาวพุธเป็นครั้งแรกคือ ยานอวกาศมารี เนอร์ 10 ของสหรัฐอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2517 นับว่าเป็นยานลาแรกและลาเดียวที่ส่งไปสารวจดาวพุธ ยานมารีเนอร์ 10 เข้าใกล้ดาวพุธ 3 ครั้งด้วยกัน คือ เมื่อเดือนมีนาคม และ กันยายน พ.ศ. 2517 และเดือนมีนาคม พ.ศ. 2518 ยาน เข้าใกล้ดาวพุธที่สุดครั้ง แรกเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2517 และได้ส่งภาพกลับมา 647 ภาพ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2517 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2518 ขณะนั้นเครื่องมือภายในยานได้เสื่อมสภาพ ลง ในที่สุดก็ติดต่อกับโลกไม่ได้ตั้งแต่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2518 ยานมารีเนอร์ 10 จึงกลายเป็นขยะอวกาศที่โคจรอยู่ รอบดวงอาทิตย์ โดยเข้ามาใกล้ดาวพุธครั้งคราวตามจังหวะเดิมต่อไป
  • 24. ดาวศุกร์ ดาวศุกร์ (อังกฤษ: Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 2 ชื่อละตินของ ดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรักของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า "น้องสาว" ของโลก แม้ว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบ เป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด สาหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลาดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และ ดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 47.8° มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่าเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่าทางทิศตะวันตก เรียกว่า "ดาว ประจาเมือง" และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า "ดาวประกายพรึก" หรือ "ดาวรุ่ง" ชาวบาบิโลนโบราณรู้จักดาวศุกร์มาตั้งแต่ราว 1,600 ปีก่อนคริสตกาล แต่เชื่อว่าด้วยความสว่างสุกใส ของดาวศุกร์ น่าจะเป็นที่รู้จักมาก่อนหน้านั้นนานแล้วนับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สัญลักษณ์แทนดาวศุกร์ คือ ♀
  • 25. บรรยากาศ บรรยากาศของดาวศุกร์ ประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 97% ไนโตรเจน 3.5% ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และ อาร์กอน 0.5% มีชั้นเมฆคาร์บอนไดออกไซด์ที่หนาทึบมาก ปกคลุมดาวศุกร์ทั้งดวงทาให้สะท้อนแสงอาทิตย์ได้ดี จึง เห็นดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างสุกใสมาก และยานอวกาศที่ไปสารวจดาวศุกร์ก็ไม่สามารถถ่ายภาพพื้นผิว โดยตรงได้ ต้องอาศัยคลื่นเรดาห์ผ่านทะลุชั้นเมฆแล้วนามาวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์อีกครั้ง อุณหภูมิของดาวศุกร์ ด้วยชั้นเมฆหนาของดาวศุกร์ทาให้เกิดสภาวะเรือนกระจก อุณหภูมิบนดาวศุกร์สูงมาก ประมาณ 500 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน การเคลื่อนที่ ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลานานกว่าการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์1 รอบ และถ้าเราอยู่บนดาวศุกร์เวลา 1 วัน จะไม่ยาวเท่ากับเวลาที่ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ นี่คือลักษณะพิเศษที่ดาวศุกร์ไม่เหมือนดาวเคราะห์ดวงใดๆ นอกจากนี้ดาวศุกร์ยังหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือหมุนจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ในขณะที่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์จากทิศ ตะวันตกไปทิศตะวันออก ดาวศุกร์จึงหมุนสวนทางกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และหมุนสวนทางกับการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเองรอบละ 243 วัน แต่ 1 วันของดาวศุกร์ยาวนานเท่ากับ 117 วันของโลก เพราะตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นจนถึงดวงอาทิตย์ตกยาวนาน 58.5 วันของโลก ดาวศุกร์เคลื่อนรอบดวงอาทิตย์รอบละ 225 วัน 1 ปีของดาวศุกร์จึงยาวนาน 225 วันของโลก
  • 26. ยานอวกาศสารวจดาวศุกร์ ยานอวกาศที่สารวจดาวศุกร์ มีด้วยกันหลายลาได้แก่  มาริเนอร์ 2 เมื่อ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2505  เวเนรา 4 เมื่อ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2510  เวเนรา 7 เมื่อ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2513  มาริเนอร์ 10 เมื่อ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517  เวเนรา 9 เมื่อ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2518  เวเนรา 15 เมื่อ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2526  ไพโอเนียร์-วีนัส 2 เมื่อ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2521  แมกเจลแลน เมื่อ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2533
  • 28. โลก โลก เป็นดาวเคราะห์ลาดับที่สามจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นมากที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาด ใหญ่ที่สุดในบรรดาดาวเคราะห์หินทั้งสี่ดวงของระบบสุริยะ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่าเอื้ออานวยต่อการ ดารงชีพของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพของโลกได้ใช้เวลากว่าหลายร้อยล้านปีในการวิวัฒน์ขึ้น แผ่ขยายมาอย่างต่อเนื่อง เว้นแต่เมื่อถูกขัดขวางโดยการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่แม้ว่าตามการประมาณของนักการศึกษาจะคาดว่ามากกว่าร้อยละ 99 ของสปีชีส์ ทั้งหมดที่เคยอยู่อาศัยบนโลกนั้นสูญพันธุ์ไปแล้ว โลกก็ยังคงเป็นบ้านอาศัยของสิ่งมีชีวิตร่วม 10-14 ล้านสปีชีส์] เป็นที่พึ่งพิงของ มนุษย์มากกว่า 7.2 พันล้านคน ทั้งด้วยชีวมณฑลและแร่ธาตุต่างๆ ประชากรมนุษย์บนโลกแบ่งออกได้เป็นรัฐเอกราชกว่าสองร้อย แห่งโดยมีปฏิสัมพันธ์กันผ่านทางการทูต ความขัดแย้ง การท่องเที่ยว การค้าตลอดจนการสื่อสาร ด้วยความสอดคล้องของหลักฐานจากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งข้อมูลอื่นๆ โลกได้ก่อกาเนิดขึ้นเมื่อเวลา ประมาณสี่พันห้าร้อยล้านปีก่อน ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตได้ปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศ และพิ้นผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน และเป็นผลให้เกิด การสร้างชั้นโอโซนขึ้นในบรรยากาศ ทั้งชั้นโอโซนและสนามแม่เหล็กโลกได้ร่วมกันกั้นขวางเกือบทั้งหมดของรังสีที่เป็นอันตรายต่อ สิ่งมีชีวิตจากดวงอาทิตย์ ทาให้สิ่งมีชีวิตสามารถเจริญรุ่งเรืองได้ทั้งบนผืนดินเช่นเดียวกับในผืนน้า นับจากนั้นมา ตาแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลก ล้วนยอมให้สิ่งมีชีวิตยังคงดารงอยู่ได้
  • 29. โลก ด้วยความสอดคล้องของหลักฐานจากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งข้อมูลอื่นๆ โลกได้ก่อกาเนิดขึ้นเมื่อเวลา ประมาณสี่พันห้าร้อยล้านปีก่อน ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตได้ปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศ และพื้นผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน และเป็นผลให้เกิด การสร้างชั้นโอโซนขึ้นในบรรยากาศ ทั้งชั้นโอโซนและสนามแม่เหล็กโลกได้ร่วมกันกั้นขวางเกือบทั้งหมดของรังสีที่เป็นอันตรายต่อ สิ่งมีชีวิตจากดวงอาทิตย์ ทาให้สิ่งมีชีวิตสามารถเจริญรุ่งเรืองได้ทั้งบนผืนดินเช่นเดียวกับในผืนน้า นับจากนั้นมา ตาแหน่งของโลก ในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลก ล้วนยอมให้สิ่งมีชีวิตยังคงดารงอยู่ได้
  • 30. โลก ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลายๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งเคลื่อนตัวย้ายที่ตัดผ่านกันตามพื้นผิว ตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกถูกปกคลุมด้วยน้า บริเวณที่เหลือประกอบด้วยทวีปและเกาะต่างๆ ซึ่งมีทะเลสาบ และแหล่งน้าอื่นๆ อีกจานวนมากกอปรกันขึ้นเป็นไฮโดรสเฟียร์ บริเวณขั้วโลกทั้งสองถูกปกคลุมด้วยน้าแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ น้าแข็งอันมั่นคงของแผ่นน้าแข็งแอนตาร์กติก และน้าแข็งทะเลของแพน้าแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดย มีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกาเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลหนาสถานะแข็งโดยอนุโลมภายใต้เปลือก เบื้องบน โลกมีปฏิสัมพันธ์เชิงโน้มถ่วงกับวัตถุต่างๆ ในห้วงอวกาศโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ระหว่างการ โคจรรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบ โลกจะหมุนรอบแกนของตนเองประมาณ 366.26 รอบ เกิดเป็นวันสุริยะ 365.26 วัน หรือเรียกเป็น หนึ่งปีดาราคติ แกนหมุนของโลกเอียงทามุม 23.4 องศา กับแนวตั้งฉากของระนาบการโคจร ก่อให้เกิดฤดูกาลผันแปรไปบนพื้นผิว ดาวในรอบระยะเวลาหนึ่งปีฤดูกาล (365.24 วันสุริยะ) ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารแท้ตามธรรมชาติเพียงหนึ่งเดียวของโลก ซึ่งเริ่ม โคจรรอบโลกเมื่อประมาณ 4.53 พันล้านปีก่อน ปฏิสัมพันธ์เชิงโน้มถ่วงระหว่างดวงจันทร์กับโลกทาให้เกิดน้าขึ้นน้าลงในมหาสมุทร หน่วงการหมุนของโลกให้ช้าลงทีละน้อย และทาให้ความเอียงของแกนโลกมีเสถียรภาพ
  • 31. องค์ประกอบและโครงสร้าง โลกมีรูปร่างเป็นทรงกลมไม่สมบูรณ์โดยแป้น เล็กน้อยตามแนวแกนหมุนจากขั้วหนึ่งใปยังอีกขั้วหนึ่ง เกิด เป็นลักษณะที่ป่องออกตรงกลางในแถบศูนย์สูตรการป่องนี้ เป็นผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลกและเป็นสาเหตุให้ เส้นผ่านศูนย์กลางในแนวศูนย์สูตรยาวกว่าเส้นผ่าน ศูนย์กลางในแนวขั้วเหนือ-ใต้ราว 43 กิโลเมตร (27 ไมล์) จุดบนพื้นผิวโลกที่ไกลที่สุดจากจุดศูนย์กลางมวลของโลกคือ ยอดภูเขาไฟชิมโบราโซในประเทศเอกวาดอร์ เส้นผ่าน ศูนย์กลางเฉลี่ยของทรงกลมอ้างอิงอยู่ที่ประมาณ 12,742 กิโลเมตร (7,918 ไมล์) ใกล้เคียงกับระยะ 40,000 กม./π ซึ่งเป็นนิยามแรกของระยะทาง 1 เมตร ว่าให้ เท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะจากเส้นศูนย์สูตรไปยังขั้ว โลกเหนือผ่านกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
  • 32. องค์ประกอบและโครงสร้าง ภูมิประเทศในแต่ละท้องที่มีการเบี่ยงเบนไปจากทรงกลมอุดม คติ แต่เมื่อมองในระดับโลกทั้งใบการเบี่ยงเบนเหล่านี้ก็ถือว่าเล็กน้อย จุดที่ ถือว่ามีความเบี่ยงเบนท้องถิ่นมากที่สุดบนพื้นผิวหินของโลกก็คือ ยอดเขาเอ เวอร์เรสต์ด้วยระดับความสูง 8,848 เมตรจากระดับน้าทะเลกลาง คิดเป็นค่า ความเบี่ยงเบนร้อยละ 0.14 และร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนาที่ระดับความลึก 10,911 เมตรจากระดับน้าทะเลกลาง คิดเป็นค่าความเบี่ยงเบนร้อยละ 0.17 (ประมาณ 1/584) หากเปรียบโลกกับลูกคิวซึ่งมีความยอมให้ได้ทาง อุตสาหกรรมที่ร้อยละ 0.22 แล้ว บางบริเวณของโลกเช่นแนวสันเขาและร่อง ลึกก้นมหาสมุทรต่างๆ ก็จะให้ความรู้สึกไม่ต่างกับตาหนิที่เล็กน้อยมาก ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของโลกเช่นที่ราบใหญ่บนพื้นดินหรือที่ราบก้นสมุทร ก็จะให้ความรู้สึกเรียบเนียนยิ่งกว่าลูกบิลเลียด อันเนื่องมาจากการป่อง ออกบริเวณศูนย์สูตร ตาแหน่งบนพื้นผิวที่ใกลที่สุดจากจุดศูนย์กลางของโลก คือ ยอดเขาชิมโบราโซในประเทศเอกวาดอร์ และวัสคารัน (สเปน: Huascarán) ในประเทศเปรู ซึ่งเป็นตาแหน่งบนผิวโลกที่มีแรงโน้มถ่วง ต่าที่สุด
  • 33. องค์ประกอบและโครงสร้าง โลกมีมวลโดยประมาณ 5.97×1024 กิโลกรัม ส่วนมากประกอบขึ้นจากเหล็ก (ร้อยละ 32.1) ออกซิเจน (ร้อยละ 30.1) ซิลิกอน (ร้อยละ 15.1) แมกนีเซียม (ร้อยละ 13.9) กามะถัน (ร้อยละ 2.9) นิกเกิล (ร้อยละ 1.8) แคลเซียม (ร้อยละ 1.5) และอลูมิเนียม (ร้อยละ 1.4) ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 1.2 ประกอบด้วยธาตุอื่นๆ ในปริมาณเล็กน้อย จากกระบวนการการ แยกลาดับชั้นโดยมวลทาให้เชื่อว่าบริเวณแกนโลกประกอบขึ้นในขั้นต้นด้วยเหล็กร้อยละ 88.8 มีนิกเกิลในปริมาณเล็กน้อยราวร้อยละ 5.8 กามะถันร้อยละ 4.5 และน้อยกว่าร้อยละ 1 เป็นธาตุพบน้อยชนิดอื่น นักธรณีเคมี เอฟ.ดับเบิลยู.คล้าก คานวณว่ามากกว่าร้อยละ 47 เล็กน้อยของมวลของเปลือกโลกประกอบขึ้นจาก ออกซิเจน หินที่พบได้ทั่วไปที่เป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกนั้นเป็นสารประกอบออกไซด์แทบทั้งหมด ส่วนคลอรีน กามะถัน และ ฟลูออรีน ถือว่าเป็นข้อยกเว้นสาคัญในบรรดาหินทั้งหลายซึ่งเมื่อรวมปริมาณทั้งหมดแล้วมักจะต่ากว่าร้อยละ 1 หินออกไซด์หลัก ได้แก่ ซิลิกา อลูมินา ปูนขาว แมกนีเซีย ออกไซด์ของเหล็ก โพแทช และโซดา ซิลิกาโดยทั่วไปแล้วมีสมบัติเป็นกรด ทาให้แร่ซิลิ เกตรวมถึงแร่ทั่วไปชนิดอื่นๆ ที่มาจากหินอัคนีก็มีลักษณะเช่นนี้ จากการคานวณบนฐานการวิเคราะห์กว่า 1,672 ตัวอย่างจากหิน ทุกชนิด คล้ากสรุปว่าหินร้อยละ 99.22 ประกอบขึ้นจากสารประกอบออกไซด์ 11 ชนิด (ตามตารางด้านขวา) โดยองค์ประกอบ แบบอื่นมีปรากฏในปริมาณเพียงเล็กน้อย
  • 34. องค์ประกอบและโครงสร้าง • องค์ประกอบทางเคมี โลกมีมวลโดยประมาณ 5.97×1024 กิโลกรัม ส่วนมากประกอบขึ้นจากเหล็ก (ร้อยละ 32.1) ออกซิเจน (ร้อยละ 30.1) ซิลิกอน (ร้อยละ 15.1) แมกนีเซียม (ร้อยละ 13.9) กามะถัน (ร้อยละ 2.9) นิกเกิล (ร้อยละ 1.8) แคลเซียม (ร้อยละ 1.5) และ อลูมิเนียม (ร้อยละ 1.4) ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 1.2 ประกอบด้วยธาตุอื่นๆ ในปริมาณเล็กน้อย จากกระบวนการการแยกลาดับ ชั้นโดยมวลทาให้เชื่อว่าบริเวณแกนโลกประกอบขึ้นในขั้นต้นด้วยเหล็กร้อยละ 88.8 มีนิกเกิลในปริมาณเล็กน้อยราวร้อยละ 5.8 กามะถันร้อยละ 4.5 และน้อยกว่าร้อยละ 1 เป็นธาตุพบน้อยชนิดอื่น นักธรณีเคมี เอฟ.ดับเบิลยู.คล้าก คานวณว่ามากกว่าร้อยละ 47 เล็กน้อยของมวลของเปลือกโลกประกอบขึ้นจาก ออกซิเจน หินที่พบได้ทั่วไปที่เป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกนั้นเป็นสารประกอบออกไซด์แทบทั้งหมด ส่วนคลอรีน กามะถัน และ ฟลูออรีน ถือว่าเป็นข้อยกเว้นสาคัญในบรรดาหินทั้งหลายซึ่งเมื่อรวมปริมาณทั้งหมดแล้วมักจะต่ากว่าร้อยละ 1 หินออกไซด์หลัก ได้แก่ ซิลิกา อลูมินา ปูนขาว แมกนีเซีย ออกไซด์ของเหล็ก โพแทช และโซดา ซิลิกาโดยทั่วไปแล้วมีสมบัติเป็นกรด ทาให้แร่ซิลิ เกตรวมถึงแร่ทั่วไปชนิดอื่นๆ ที่มาจากหินอัคนีก็มีลักษณะเช่นนี้ จากการคานวณบนฐานการวิเคราะห์กว่า 1,672 ตัวอย่างจากหิน ทุกชนิด คล้ากสรุปว่าหินร้อยละ 99.22 ประกอบขึ้นจากสารประกอบออกไซด์ 11 ชนิด (ตามตารางด้านขวา) โดยองค์ประกอบแบบอื่นมีปรากฏในปริมาณเพียงเล็กน้อย
  • 35. องค์ประกอบและโครงสร้าง นักธรณีเคมี เอฟ.ดับเบิลยู.คล้าก คานวณว่ามากกว่า ร้อยละ 47 เล็กน้อยของมวลของเปลือกโลกประกอบขึ้นจาก ออกซิเจน หินที่พบได้ทั่วไปที่เป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกนั้น เป็นสารประกอบออกไซด์แทบทั้งหมด ส่วนคลอรีน กามะถัน และฟลูออรีน ถือว่าเป็นข้อยกเว้นสาคัญในบรรดาหินทั้งหลายซึ่ง เมื่อรวมปริมาณทั้งหมดแล้วมักจะต่ากว่าร้อยละ 1 หินออกไซด์ หลักได้แก่ ซิลิกา อลูมินา ปูนขาว แมกนีเซีย ออกไซด์ของ เหล็ก โพแทช และโซดา ซิลิกาโดยทั่วไปแล้วมีสมบัติเป็นกรด ทาให้แร่ซิลิเกตรวมถึงแร่ทั่วไปชนิดอื่นๆ ที่มาจากหินอัคนีก็มี ลักษณะเช่นนี้ จากการคานวณบนฐานการวิเคราะห์กว่า 1,672 ตัวอย่างจากหินทุกชนิด คล้ากสรุปว่าหินร้อยละ 99.22 ประกอบ ขึ้นจากสารประกอบออกไซด์ 11 ชนิด (ตามตารางด้านขวา) โดย องค์ประกอบแบบอื่นมีปรากฏในปริมาณเพียงเล็กน้อย
  • 36. องค์ประกอบและโครงสร้าง • โครงสร้างภายใน เช่นเดียวกับดาวเคราะห์หินดวงอื่นๆ โครงสร้างภายในของโลกแบ่งออกได้เป็นชั้นๆ ด้วยคุณสมบัติทางกายภาพ (กลศาสตร์ภาวะต่อเนื่อง) หรือคุณสมบัติทางเคมี แต่ที่ต่างจากดาวเคราะห์หินอื่นคือ การมีแก่นชั้นนอกและแก่นชั้นในแยกกัน อย่างเด่นชัด โครงสร้างทั้งหมดแบ่งออกได้เป็น เปลือกโลก แมนเทิล แก่นชั้นนอก และแก่นชั้นใน #เปลือกโลก ชั้นนอกของโลกเป็นเปลือกซิลิเกตแข็งซึ่งแยกออกชัดเจนด้วยคุณสมบัติทางเคมีโดยมีชั้นแมนเทิลแข็งความหนืดสูงอยู่ เบื้องล่าง เปลือกโลกมีปริมาตรรวมน้อยกว่าร้อยละ 1 ของโลกเล็กน้อยแยกออกจากชั้นแมนเทิลโดยความไม่ต่อเนื่องโมโฮโรวิคซิช เปลือกโลกส่วนบนมีความหนาแน่นระหว่าง 2.69 - 2.74 ก./ซม.3 ซึ่งต่ากว่าเปลือกโลกส่วนล่างที่มีความหนาแน่นระหว่าง 3.0 - 3.25 ก./ซม.3 ลึกลงในเปลือกโลกอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเพิ่มขึ้น 30 องศาทุกๆ กิโลเมตรในเปลือกส่วนบน แต่ ความต่างของอุณหธรณีจะลดลงในเปลือกส่วนล่างและขึ้นถึง 400 องศาเซลเซียสที่ขอบเขตต่อกับแมนเทิล ความหนาของเปลือกโลก มีความแตกต่างกันตั้งแต่บริเวณรอยเลื่อนแยกตัวซึ่งเป็นบริเวณที่บางที่สุด แผ่นเปลือกสมุทรที่มีความหนาไม่เกิน 10 กิโลเมตร ไปจนถึงความหนาหลายสิบกิโลเมตรในแผ่นเปลือกทวีป แผ่นเปลือกโลกกับส่วนของแมนเทิลชั้นบนที่แกร่ง และเย็นนั้น รวมกันเรียกว่าธรณีภาค และธรณีภาคนี้เองที่แผ่นธรณีภาคประกอบกันขึ้น
  • 37. องค์ประกอบและโครงสร้าง #แผ่นเปลือกสมุทร (หรือเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร) มีความหนา 7-10 กิโลเมตร ความหนาแน่นประมาณ 2.9 ก./ซม.3 ประกอบด้วยหินเมฟิก เช่นบะซอลต์ ตอนกลางเป็นไดอะเบส ตอนล่างประกอบด้วยแกบโบร ตามธรณีเคมีเรียกว่าไซมา มีซิลิกา เหล็ก และแมกนีเซียม เป็น องค์ประกอบสาคัญ แผ่นเปลือกมหาสมุทรโดยมากแล้วมีอายุเพียง 100 ล้านปี อาจถึง 200 ล้านปีในบางบริเวณ พื้นทะเลเมดิ เตอเรเนียนตะวันออกซึ่งเป็นส่วนเหลือของมหาสมุทรโบราณเททีสคาดว่ามีอายุเก่าแก่ถึง 270 ล้านปี #แผ่นเปลือกทวีป (หรือเปลือกโลกภาคพื้นทวีป) มีปริมาตรราว 7 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร หรือร้อยละ 70 ของเปลือกโลกทั้งหมด และคิดเป็นร้อยละ 40 ของ พื้นผิวโลก มีความหนา 25-70 กิโลเมตร ความหนาแน่นประมาณ 2.7 ก./ซม.3 ต่ากว่าเปลือกมหาสมุทร ประกอบด้วยหิน อัคนี หินแปร และหินตะกอนหลายชนิดรวมถึงบริเวณบ่าทวีป ตามธรณีเคมีเรียกว่าไซอัล มีซิลิกา และอลูมินา เป็นองค์ประกอบ สาคัญในลักษณะหินเฟลสิก และแกรนิตชนิดต่างๆ เชื่อว่าที่ความลึกระดับหนึ่ง ไซอัลจะมีคุณสมบัติทางกายภาพใกล้เคียงกับไซ มา โดยแยกจากกันด้วยความไม่ต่อเนื่องคอนราด แผ่นเปลือกทวีปโดยเฉลี่ยแล้วมีอายุประมาณ 2.0 พันล้านปี ส่วนที่เก่าที่สุดมีอายุประมาณ 3.7 - 4.28 พันล้านปี
  • 38. องค์ประกอบและโครงสร้าง #แมนเทิล แมนเทิลหรือเนื้อโลก เป็นเปลือกหินซิลิเกตความหนาประมาณ 2,900 กิโลเมตร (1,800 ไมล์) ประกอบขึ้นเป็น ราวร้อยละ 84 ของปริมาตรโลก มีอุณหภูมิตั้งแต่ 500-900 องศาเซลเซียส (932-1,652 องศาฟาเรนไฮต์) ณ ขอบเขตบนต่อ กับเปลือกโลกไปจนถึง 4,000 องศาเซลเซียส (7,230 องศาฟาเรนไฮต์) ที่ขอบเขตต่อกับแก่น ตั้งแต่ขอบเขตต่อกับเปลือกโลกลง มาจนถึงระดับ 410 กิโลเมตรใต้พื้นผิวเรียกว่าแมนเทิลชั้นบน ส่วนบนสุดที่เป็นหินแกร่งหนาประมาณ 50-120 กิโลเมตร (31-75 ไมล์) ประกอบเป็นชั้นล่างสุดของธรณีภาค ส่วนล่างลงมาที่หนาประมาณ 200 กิโลเมตร (120 ไมล์) เป็นหินส่วนที่ความหนืดต่า กว่าเรียกว่าฐานธรณีภาค ความดันที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ตามระดับความลึกนั้นทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผลึกของหิน องค์ประกอบเกิดเป็นชั้นเปลี่ยนผ่านในระดับความลึก 410-660 กิโลเมตร (250-410 ไมล์) ใต้พื้นผิวซึ่งแยกแมนเทิลชั้นล่างและ ชั้นบนออกจากกัน ที่ระดับความลึก 660-2,891 กิโลเมตร (410-1,796 ไมล์) คือแมนเทิลชั้นล่าง มีความดันที่ขอบเขตต่อกับ แก่นประมาณ 136 พันล้านปาสกาล (1.4 ล้านบรรยากาศ)[ขอบเขตแก่นต่อกับแมนเทิลมีความหนาผันแปรเฉลี่ยประมาณ 200 กิโลเมตร (120 ไมล์) แยกจากแก่นเหลวด้านล่างด้วยความไม่ต่อเนื่องกูเทนเบิร์ก
  • 39. องค์ประกอบและโครงสร้าง #แก่นโลก แก่นโลกหรือแกนโลกประกอบด้วยแก่นชั้นนอกสภาพเหลวที่มีความหนืดต่าอย่างยิ่งวางอยู่เหนือแก่นชั้นในสภาพ แข็ง โดยแยกออกจากกันด้วยความไม่ต่อเนื่องเลห์มานน์-บุลเลน คาดว่าทั้งสองชั้นมีองค์ประกอบคล้ายกันคือเป็นโลหะผสม เหล็ก-นิกเกิลโดยมีส่วนใหญ่ราวร้อยละ 80 เป็นเหล็ก และมีธาตุเบาอย่างอื่นๆ อีกเล็กน้อย ชั้นนอกมีความหนาประมาณ 2,270 กิโลเมตร ในขณะที่ชั้นในมีความหนาประมาณ 1,220 กิโลเมตร (ราวร้อยละ 70 ของรัศมีของดวงจันทร์) [แก่น ชั้นนอกเป็นบริเวณที่กาเนิดสนามแม่เหล็กโดยมีความเข้มสนามแม่เหล็กภายในเฉลี่ยกว่าห้าสิบเท่าของพื้นผิวโลกการสูญเสีย ความร้อนไปอย่างต่อเนื่องของบริเวณภายในของโลกทาให้แก่นชั้นในโตขึ้นในอัตราประมาณ 1 มิลลิเมตรต่อปีและแก่นชั้นในนั้น น่าจะหมุนโดยมีอัตราเร็วเชิงมุมสูงกว่าบริเวณอื่นของดาวเล็กน้อยคือล้าหน้าไปประมาณ 0.1-0.5 องศาต่อปี เชื่อกันว่าแก่นโลกมี ทองคา ทองคาขาว และโลหะมีค่าชนิดอื่นๆ อยู่มากมาย หากสกัดออกมาเทบนพื้นโลก โลหะเหล่านั้นจะสามารถปกคลุมพื้นที่ ทั้งหมดของโลกได้ด้วยระดับความหนาราว 0.45 เมตร
  • 41. ดาวอังคาร ดาวอังคาร เป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 4 ชื่อละตินของดาวอังคาร (Mars) มาจากชื่อเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน หรือตรงกับเทพเจ้า Ares ของกรีก เป็นเพราะดาวอังคารปรากฏเป็นสี แดงคล้ายสีโลหิต บางครั้งจึงเรียกว่า "ดาวแดง" หรือ "Red Planet" (ความจริงมีสีค่อนไปทางสีส้มอมชมพูมากกว่า) ชื่อจีน เป็น 火星 ความหมายว่าดาวไฟเพาระสีส้มของมัน สัญลักษณ์แทนดาวอังคาร คือ ♂ เป็นโล่และหอกของ เทพเจ้ามาร์ส ดาวอังคารมีดาวบริวารหรือดวงจันทร์ขนาดเล็ก 2 ดวง คือ โฟบอสและไดมอส โดยทั้งสองดวงมีรูปร่างบิด เบี้ยวไม่เป็นรูปกลม ซึ่งคาดกันว่าอาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่หลงเข้ามาแล้วดาวอังคารคว้าดึงเอาไว้ให้อยู่ในเขตแรงดึงดูดของ ตน ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หิน (terrestrial planet) มีชั้นบรรยากาศเบาบาง พื้นผิวมีลักษณะคล้ายคลึงทั้ง หลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย และบริเวณน้าแข็งขั้วโลก บนโลก ดาวอังคารมีภูเขาที่สูงที่สุด ในระบบสุริยะคือ ภูเขาไฟโอลิมปัส (Olympus Mons) และหุบเขาลึกที่มีชื่อว่า มาริเนริส (Marineris) ที่ใหญ่ที่สุดใน ระบบสุริยะ ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2008 มีบทความ 3 บทความตีพิมพ์ลงในนิตรสาร "Nature" เกี่ยวกับหลักฐาน ของหลุมอุกกาบาตที่ใหญ่มหึมา โดยมีความกว้าง 8,500 กิโลเมตร ยาว 10,600 นอกจากนั้นสิ่งที่ดาวอังคารมีและ คล้ายคลึงกับโลกก็คือคาบการหมุนรอบตัวเองและฤดูกาล
  • 42. ลักษณะทางกายภา โดยภาพรวมนั้นดาวอังคารมีขนาดที่เล็กกว่าโลก คือมีความยาวของเส้นผ่าน ศูนย์กลางเท่ากับรัศมีของโลกและมีน้าหนักเทียบได้กับ 11% ของโลก ปริมาตร 15% ของ โลก พื้นที่ผิวทั้งหมดของดาวอังคารยังน้อยว่าพื้นที่ที่เป็นพื้นดินของโลกเสียอีก ส่วนสีของ ดาวที่เห็นเป็นสีส้ม-แดงนั้น เกิดจาก ไอร์ออน(II) ออกไซด์ ซึ่งเป็นที่รู้กันคือ แร่เหล็ก หรือสนิมเหล็กนั่นเอง
  • 45. Great Red Spot ของดาวพฤหัส
  • 46. มีสิ่งหนึ่งที่ดูชั่วร้ายอย่างไม่น่าเชื่อมันคืออันดับที่ 5 ในการจัดอันดับ 7 สิ่งมหัศจรรย์ของเรา พายุ ที่บ้าคลั่งที่มีขนาดใหญ่เกือบสามเท่าของในโลก เจ้าแม่แห่งพายุที่นี่มีขนาดใหญ่กว่าโลกประมาณสามเท่า เราไม่รู้แน่ชัดว่าเรดสป็อตก่อตัวขึ้นมา ยังไง มันอยู่ของมันอย่างนั้นมาตั้งแต่เราเห็นครั้งแรก ตั้งแต่ปี 1650 มันอยู่ตรงนั้นมาตั้งแต่ตอนที่เราไม่ได้สนใจ มันซะอีก The Great Red Spot คือพายุโบราณที่ หมันอย่างบ้าคลั่งมานานนับศตวรรษ พายุเมฆขนาดใหญ่ ที่หมุนวงอยู่สูงเหนือดวงดาว 5 ไมล์ ทาให้พายุอื่นๆบน โลกของเราดูด้อยไปเลย
  • 47. พายุหมุนที่ The Great Red Spot ของดาวพฤหัสวัดได้ความเร็วลม 400 ไมล์ต่อชั่วโมง ซึ่งมันเร็วกว่า ทอร์นาโดบางลูกที่รุนแรงที่สุดใน โลก และทอร์นาโดบนโลกจะหมุน นานประมาณ 10-20 นาที หรือ มากที่สุดก็ 2-3 ชั่วโมง ในขณะที่ The Great Red Spot ของ ดาวพฤหัส นั้นหมุนอยู่อย่างน้อย 400 ปี และมีขนาดใหญ่กว่าโลกถึงสามเท่า นี่เป็นพายุที่คุณไม่อยากจะโดนดูดเข้าไปอย่างแน่นอน
  • 48. พายุฤดูร้อนส่วนใหญ่ในซีกโลกใต้จะหมุนตามเข็มนาฬิกาเหมือนที่ โลกของเราหมุน แต่บนดาวพฤหัส The Great Red Spot หมุนไม่ เหมือนกับโลก The Great Red Spot จะอยู่ทางซีกโลกใต้ของดาว พฤหัส มันหมุนทวนเข็มนาฬิกา เป็นเพราะว่าความกดอากาศสูงซึ่งตรง ข้ามกับพายุความกดอากาศต่าบนโลกของเรา ต้นกาเนิดของพายุที่มีอายุ ยืนยาวทาให้นักดาราศาสตร์งุนงง แต่ตอนนี้วิทยาศาสตร์อาจกาลังไข ความลับของพายออก กล้องเทเลสโคปอวกาศฮับเบิล ถ่ายภาพพายุ 3 ลูกที่มีขนาดเล็กกว่าบน ดาวพฤหัส ที่เรียกว่า White Spot ภายในเวลา 3 ปี White Spot ทั้งสาม จะมารวมตัวกัน และจะกลายเป็นพายุที่มี ขนาดเท่าลูกโลก ในเวลาแค่เพียงสัปดาห์ เดียวพายุก็เปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีแดง ตอนนี้เราเรียกว่า Red Junior แต่ทาไม มันถึงได้กลายเป็นสีแดง และนั่นก็ยังเป็นปริศนาอยู่
  • 49. นักดาราศาสตร์สงสัยว่าการรวมตัวกันในลักษณะนี้ พายุในตอนเริ่มต้นอาจเป็นสีขาวมา ก่อน แต่เมื่อความเร็วเพิ่มขึ้น มันเริ่มดึงวัสดุที่อยู่ลึกลงไปในพื้นผิวของดาวพฤหัสเข้ามา การ รวมตัวกันอาจทาให้เกิดก๊าซซัลเฟอร์ เราไม่เข้าใจว่าทาไม The Great Red Spot จึงมีสี แดงเหมือนกับอิฐ อาจเป็นเพราะสารเคมีที่มารวมกันแล้วทาปฏิกิริยากับแสงอาทิตย์แล้วเกิดเป็น สีแบบนี้ขึ้นมาก็ได้
  • 52. จากรูปที่เห็น นี่คือบรรยากาศชั้นโทรโปสเฟียร์ของดาวเสาร์ ด้านบนคือภาพวงแหวนใน มุมมองที่ชัดเจน จะมองเห็นโครงสร้างเป็นชั้นๆ ที่สวยงามอย่างน่าอัศจรรย์ที่สุดในระบบสุริยะ แสงสะท้อนสีขาวจากวงแหวนแท้จริงแล้วคือก้อนน้าแข็งจานวนนับไม่ถ้วนที่โคจรอยู่สูงจากศีรษะ ขึ้นไป 75,000 กิโลเมตร แสงสะท้อนนี้ถูกเรียกว่า Ringshine หากเปรียบเทียบแล้ว Ringshine มีความสว่างกว่าพระจันทร์เสี้ยวบนโลกถึง 6 ดวง
  • 53. หากก้มมองต่าลงมา สิ่งที่เห็นคือดวงอาทิตย์ขึ้นที่ขอบฟ้าของดาวเสาร์ แสงอาทิตย์หักเห และสะท้อนกับหมอกและผลึกของแอมโมเนีย เกิดเป็นปรากฏการณ์ซันด๊อก (ปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ ซ้อนกัน 3 ดวง) แม้สถานที่ตรงนี้จะมีปรากฏการณ์ที่ สวยงามแต่ก็แฝงไปด้วยอันตราย หากคุณไปอยู่ตรงนั้น คุณจะได้รับอันตรายจากสายลมแอมโมเนียที่พัดกรรโชก ด้วยความเร็ว 1,500 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่เพียงเท่า นั้น ต่าลงไปใต้เท้าของคุณประมาณ 30,000 กิโลเมตร คือมหาสมุทรของโลหะเหลวไฮโดรเจน ความดันของมหาสมุทรนี้สูงมากจนไม่มีสิ่งใดจะทนต่อความดันนี้ ได้ จึงเป็นเหตุให้ไม่มีพาหนะใดที่ร่อนลงบนดาวดวงนี้ได้อย่างปลอดภัย
  • 55. ดาวยูเรนัส ดาวยูเรนัส (หรือ มฤตยู) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวง อาทิตย์เป็นลาดับที่ 7 ในระบบสุริยะ จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่ เป็นอันดับที่ 3. ตั้งชื่อตามเทพเจ้า Ouranos ของกรีก สัญลักษณ์แทนดาว ยูเรนัส คือ หรือ (ส่วนใหญ่ใช้ในดาราศาสตร์) ชื่อไทยของยูเรนัส คือ ดาวมฤตยู ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส คือ เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล(Sir William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781) ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) นักดาราศาสตร์จากหอดูดาวไคเปอร์แอร์บอร์น (James L. Elliot, Edward W. Dunham, and Douglas J. Mink using the Kuiper Airborne Observatory) ค้นพบว่า ดาว ยูเรนัสมี วงแหวนจางๆโดยรอบ และเราก็ได้เห็นรายละเอียด ของดาวยูเรนัส พร้อมทั้งวงแหวน และดวงจันทร์บริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เมื่อ ยานวอยเอเจอร์ 2(Voyager 2) เคลื่อนผ่าน
  • 56. ดาวยูเรนัส ดวงจันทร์บริวาร ที่ค้นพบแล้วมีทั้งหมด 27 ดวง 5 ดวงหลัก คือ มิแรนดา (Miranda) แอเรียล (Ariel) อัมเบรี ยล (Umbriel) ทิทาเนีย (Titania) และโอเบ อรอน (Oberon) ดวงจันทร์ทิทาเนียและโอเบอรอนพบโดย เฮอร์เชล 6 ปี หลังจากที่ค้นพบดาวยูเรนัส ส่วนแอเรียลและ อัมเบรียลพบโดยวิลเลียม ลาสเชลล์
  • 58. ดาวเนปจูน (อังกฤษ: Neptune) หรือชื่อไทยว่า ดาวสมุทร หรือ ดาวเกตุ คือดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ลาดับสุดท้ายที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ (ขึ้นอยู่กับการโคจรของดาวพลูโต ซึ่งบางครั้งจะเข้ามาอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่า แต่ปัจจุบันดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์แคระแล้ว) ตัวดาวมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่เป็นอันดับที่ 4 รองจากดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และมีมวลเป็นลาดับที่ 3 รองจากดาวพฤหัสและดาวเสาร์ คาว่า "เนปจูน" นั้นตั้งชื่อตามเทพเจ้า แห่งท้องทะเลของโรมัน (กรีก : โปเซดอน) มีสัญลักษณ์เป็น (♆) ดาวเนปจูนมีสีน้าเงิน เนื่องจากองค์ประกอบหลักของบรรยากาศผิวนอกเป็น ไฮโดรเจน ฮีเลียม และ มีเทน บรรยากาศของดาวเนปจูน มีกระแสลมที่รุนแรง (2500 กม/ชม.) อุณหภูมิพื้นผิวอยู่ที่ประมาณ -220℃ (-364 F) ซึ่งหนาวเย็นมาก เนื่องจาก ดาวเนปจูนอยู่ไกลดวงอาทิตย์มาก แต่แกนกลางภายในของดาวเนปจูน ประกอบด้วยหินและก๊าซร้อน อุณหภูมิประมาณ 7,000℃ (12,632 F) ซึ่งร้อนกว่าพื้นผิวของดวงอาทิตย์เสียอีก ดาวเนปจูน
  • 59. เอกสารอ้างอิง • http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2% E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C • http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phitsanulok/suwicha_p/mercury.html • http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phitsanulok/suwicha_p/mercury.html • www.thaigoodview.com • http://www.prc.ac.th/Astronomy/Venus.htm • http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phitsanulok/suwicha_p/venus.html • http://www.prc.ac.th/Astronomy/Venus.htm