SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายโครงสรางของโลกได
2. นักเรียนมีความรูความเขาใจและ
อธิบายปรากฏการณทางธรณีที่มี
ผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
"ธรณีวิทยา" หรือ "Geology" คือ
การศึกษาวาโลกมีการเปลี่ยนแปลง
อ ย า ง ไ ร เ กิ ด ขึ้ น อ ย า ง ไ ร แ ล ะ
ประกอบดวย หินอะไรบาง กุญแจไข
ประวัติศาสตรของโลกซอนอยูในหิน
ทั้งหลายนั้นเอง
นักธรณีวิทยาจะสํารวจพื้นที่และขุดลงไปยังหินใน
เปลือกโลก อายุกับธรรมชาติของหินและฟอสซิลจะ
ชวยใหนักธรณีวิทยาเขาใจกระบวนการของโลกได นัก
ธรณีวิทยายังชวยในการคนหาแหลงถานหิน น้ํามัน
และแรที่มีประโยชนอื่นๆ นอกจากพวกเขาจะศึกษา
พื้นที่กอนทําการกอสรางขนาดใหญ เชน เขื่อน เพื่อให
แนใจวาพื้นดินสามารถรองรับน้ําหนักมหาศาลได
โครงสรางโลก
โลกเปนดาวเคราะหดวงหนึ่งในระบบสุริยะที่
เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 4,600 ลานปมาแลว นักดารา
ศาสตรสวนใหญสันนิษฐานวาระบบสุริยะเกิดจาก
การหมุนวนของฝุนและแกสในอวกาศ (เนบิวลา)
แรงโนมถวงระหวางมวลทําใหฝุนและแกสใน
อวกาศเกิดการยุบตัวและรวมกันจนในที่สุด
กลายเปนระบบสุริยะซึ่งประกอบดวยดวงอาทิตย
และดาวเคราะหตางๆ
นักวิทยาศาสตรไดพยายามศึกษาหาขอมูลทั้งทางตรง
และทางออม เพื่อใหรูถึงสวนประกอบและลักษณะ
ตางๆ ภายในเปลือกโลก เชน ศึกษาเรื่องอุกาบาตซึ่งเปน
ชิ้นสวนจากอวกาศตกผานชั้นบรรยากาศ ลงมาสูผิวโลก
ศึกษาเรื่องการระเบิดของ ภูเขาไฟที่พนชิ้นสวนและวัตถุ
จากภายในโลกออกมาสูพื้นผิวโลก ซึ่งนักวิทยาศาสตรเชื่อ
วามีสวนประกอบของโลกเมื่อเริ่มเกิด
จากขอมูลและ
ห ลั ก ฐ า น ดั ง ก ล า ว
นักวิทยาศาสตรแบง
โครงสรางของโลกตาม
ลักษณะมวลสารเปน 3
ชั้นใหญๆ คือ
1. ชั้นเปลือกโลก (Crust)
เปนเสมือนผิวดานนอกที่ปกคลุมโลก แบงออกได
เปน 2 บริเวณ คือเปลือกโลกภาคพื้นทวีป หมายถึง สวนที่
เปนแผนดินทั้งหมด ประกอบดวยธาตุซิลิคอนและ
อะลูมิเนียมเปนสวนใหญ
และเปลือกโลกใตมหาสมุทร หมายถึงเปลือกโลก
สวนที่ถูกปกคลุมดวยน้ํา ประกอบดวยธาตุซิลิคอนและ
แมกนีเซียมเปนสวนใหญ มีความลึกตั้งแต 5 กิโลเมตร
ในสวนที่อยูใตมหาสมุทรไปจนถึง 70 กิโลเมตร ในบริเวณ
ที่อยูใตเทือกเขาสูงใหญ
2. ชั้นเนื้อโลก (Mantle)
เปนชั้นที่อยูถัดลงไปจากชั้นเปลือกโลก
สวนมากเปนของแข็ง มีความลึกประมาณ 2,900
กิโลเมตร นับจากฐานลางสุดของเปลือกโลก
จนถึงตอนบนของแกนโลก ชั้นเนื้อโลกสวนบน
เปนหินที่เย็นตัวแลวและบางสวนมีรอยแตก
เนื่องจากความเปราะ
ชั้นเนื้อโลกสวนบน กับชั้นเปลือกโลก รวมตัวกัน
เรียกวา “ธรณีภาค” (Lithosphere) ซึ่งมาจากรากศัพท
ภาษากรีก แปลวาชั้นหิน ชั้นธรณีภาคมีความหนา
ประมาณ 100 กิโลเมตรนับจากผิวโลกลงไปชั้นเนื้อโลกถัด
ลงไปที่ความลึก 100 – 350 กิโลเมตร เรียกวาชั้นฐาน
ธรณีภาค (Asthenosphere)
ชั้นฐานธรณีภาค (Asthenosphere) เปนชั้นของหิน
หลอมละลายรอนหรือ หินหนืดที่เรียกวา แมกมาซึ่งหมุน
วนอยูภายในโลกอยางชาๆ ชั้นเนื้อโลกที่อยูถัดลงไปอีก
เปนชั้นลางสุดอยูที่ความลึกตั้งแต 350–2,900 กิโลเมตร
เปนชั้นที่เปนของแข็งรอนแตแนนและหนืดกวา ตอนบน
มีอุณหภูมิสูง ตั้งแตประมาณ 2,250–4,500 ๐C
3. ชั้นแกนโลก (Core)
อยูในระดับความลึกจากผิวโลกประมาณ 2,900
กิโลเมตร ลงไป แบงออกเปน 2 สวน คือ แกนโลกชั้นนอก
มีความหนาตั้งแต 2,900–5,100 กิโลเมตร เชื่อกันวาชั้นนี้
ประกอบดวยสารเหลวของโลหะเหล็กและนิเกิลเปนสวน
ใหญและมีความรอนสูงมาก ตอเนื่องจากแกนโลกชั้นนอก
ลงไปเปนแกนโลกชั้นนอกแตอยูในสภาพของแข็งเนื่องจาก
มีความดันและอุณหภูมิสูงมาก อาจสูงถึง 6,000 ๐C
แผนดินไหว (Earthquake)
แผนดินไหว หมายถึง การสั่นสะเทือนของพื้นดิน ซึ่งมี
สาเหตุมาจากการเคลื่อนที่อยางฉับพลันของเปลือกโลก
เนื่องจาก พลังงานความรอนภายในโลก ทําใหเกิดแรง
เครียด แรงเครียดที่สะสมอยูในโลก ทําใหเกิดการแตกหัก
ของหิน เมื่อหินแตกออกเปนแนวจะเกิดเปนรอยเลื่อน และ
การเคลื่อนที่อยางฉับพลันของรอยเลื่อนนี้ เปนสาเหตุหลัก
ของการเกิดแผนดินไหว
โดยแผนดินไหวบางลักษณะ
สามารถเกิดจากการกระทําของ
มนุษยได มีทั้งทางตรงและ
ทางออม เชน การระเบิด การทํา
เหมือง สรางอางเก็บน้ําหรือเขื่อน
ใกลรอยเลื่อน การทํางานของ
เครื่องจักรกล การจราจร เปนตน
ตําแหนงของจุดกําเนิด
แผนดินไหว เรียกวา ศูนยเกิด
แผนดินไหว (focus) สวนตําแหนง
บนผิวโลกที่อยูเหนือศูนยเกิด
แผนดินไหวเรียกวา จุดเหนือศูนย
เกิดแผนดินไหว(epicenter)
เครื่องมือสําหรับวัดการสั่นสะเทือนของแผนดินไหว
เรียกวา “ไซสโมกราฟ” (Seismo-graph) เครื่องมือนี้ประกอบ
ดวยเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนและแปลงสัญญาณคลื่นไหว
สะเทือนเปนสัญญาณ ไฟฟา จากนั้นสัญญาณจะถูกขยาย
และแปลงกลับเปนคลื่นไหวสะเทือนอีกครั้งเพื่อบันทึกลง
กระดาษเปนกราฟ
คือบริเวณรอยตอของแผนธรณีภาค แนวรอย
รอยตอที่สําคัญ มี 3 แนวคือ
1. แนวรอยตอลอมรอบมหาสมุทรแปซิฟก จัดวา
เปนบริเวณที่เกิดคอนขางรุนแรงและมากที่สุด (80 %
ของการเกิดแผนดินไหวทั่วโลก)
บริเวณที่เกิดแผนดินไหว
2. แนวรอยตอภูเขาแอลปในยุโรปและหิมาลัยใน
เอเชีย (15 %)
3. แนวรอยตอบริเวณแนวสันกลางมหาสมุทรตางๆ
(5%) เชน เทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
มหาสมุทรอินเดีย และ อารกติก
แหลงกําเนิดแผนดินไหวที่สงผลกระทบประเทศไทย
แหลงกําเนิดแผนดินไหวภายในประเทศ จากแนวรอย
เลื่อนมีพลัง ซึ่งสวนใหญพบบริเวณภาคเหนือ และภาค
ตะวันตกของประเทศ เชน รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อน
เจดียสามองค รอยเลื่อนเชียงแสน แหลงกําเนิดแผนดินไหว
ภายนอกประเทศ จากแนวการมุดตัวของแผนเปลือกโลกใน
ทะเลอันดามัน รอยเลื่อนในพมา รอยเลื่อนในตอนใตของ
จีน รอยเลื่อนในประเทศลาว และรอยเลื่อนในเวียดนาม
ขนาดและความรุนแรง
ขนาดของแผนดินไหวกําหนดจากปริมาณพลังงานที่
ปลดปลอยออกมาจากจุดศูนยเกิดแผนดินไหวนักวิทยาศาสตร
ชาวอเมริกันชื่อ ชารลส เอฟ.ริกเตอร (Charles F. Richter)
เปนคนแรกที่คิดคนสูตรการวัดขนาดของแผนดินไหว
โดยทั่วไปขนาดของแผนดินไหวที่นอยกวา 2.0 ริกเตอร
จัดเปนแผนดินไหวขนาดเล็กมาก ขนาดของแผนดินไหวตั้งแต
6.3 ริกเตอรขึ้นไป จัดเปนแผนดินไหวรุนแรง
ภูเขาไฟ (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิดเกิดจากการประทุของแมกมา กาซ และ
เถาจากใตเปลือกโลก โดยกอนการระเบิดมักจะมีสัญญาณบอก
เหตุใหรูลวงหนา เชน แผนดินในบริเวณรอบๆ ภูเขาไฟเกิดการ
สั่นสะเทือน มีเสียงคลายฟารองติดตอกันเปนเวลานาน เมื่อ
เกิดการระเบิด แมกมาจะถูกพนออกมาทางปลองภูเขาไฟ หรือ
รอยแตกของภูเขาไฟ เมื่อขึ้นสูผิวโลกแลว เรียกวา ลาวา และ
เมื่อลาวาเย็นตัว จะกลายเปนหินหลายชนิด เชน หินบะซอลต
หินพัมมิช เปนตน
เมื่อเกิดการระเบิดของภูเขาไฟแลวจะทําใหเกิด
ภูมิประเทศใหมขึ้นมาหลายแบบ แตแบบที่รูจักกัน
มากและสวยงามคือ ภูเขาไฟรูปกรวย เกิดจาการทับ
ถมซอนกันของลาวา เชน ภูเขาไฟฟูจิยามา ภูเขาไฟ
เซนต เฮเลนส ในอเมริกา เปนตน
ปจจุบันทั่วโลกยังคงมีภูเขาไฟมีพลังอยูประมาณ
850 ลูก โดยภูเขาไฟที่เพิ่งเกิดเมื่อประมาณ 1-2 ลานป
มาแลว มักเกิดโอกาสปะทุไดอีก ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของ
การเกิดแผนดินไหว
บริเวณที่มีภูเขาไฟของโลก
วงแหวนแหงไฟ (Ring of Fire) เปนบริเวณในมหาสมุทร
แปซิฟกที่เกิดแผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิดไดงาย ไดแก
ประเทศญี่ปุน ฟลิปปนส ดานตะวันตกของประเทศ
เม็กซิโก และดานตะวันตกเฉียงใตของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปน
บริเวณเดียวกันกับแหลงที่เกิดแผนดินไหวบอยๆ
- The End -

More Related Content

What's hot

สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
babyoam
 
ทวีปทั้ง7
ทวีปทั้ง7ทวีปทั้ง7
ทวีปทั้ง7
Karn JantaJak
 
ธรณีกาล605
ธรณีกาล605ธรณีกาล605
ธรณีกาล605
Fluofern
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555
Kroo Mngschool
 
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
0846054411
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
Sumalee Khvamsuk
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
nasanunwittayakom
 

What's hot (20)

Swimology วิชาที่น่าจะต้องเรียน
Swimology วิชาที่น่าจะต้องเรียนSwimology วิชาที่น่าจะต้องเรียน
Swimology วิชาที่น่าจะต้องเรียน
 
แผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาคแผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาค
 
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศโลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ทวีปทั้ง7
ทวีปทั้ง7ทวีปทั้ง7
ทวีปทั้ง7
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ธรณีกาล605
ธรณีกาล605ธรณีกาล605
ธรณีกาล605
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555
 
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32
 
ธรณีกาล605 1
ธรณีกาล605 1ธรณีกาล605 1
ธรณีกาล605 1
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)
โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)
โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 

Similar to นำเสนอโลก

วัฎจักรหิน1Th sc61 e1a
วัฎจักรหิน1Th sc61 e1aวัฎจักรหิน1Th sc61 e1a
วัฎจักรหิน1Th sc61 e1a
Ips UbonFive
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
krunrita
 

Similar to นำเสนอโลก (13)

Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
ธรณีกาล
ธรณีกาลธรณีกาล
ธรณีกาล
 
โลก1
โลก1โลก1
โลก1
 
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทยภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
 
วัฎจักรหิน1Th sc61 e1a
วัฎจักรหิน1Th sc61 e1aวัฎจักรหิน1Th sc61 e1a
วัฎจักรหิน1Th sc61 e1a
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 

นำเสนอโลก