SlideShare a Scribd company logo
1 of 119
Download to read offline
รายงานการวิจัย


            การพัฒนาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
                                         
  เรื่อง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา ระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 2
                                                          ้




                          ศรีรันทรัตน กันทะวัง




      กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่
การศึ ก ษาลํ า ปาง เขต 1 สํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ




                              ธันวาคม 2548
บทคัดยอ

         การวิจยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสรางแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
                  ั
เรื่อง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามาและศึกษาผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอาน
ของนักเรียนทีเ่ รียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา
         กลุมตัวอยางทีใชในการวิจย เปนนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
                           ่        ั               ้
2548 โรงเรียนกิ่วลมวิทยา อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง จํานวน 40 คน ดําเนินการทดลองโดย
ใชแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระภาษาไทยเรื่องการอาน โดยใชเทคนิคการอานพาโนรามาที่ผูวิจย
                                                                                              ั
สรางขึ้น จํานวน 9 แผน 12 คาบ
         ผูวิจัยใหครูผูสอนทําการทดสอบกอนการทดลองและหลังการทดลองโดยใชแบบทดสอบ
วัดความเขาใจในการอานที่ผวิจัยสรางขึ้น จากนั้นเปรียบเทียบคะแนนกอนและหลังการทดลองโดย
                                ู
ใชการทดสอบที(t-test)
         ผลการวิจัย พบวา นักเรียนที่เรียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา มีความเขาใจใน
การอานหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001
                                                       ั
สารบัญ
                 เรื่อง                                           หนา
บทที่ 1 การอาน                                                   1 - 13
        - ความหมายของการอาน
        - จุดมุงหมายของการอาน
        - ประเภทของการอาน
        - ความเขาใจในการอาน
        - ระดับความเขาใจในการอาน
        - ความสนใจในการอานของเด็กวัย 11-14 ป

บทที่ 2       การสอนอาน                                          14 - 19
          -   ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนอาน
          -   การสอนทักษะการอาน
          -   ความสําคัญของการสอนอานวิชาภาษาไทย
          -   ความมุงหมายในการสอนอานภาษาไทย



บทที่ 3 เทคนิคการอานแบบ พาโนรามา                                 20 -27



ภาคผนวก
      1. ก แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการอาน โดยใชเทคนิคการอานพาโนรามา
      2. ข แบบทดสอบกอน –หลังเรียน
บทที่ 1

                                           บทนํา


ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
         การอานมีบทบาทสําคัญตอชีวิตประจําวันเปนอยางมาก และเปนกระบวนการที่สําคัญใน
การแสวงหาความรู การอานเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งสําหรับนักเรียน นักศึกษา โดยเฉพาะนักเรียน
ระดับชวงชั้นที่ 3 เพราะถานักเรียนระดับนี้อานหนังสือเปนก็จะเปนแนวทางในการศึกษาคนควาใน
ระดับที่สูงขึ้นตอไป การอานเปนปจจัยสําคัญในการศึกษาหาความรูดวยตนเอง ในทุกสาขาวิชา
นอกจากการอานจะใหประโยชนโดยตรงแกผูอานแลว ยังสามารถนําความรูความคิดที่ไดจากการ
อานไปพัฒนาสังคมไดอีกดวย ดังที่ ฉวีลักษณ บุญยะกาญจน (2524, หนา 1-3) ไดกลาวถึง
ความสําคัญของการอานไดวาการอานมีความจําเปนตอชีวิตของคนในปจจุบันยิ่งกวาทุกยุคที่ผานมา
เนื่องจากโลกปจจุบันเปลี่ยนแปลงทั้งทางวัตถุ วิทยาการ เทคโนโลยี และความนึกคิด ฯลฯ
จึงจําเปนอยางยิ่งที่มนุษยตองสนใจการอาน และตองอานเพื่อสามารถติดตามความเคลื่อนไหว
ความกาวหนาตาง ๆ ใหทันตอเหตุการณ เพราะการอานเปนประโยชนแกมนุษยดานความรูในการ
ประกอบอาชีพและการพักผอนหยอนใจ ทั้งยังชวยสงเสริมความรูความคิดของคนเราใหเพิ่มพูนขึ้น
         จะเห็นไดวา การอานมีความสําคัญตอชีวิตประจําวันของผูใฝศึกษาหาความรูอยูเสมอ
เพราะการอานชวยพัฒนาสติปญญาของคนเราใหสูงขึ้น ใหรูจักเลือกอานอยางถูกวิธี สามารถแปล
ความ ตีความเรื่องราวตาง ๆ ไดถูกตองมีเหตุผล การอานชวยขยายความคิดใหมีความคิดริเริ่ม
ประสบการณจากการอานสามารถนํามาแกปญหาชีวิตได
         ดังนั้น ครูควรฝกฝนใหนักเรียนมีความสามารถในการอาน คือ สามารถจับใจความสําคัญ
ของเรื่อง สามารถถายทอดความเขาใจ สามารถนําความรูไปใชไดถูกตอง สามารถในการวิเคราะห
ขอเท็จจริงและมีวิจารณญาณในการอาน ดังที่ นฤนาท ดวงมุสิทธิ์ (2532, หนา 2) กลาววา
การสอนอ า นควรเนน ความเขาใจในการอ า นใหมาก แตตามสภาพที่ เ ปน จริงการสอนอา นใน
โรงเรียนทั่วไปไมคอยไดรับความสนใจเทาใดนัก จึงทําใหเด็กขาดประสิทธิภาพทางการอาน
ดวยเหตุนี้ ครูจึงควรฝกฝนการอานใหแกนักเรียนอยางสม่ําเสมอ และควรสงเสริมใหนักเรียน
รักการอานหนังสือ โดยเฉพาะในระดับชวงชั้นที่ 3 ครูควรสอนใหนักเรียนอานจับใจความสําคัญ
ใหไดสามารถตีความที่อานได และเขาใจความคิดเห็นที่ผูเขียนสอดแทรกไว
         จากสภาพการสอนอานในโรงเรียน พบวา นักเรียนจํานวนมากอานหนังสือไมเปน คือ
อานแลวไมสามารถจับใจความสําคัญของเรื่องที่อานได ไมเขาใจเนื้อเรื่อง ไมสามารถวิเคราะห
เรื่องที่อานได การที่นักเรียนมีปญหาการอานเชนนี้ อาจเปนเพราะครูยังสอนอาน โดยใหอานจาก
หนังสือแบบเรียนแลวถามเนื้อเรื่องที่อาน หรือบางครั้งครูนําเรื่องที่ครูเปนฝายพอใจมาใหนักเรียน
อาน จากนั้นครูก็ตั้งคําถามในเรื่องนั้น ๆ ถาใจจําเรื่องไดดี ก็ถือวาผูนั้นอานไดดี
            จากผลการวิจัยของกรมวิชาการ (2534, หนา 43) พบวา สมรรถภาพทางภาษาดานาหนึ่ง
ในรายวิชาภาษาไทย ที่นักเรียนทําคะแนนไดเกณฑต่ํา คือ สมรรถภาพเกี่ยวกับการอานไดแก
ความเขาใจและความเร็ วในการอาน นอกจากนั้น สมาคมการอ านแหงประเทศไทยซึ่ งไดจัด
ประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ เรื่องการรูหนังสือและการพัฒนาเชิงเทคโนโลยี เมื่อวันที่ 20 –
24 สิงหาคม 2530 ( อางใน กัญญา มั่งคั่ง , 2530 ) การสอนอานในปจจุบันยั งมิไดชวยให
นักเรียนมีทักษะการอานระดับสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งการอานเชิงวิเคราะห และเชิงวิเคราะห ซึ่ง
ขอบกพรองนี้มีสาเหตุหลายประการกลาวคือ การสอนอานมีลักษณะการสอนเนื้อหามากกวาทักษะ
การสอนมิ ไ ด กํ า หนดจุ ด มุ ง หมายที่ ชั ด เจน ทั้ ง ยั ง ใช ห นั ง สื อ เป น เครื่ อ งมื อ สอนคํ า ศั พ ท แ ละ
โครงสรางเทานั้น โดยยังเขาใจผิดวาการสอนอานคือการใหนักเรียนอานในใจและตอบคําถาม
เทานั้น และสาเหตุสําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ หนังสือที่ใชอานไมมีองคประกอบของเนื้อเรื่องที่
ทําใหเกิดการพัฒนาทักษะการอาน
            นักการศึกษาและผูเชี่ยวชาญดานการสอนภาษาทั้งในและตางประเทศ ไดพยายามศึกษา
เกี่ ย วกั บ เทคนิ ค การสอนและการจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ช ว ยพั ฒ นาการอ า นของนั ก เรี ย นในระดั บ
มัธยมศึกษาใหดีขึ้น เพราะเล็งเห็นถึงความจําเปนที่นักเรียนควรไดรับการสงเสริม มีผูเสนอแนว
ทางการสอนมากมาย เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการอาน ซึ่งอาจแบงไดเปน 3 ประเภท คือ
ประเภทแรก เปนแนวการสอนโดยใชหลักประยุกตจากภาษาศาสตร (สวนมากนํามาจากการสอน
ภาษาตางประเทศ) ประเภทที่สอง เปนแนวการจัดกิจกรรมการสอนอานดวยกระบวนการของการ
สื่อสาร ซึ่งเนนเกี่ยวกับความสนใจและความตองการในการอานของนักเรียน และประเภทที่สาม
เปนแนวการสอนอานแบบตรง โดยใชหลักทฤษฎีการรับขาวสาร
            จากแนวการสอนโดยใชหลักประยุกตภาษาศาสตร ไดมีผูคิดคนกิจกรรมสงเสริมการอาน
ในหลายรูปแบบ รูปแบบหนึ่งที่นาสนใจคือ การสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา
ซึ่ง ปเตอร เอดเวิรดส ( Edwards, 1973,pp. 132-135) ไดคิดคนโดยพัฒนามาจากเทคนิคการอาน
แบบ SQ3R OK4R PQRST และ OARWET ( อางใน กัญญา มั่งคั่ง , 2530 , หนา 25 )
ความมุงหวังของการพัฒนาเทคนิคดังกลาวขึ้นก็เพื่อนํามาใชในการสอนอานแกนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษา เพื่อใหนักเรียนสามารถอานขอความจํานวนมาก เก็บขอความตาง ๆ อยางมีระเบียบ
และนํ า ไปใช อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพโดยเอดเวิ ร ด ส ไ ด ท ดลองใช กั บ นั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา ใน
มหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย ( University of British Columbia ) ปรากฏวา นักเรียนมีทักษะ
การอานดีขึ้นตามจุดมุงหมาย นอกจากนั้น กัญญา มั่งคั่ง (2530, หนา 76 ) ไดนําเทคนิคการอาน
แบบพานรามามาทดลองใชสอนภาษาอังกฤษกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปรากฏวา นักเรียนมี
ความเขาใจในการอานสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังนั้น จึงทําใหผูวิจัยสนใจที่จะพัฒนา
แผนการจั ดการเรีย นรูกลุ มสาระการเรียนรูภาษาไทย ในระดั บชั้น มั ธยมศึ กษาปที่ 2 เพื่ อเปน
แนวทางในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยตอไป


วัตถุประสงคของการวิจัย
        1. เพื่อสรางแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่อง การอานโดยใช
           เทคนิคการอานแบบพาโนรามา
        2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอานของนักเรียนที่เรียนโดยใชเทคนิคการอาน
           แบบพาโนรามา


ขอบเขตของการวิจัย
        1. ประชากรกลุมตัวอยาง
                 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนกิ่วลมวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง
                 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548
        2. เนื้อหาที่ใชในการทดลอง
                 ผูวิจัยไดคัดเลือกเนื้อหาที่เหมาะสมกับระดับชั้นและความสนใจของผูเรียน
                 ประกอบไปดวยเรื่องทั้งที่เปนรอยแกวและรอยกรอง ดังนี้
                            1) ความดีไมรูจักสิ้นสุด
                            2) นิทานชาดกมหานิลวานร
                            3) บทรอยกรอง
                            4) ขอคิดเรื่องการบวช
        3. ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง
                 ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 กับกลุมตัวอยาง จํานวน
                 12 คาบ คาบละ 50 นาที เปนเวลา 3 สัปดาห
        4. ตัวแปรที่จะศึกษา
                 1. ตัวแปรอิสระ ไดแก การสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา
                 2. ตัวแปรตาม ไดแก ความเขาใจในการอาน

        5. สมมุติฐานการวิจัย
               ผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หลังจาก
ไดรับการสอนอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
นิยามศัพทเฉพาะ
       1. แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนเรื่องการอานโดยใช
เทคนิคการอานแบบพาโนรามา
       2. เทคนิคการอานแบบพาโนรามา เปนเทคนิคที่ใชฝกฝนทักษะทางการอานโดยใหผูอาน
มองเห็นภาพรวมกวาง ๆ ทั้งหมดกอนแลวจึงแยกแยะไปสูรายละเอียด
       3. ความเข า ใจในการอ า น หมายถึ ง การอ า นที่ ผู อ า นสามารถแปลความ ตี ค วาม
ขยายความ จับใจความสําคัญ สรุปเรื่องราวจากการอานได


ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
         1. ครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีแผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การอานโดยใช
เทคนิคการอานแบบพาโนรามา
         2. ผูเรียนมีทักษะการอานในชีวิตประจําวัน ในการแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเอง
         3. เป น แนวทางในการพั ฒ นาแผนการจั ด การเรี ย นรู กลุ ม สาระการเรี ย นรู ภ าษาไทย
เรื่อง การอานสําหรับครูผูสอนในระดับชั้นอื่น ๆ ตอไป
บทที่ 2

                                เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

1. เอกสารที่เกี่ยวกับการอาน
       - ความหมายของการอาน
       - จุดมุงหมายของการอาน
       - ประเภทของการอาน
       - ความเขาใจในการอาน
       - ระดับความเขาใจในการอาน
       - ความสนใจในการอานของเด็กวัย 11-14 ป

2. เอกสารที่เกี่ยวของกับการสอนอาน
       - ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนอาน
       - การสอนทักษะการอาน
       - ความสําคัญของการสอนอานวิชาภาษาไทย
       - ความมุงหมายในการสอนอานภาษาไทย

3. เอกสารที่เกี่ยวของกับการสอนอาน

4. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับความเขาใจในการอาน

      1. เอกสารที่เกี่ยวของกับการอาน
        ความหมายของการอาน
        การอานเปนสิ่งจําเปนและสําคัญอยางยิ่งสําหรับมนุษย โดยเฉพาะปจจุบันวิทยาการ ตาง ๆ
เจริญกาวหนาไปอยางรวดเร็ว นักการศึกษาจึงไดคนควาเรื่องการอานในรูปแบบตาง ๆ กันอยาง
กวางขวาง และไดใหความหมายของการอานไวดังนี้
        เปลื้อง ณ นคร ( 2511 , หนา 12 ) ไดอธิบายความหมายของการอานวา คือการถายทอด
ความคิดจากหนังสือของผูประพันธไปยังผูอาน ดวยผูประพันธตองการใหผูอานไดเห็นความคิด
ความรู สึ ก ของตน ถ า ผู อ า นสามารถตี ค วามหมายของหนั ง สื อ ได ลามารถรู จุ ด มุ ง หมายของ
ผูประพันธไดก็จะเชื่อไดวา “อานหนังสือเปน”
          ฉวีลักษณ บุญยะกาญจน ( 2524 , หนา 2-3 )                 กลาววา การอาน หมายถึง การ
แปลความหมายของตั ว อั ก ษรออกมาเป น ถ อ ยคํ า แล ว นํ า ความคิ ด นั้ น ไปใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน
ตัวอักษรเปนเพียงเครื่องหมายแทนของจริงอีกทอดหนึ่ง เพราะฉะนั้นหัวใจของการอานจึงอยูที่
การเขาใจความหมายของคําที่ปรากฏอยูในขอความนั้น
          จุฑามาศ สุวรรณโครธ ( 2519 , หนา 27-36 ) กลาววา การอานคือการรับรูขอความใน
สิ่งพิมพ หรือในสิ่งที่เขียนขึ้น หรือการับรูเครื่องหมายสื่อสารซึ่งมีความหมายและสามารถสราง
ความเขาใจแกผูอานโดยอาศัยประสบการณที่ผานมาของผูอานประกอบดวย
          ประทิน มหาขันธ ( 2523 , หนา 17 ) กลาววา การอาน หมายถึง กระบวนการในการ
แปลความหมายของตั ว อั ก ษรหรื อ สั ญ ลั ก ษณ ที่ มี ก ารจดบั น ทึ ก ไว กระบวนการอ า นเป น
กระบวนการที่ซับซอน เมื่อเด็กเปลงเสียงตัวอักษรหรือสัญลักษณออกมาเปนคําพูด ถาหากไม
เขาใจคําพูดนั้นจัดวาไมใชการอานที่สมบูรณ แตเปนเพียงสวนหนึ่งของการอานเทานั้น ลักษณะ
ของการอานที่แทจริงไดแกการทําความเขาใจความหมายของเรื่องที่อาน ความหมายของเรื่องที่
กลาวนี้มิใชเกิดจากตัวอักษร หรือสัญลักษณเทานั้น หากขึ้นอยูกับการกระตุนใหเกิดความคิด
รวบยอดหรือจินตนาการของผูอานเปนสําคัญ การเขาใจความหมายของตัวอักษรหรือสัญลักษณที่
อานขึ้น อยู กับความหมายที่ ผูอานตองทําความเขาใจโดยอาศั ยประสบการณเ ดิมของผูอ านเปน
พื้นฐาน การอานจึงเปนกระบวนการที่ประกอบดวยการแปลความ การตอบสนอง การกําหนด
ความมุงหมาย และการลําดับภาพของตัวอักษรหรือสัญลักษณที่ผูอานเห็นมากระตุนการทํางานของ
สมองซึ่งขึ้นอยูกับคุณธรรม และปริมาณของประสบการณที่ผูอานมีอยูกอนแลว
          จะเห็นวาการอานที่แทจริงไมใชการออกเสียงไดถูกตองตามอักขรวิธีเทานั้น แตตองเขาใจ
ในสิ่งที่อานหรือที่เรียกวา อานเปนดวย ดังที่มีผูกลาวไวดังนี้
          ดุษฎี ลีหละเมียร ( 2521 , หนา 67-76 ) กลาววา การอานหนังสือไดกับการอานหนังสือ
เปนนั้นตางกันมาก ผูอานหนังสือเปนยอมสามารถอานและเขาใจเรื่องราวไดอยางรวดเร็วสามารถ
จับใจความไดอยางถูกตองครบถวน ทั้งยังแยกไดวาใจความใดเปนใจความสําคัญและใจความใด
เปนใจความรอง นอกจากนี้ควรจะเขาใจและเขาถึงความตั้งใจ อารมณ และทัศนคติของผูเขียน
ซึ่งถายทอดออกมาเปนตัวหนังสือไดอยางลึกซึ้ง และในขั้นสุดทายก็อาจชี้ใหเห็นกลวิธีการเขียน
และประเมินคุณคาของการเขียนหรือหนังสือเลมหนึ่ง ๆ ไดอยางนาสนใจ
          จุฑามาศ สุวรรณโครธ ( 2519 , หนา 27-28 ) กลาววา การอานเปน หรือผูที่อานเปนตอง
มีคุณสมบัติดังนี้
          1. รูจักเลือกอานไดตรงตามตองการ
          2. จับใจความได
3. รูจักบันทึกการอาน
        4. มีวิจารญาณในการอาน
        5. มีนิสัยรักการอาน

         ทํานอง สิงคาลวนิช ( 2515 , หนา 17 ) กลาววา การอานเปน มิใชหมายความแตเพียงวา
อานออกเขียนไดเทานั้น ไดมีนักการศึกษาบางทานกลาววา ความหมายที่แทจริงของการอาน
หนังสือออก ตองประกอบดวย R3 ตัว คือ Reading Writing และ Arithmetic นอกจากนั้น
ยังตองมีความสามารถในการติดตามขอความในหนังสือที่อานแลวนําไปพิจารณาเพื่อกอใหเกิดการ
พัฒนาตนเองทุก ๆ ดานอีกดวย
         ชุติ มา สัจจานัน ท ( 2526, หนา 28 ) กลาววา การอานมิไ ดเ ปนเพียงทอดสายตาผาน
ตัวอักษรเทานั้น แตตองเขาใจความหมายของขอความ นัยของคําแตละคํา เขาใจวัตถุประสงคของ
ผูเขียน สามารถสังเกตอคติ หรือการโฆษณาชวนเชื่อ ตลอดจนแสดงทัศนคติของตนเองและใหขอ
วินิจฉัยได
         บุญเสริม ฤทธาภิรมย ( 2519 , หนา 32-34 ) กลาววา การอานเปนทักษะที่ตองอาศัย
ทักษะยอยหลายประการเกี่ยวโยงกัน ทักษะตาง ๆ จะเปนไปไดอยางคลองตัวก็ตองอาศัยกลไก
ระบบประสาท ตลอดจนความสามารถทางสมองที่มีความพรอมและสามารถทําหนาที่ไดอยาง
ฉับพลันตอเนื่องกันเปนจังหวะ ตลอดเวลา เชน การกวาดสายตาดูตัวอักษร สมองก็ตองสั่งงาน
จะตองสื่อความหมาย แปลความหมาย และสรางสังกัป ( Concept ) วา ที่อานไดแลวนั้นเขาใจวา
อะไรสมองหรือสติปญญาตองนําไปใชในความจํา ซึ่งผูเปนนักอานที่ดีก็จะมีการนําความสัมพันธ
การวิเคราะห สังเคราะห และประเมินคามาใชแปลความ ซึ่งเปนความสามารถทางสมองที่สูงขึ้น
ไปอีกชั้นหนึ่ง การอานหนังสือเปนทักษะที่ตองปลูกฝงมาตั้งแตเด็ก และผูที่เปนนักอานที่ดีตอง
ไดรับการฝกฝนอยางถูกวิธี เขาใจหลักการอานที่ถูกตอง ตลอดจนรูจักเลือกเฟนหนังสือที่มีคุณคา
มาอานดวย

       วลี พันธมณี ( 2529 , หนา 24 ) ไดกลาวถึงการอานวาขึ้นอยูกับความมุงหมายในการอาน
แตละครั้งซึ่งอาจแบงได 3 ประการคือ
       1. อานเพื่อความเพลิดเพลิน เปนการอานเพื่อฆาเวลาเพื่อความพอใจ เพื่อแสวงหาความรู
และการศึกษาคนควา
       2. อานเพื่อการศึกษา ซึ่งตองอาศัยทักษะความสามารถในการอานสูง เพื่อแสวงหาความรู
และการศึกษาคนควา
       3. อานเพื่อขาวสารหรือเพื่อความจําเปนในการดํารงชีวิต
       มิลเลอร ( Miller , 1972 . p.15 ) ไดแบงจุดมุงหมายของการอานไว 6 ประการคือ
1.   อานเพื่อจับใจความคราว ๆ
        2.   อานเพื่อจับใจความสําคัญ
        3.   อานเพื่อสํารวจรายละเอียดและจับใจความสําคัญทั่วไป
        4.   อานเพื่อความเขาใจอยางถองแท
        5.   อานเพื่อใชวิจารณญาณติดตามขอความที่อาน
        6.   อานเพื่อการวิเคราะหขอความหรือแนวความคิดในเรื่องที่อาน

          สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย ( 2527 , หนา 125 , อางใน Murcica and Meiutash n.d. ) สรุป
การอานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาไวดังนี้
          1. การอานในระดับมัธยมศึกษา เปนการมุงใหผูอานไดรูจักคํากวางขวางมากขึ้นและ
สามารถนําคําเหลานี้มาใชในการพูด การเขียน ตลอดจนการเรียนวิชาอื่น ๆ ไดอยางถูกตอง
          2. การอ า นนอกจากผู อา นจะเข า ใจเรื่อ งราวที่ ต นอ า นแลว ยังต องสามารถเรี ย งลําดั บ
เหตุการณใหผูอื่นเขาใจไดดวย
          3. การอานมุงใหผูอานนําไปใชในชีวิตประจําวัน ดังนั้นจึงตองรูจักพิจารณาตัดสินแยก
ความจริงและขอคิดเห็นได และการตัดสินขอคิดเห็นของผูเขียนไปสูผูอาน ซึ่งการติดตอสื่อสารนี้
จะเกิดขึ้นเมื่อผูอานสามารถหาความหมายจากสิ่งที่อานได
          สายใจ เกตุชาญวิทย ( 2527 , หนา 36 , อางใน Dechaut , 1964 , pp 1-2 ) กลาววา
การอานคือกระบวนการติดตอสื่อสาร การอานเปนกระบวนการที่เคลื่อนไหวอยูเสมอ เปนการ
ติดตอจากผูเขียนไปสูผูอาน ซึ่งการติดตอสื่อสารนี้จะเกิดขึ้นเมื่อผูอานสามารถหาความหมายจากสิง     ่
ที่ อานได
          บุช และเฮิบเนอร ( Bush and Hueber , 1970 , p 4 ) ใหความหมายของการอานวาเปน
กระบวนการคิด การอานเพียงออกเสียงตามตัวอักษรไดนั้นยังไมถือวาเปนการอานที่แทจริง แต
เปนเพียงทั กษะหนึ่งของการอานเทานั้น หัวใจของการอานคื อตองเขาใจความหมายของสิ่งที่
ตนอาน
          แอรโรสมิส ( Arrowsmith , 1972 , p.84 ) ใหความหมายการอานวา การอาน คือ
ความคิด ความรูสึกหรือสภาพทางจิตใจที่เกิดขึ้นดวยความเขาใจขอความที่เขียนหรือตีพิมพขึ้นมา
ความเขาใจในการอานที่สมบูรณจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อความรูสึกของผูอานตรงกับความรูสึกของ
ผูเขียนกอนจะเขียนออกมาเปนถอยคํา
          แฮรรีส และสมิธ ( Harris and Smith, 1976 , p.14 ) ใหความหมายวา การอานเปน
กระบวนการคิดที่ใชความรู ประสบการณเดิม ทัศนคติของผูอาน เพื่อคนหาความหมายความคิด
ขาวสารที่ตองการจากสิ่งที่ตนอาน
จากความหมายของการอ า นที่ ก ล า วมาแล ว จึ ง สรุ ป ได ว า การอ า นเป น กระบวนการ
ติ ด ต อ สื่ อ สารความคิ ด จากผู เ ขี ย นไปยั ง ผู อ า น ซึ่ ง ผู อ า นจะต อ งแปลความหมายตั ว อั ก ษรหรื อ
สัญลักษณโดยใชประสบการณเดิมใหไดความหมายชัดเจนสมบูรณ และสิ่งสําคัญที่สุดในการอาน
คือ ผูอานจะตองเขาใจความหมายของสิ่งที่อานใหใกลเคียงกับความเขาใจของผูเขียน


จุดมุงหมายของการอาน
        การอานหนังสือของแตละคนมีจุดมุงหมายที่แตกตางกัน ไดมีผูกลาวถึงจุดมุงหมายของ
การอานไวดังนี้
        ดุษฎี ลีหละเมียร (2521, หนา 18) กลาววา ความมุงหมายของการอานแบงไดเปนลําดับคือ
        ขั้นแรก อานเพื่อรู และความเพลิดเพลิน
        ขั้นที่สอง อานเพื่อการศึกษาและทําความเขาใจ ซึ่งมีผลเนื่องถึงขั้นสาม
        ขั้นที่สาม อานเพื่อทองจําการทดสอบ
        ขั้นที่สี่ อานเพื่อใหเขาถึงรสของหนังสือ ซึ่งประกอบดวยภาพ เสียง จินตนาการ
                    อารมณ ทัศนคติ จุดมุงหมาย และศิลปะการประพันธ
        ขั้นที่หา อานเพื่อแสดงความคิดเห็นที่มีตอหนังสือ ตอเรื่องราวนั้น ๆ
        สนิท ตั้งทวี ( 2526 , หนา 1-2 ) กลาวถึง จุดมุงหมายของการอานไววา
        1. เพื่อศึกษาหาความรูเรื่องราวตาง ๆ โดยละเอียด
        2. เพื่อศึกษาหาความรูในเรื่องราวตาง ๆ โดยยอ
        3. เพื่อสนองความอยากรูอยากเห็น หรือความสงสัย
        4. เพื่อตองการทราบขาวสารขอเท็จจริง
        5. เพื่อการศึกษาคนควา
        6. เพื่อตองการเปนที่ยอมรับในวงสังคม และสามารถปรับตัว วางตัวเขากับคนอื่นได
        7. เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน
        สนิท ตั้งทวี ( 2526 , หนา 2-3 ) กลาววาการอานมีความสําคัญตอชีวิตมนุษย ดังนั้น เรา
ตองอานเพื่อจุดมุงหมายดังนี้
        1. เพื่อชวยแกปญหาตาง ๆ ใหตนเอง
        2. เพื่อสงเสริมบุคลิกภาพ
        3. เพื่อความรู
        ชุติมา สัจจานันท (2525 , หนา 8-15 ) กลาววา วัตถุประสงคอันเปนพื้นฐานการอาน
ไดแก
        1. เพื่อฆาเวลา
2. เพื่อปฏิบัติตามหนาที่
         3. เพื่อใหทันตอเหตุการณ
         4. เพื่อสนองความพอใจสวนตัว
         5. เพื่อนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน
         6. เพื่อขยายความรอบรูในแขนงชีวิต
         7. เพื่อสงเสริมความสนใจในทางวิชาการ
         8. เพื่อความเปนพลเมืองดี
         9. เพื่อปรับปรุง หรือพัฒนาตน
         อัมพร สุขเกษม ( 2520 , หนา 5-6 ) ไดสรุปจุดมุงหมายในการอานวา
         1. อานเพื่อบันเทิงใจหรือพักผอน
         2. อานเพื่อหาความรู ผูอานตองมีพื้นฐานการอานพอสมควร ตองรูจักจับใจความสําคัญ
ของเรื่อง บันทึกขอความสําคัญหรือใชการทองจําดวย
         3. อานเพื่อเสริมสรางความคิด ผูอานตองมีความรูในเรื่องที่อานเปนอยางดี อานแลว
สามารถไตรตรองเพื่อประเมินความคิดนั้น เพื่อใหเกิดปญญาและแนวทางใหม ๆ
         ดังนั้นจึงสรุปไดวา จุดมุงหมายที่สําคัญของการอานคือ เพื่อเพิ่มพูนความรู ความคิด และ
ความเพลิดเพลิน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความมุงหมาย ความสนใจของผูอาน เพื่อจะนําไปใชใหเปน
ประโยชนในชีวิตประจําวัน


 ประเภทของการอาน
          วาสนา เกตุนาค ( 2521, หนา 1-2 ) ในการสอนอานเราแยกประเภทของการอานได 2
ประเภทคือ
          1. การอานออกเสียงคือ การอานตามตัวหนังสือใหผูอื่นฟง ผูอานจะตองอานไดชัดเจน
ถูกตอง ตามหลักภาษาและความนิยม
          2. การอานในใจ คือ การทําความเขาใจกับตัวอักษร เปนการอานเพื่อตัวผูอานเองซึ่งจะ
ไดรับประโยชนมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความสามารถของผูอานแตละคน
          วิจิตรา แสงพลสิทธิ์ และคนอื่น ๆ (2522, หนา 135 ) ไดแบงประเภทของการอานไว 2
ชนิดคือ
          1. การอานในใจ เปนการอานเพื่อขวนขวายหาความรูและความเพลิดเพลินใหแกตนเอง
การอานประเภทนี้มุงฝกอัตราเร็วและจับใจความสําคัญ ซึ่งเปนการอานนับวันแตจะมีความสําคัญ
เพิ่มขึ้น การอานประเภทนี้ไมเพียงแตอานไดออกเทานั้น แตจะตองมีความสามารถในการสรุป
ความแปลความ ขยายความ วิเคราะหคํา วิเคราะหความหรือเนื้อหา และวิจารณเรื่องได
2. การอานออกเสียงไดแก
                  2.1 อานออกเสียงแบบรอยแกวเพื่อสื่อสารใหผูอื่นรูเรื่องและเขาใจ
                  2.2 อานออกเสียงรอยกรองประเภทตาง ๆ เพื่อความไพเราะใหผูฟงเกิดความ
ซาบซึ้ง
         พวา พันธุเมธา ( 25185 , หนา 38 ) ไดแบงประเภทของการอานออกเปน 3 ชนิดตาม
ลักษณะของการอานดังนี้
         1. การอานออกเสียง ใชเมื่อตองการใหตัวเราหรือผูอื่นไดยินขอความที่อาน หรือใชเมื่อ
ตองการฝกออกเสียงใหถูกตองชัดเจน หรือเพื่อซาบซึ้งในขอความที่อาน อัตราเร็วทั่วไปในการ
อานชนิดนี้ 120-150 คําตอนาที
         2. การอานออกเสียงเงียบ เปนการอานปากขมุบขมิบไปตามจังหวะอานเหมือนออกเสียง
การอานแบบนี้ไมมีประโยชนอยางใดแกผูอาน เพราะไมมีเจตนาตองการใหผูอื่นไดยินหรือฝกออก
เสียงแตอยางใด ทําใหเปลืองเวลาในการอาน ซึ่งอัตราความเร็วจะเทากับการอานออกเสียงเทานั้น
         3. การอานในใจ การอานแบบนี้อวัยวะที่ออกเสียงตาง ๆ ไมเคลื่อนไหวเลย ใชเฉพาะ
สายตากวาดไปบนหนังสือ ตารับภาพแลวสงสายตา ไปยังปราสาทสมองใหรับเพื่อจดจําตีความ
ตาง ๆ เหมาะสําหรับในการอานคนควา ซึ่งการอานแบบนี้มุงใหอานไดเร็ว และมีความพรอมทั้ง
สามารถเก็บความที่อานไดมาก


ความเขาใจในการอาน
       ชวาล แพรัตกุล ( 2520 , หนา 134 ) ไดใหความหมายของความเขาใจวาเปนความสามารถ
ในการผสมแล ว ขยายความี รู ค วามจํ า ให ไ ด ไ ปไกลจากเดิ ม อย า งสมเหตุ ส มผล ซึ่ ง จะต อ งมี
คุณสมบัติ 4 ประการ คือ
       1. รูความหมาย และรายละเอียดยอย ๆ ของเรื่องนั้นมากอนแลว
       2. รูความเกี่ยวของความสัมพันธระหวางขั้นความรูยอย ๆ เหลานั้น
       3. สามารถอธิบายสิ่งเหลานั้นไดดวยภาษาของตนเอง
       4. เมื่อพบสิ่งอื่นใดที่สภาพทํานองเดียวกับที่เคยเรียนรูมาแลวก็สามารถอธิบายได


          การเขาใจสามารถแสดงออกไดดังนี้
       1. การแปลความ ( Translation ) คือสามารถแปลความหมายของสิ่งตาง ๆ ไดโดยแปล
ตามลักษณะและนัยของเรื่องราวซึ่งเปนความหมายที่ถูกตอง และใชไดดีสําหรับเรื่องราวนั้น ๆ
โดยเฉพาะ
2. การตีความ ( Tntepretation ) คือสามารถจับความสัมพันธระหวางชิ้นสวนยอย ๆ ของ
เรื่องนั้น จนสามารถนํามากลาวแบบนัยหนึ่งได
          3. การขยายความ ( Extrapolation ) คือสามารถขยายความหมาย และนัยของเรื่องนั้นให
กวางไกลไปจาสภาพขอเท็จจริงเดิมได
          สมบูรณ ซิตพงค ( 2511ล หนา 27 ) กลาววา ความเขาใจ ( Comprehension ) เปน
ความสามารถทางดานสมองในการคิดเกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ ในดานการแปลความ ตีความ และขยาย
ความในเรื่องราวเหตุตาง ๆ ในชีวิต
          เบอรตัน ( Burton , 1956 , p 321 ) ไดใหความเห็นเกี่ยวกับเรื่องความเขาใจในการอานวา
ตองอาศัยความสามารถหลายดานประกอบกันคือ
          1. การเขาใจความหมายของศัพท
          2. การเรียงลําดับความได
          3. การจับใจความสําคัญได
          4. การสังเกตความสัมพันธของขอความที่อาน
          5. การแยกแยะประเภทได สรุปความได และคาดการลวงหนาได
          บอนด และทิงเคอร ( Bond and Tinker , 1957 , p.235 ) กลาววา ความสามารถในการ
อานขึ้นอยูกับทักษะพื้นฐานดังตอไปนี้
          1. การเขาใจความหมายของคํา ( Word meanings ) การเขาใจความหมายของคําเปน
ทักษะพื้นฐานของการอาน ถาหากนักเรียนรูความหมายของคําไมเพียงพอ นักเรียนจะไมสามารถ
เขาใจประโยค ( Sentence ) อนุเฉท ( Paragraph ) ทําใหไมสามารถที่จะพูดหรืออานได
          2. การเขาใจความหมายของกลุมคํา ( Thought units ) นักเรียนจะเขาใจความหมายของ
ประโยคไดก็ตอเมื่อนักเรียนรูจักอานเปนกลุมคํา การอานทีละคําทําใหไมเขาใจในเรื่องที่อาน
          3. การเขาใจประโยค ( Sentence comprehension ) นอกจากนักเรียนจะตองเขาใจ
ความหมายเปนรายคําและเปนรายกลุมคําแลว นักเรียนจะตองมองเห็นความสัมพันธระหวางคํา
และความสัมพันธระหวางกลุมคําในประโยคดวย นักเรียนที่ไมสามารถมองเห็นความสัมพันธ
ระหวางคําและระหวางกลุมคําในประโยคไมเขาใจเรื่องที่อาน
          4. การเขาใจในอนุเฉท ( Paragraph comprehesion ) นักเรียนจะเขาใจอนุเฉทไดก็ตอเมื่อ
นักเรียนมองเห็นความสัมพันธระหวางประโยคกับอนุเฉท การเขาใจความสัมพันธระหวางประโยค
คอนขางจะยาก แตถานักเรียนขาดความสามารถทางดานนี้แลว นักเรียนจะไมสามารถเขาใจเรื่อง
ที่อาน
          5. การเขาใจความสัมพันธระหวางอนุเฉท ( Comprehension of larger units ) นักเรียนจะ
สามารถเขาใจเนื้อเรื่องที่ยาวขึ้นได ก็ตอเมื่อนักเรียนสามารถจัดลําดับความคิดของเรื่องที่อานได
และจะมองเห็นความสัมพันธระหวางอนุเฉทดวย
ทักษะพื้นฐานทั้งหมดที่กลาวมาแลวนี้จะมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน กลาวคือ ผูอานจะ
เข า ใจเนื้ อ เรื่ อ งที่ อ า นได ก็ ต อ เมื่ อ ผู อ า นเข า ใจความหมายของคํ า รู จั ก อ า นเป น กลุ ม คํ า ซึ่ ง เป น
องคประกอบสําคัญของการเขาใจประโยค การเขาใจความสัมพันธระหวางประโยคจะทําใหเขาใจ
อนุเฉท และการเขาใจความสัมพันธระหวางอนุเฉพาะทําใหเขาใจเรื่องที่อานทั้งหมด
           เซฟเพิรด (Shepherd, 1973, p.79) ไดสรุปวา ความเขาใจในการอานเปนความสามารถของ
ผูอานที่ใชความคิด คิดตามขอเขียนที่ผูเขียนไดเขียนไว ผูอานจะตองเขาใจภาษาของผูเขียน และ
ตีความหมายใหตรงกับความตั้งใจของผูเขียน
           คารและคนอื่นๆ (Carr and other, 1983, pp. 1-2) กลาวา จากงานวิจัยเกี่ยวกับการอานนั้น
สรุปไดวา ความเขาใจในการอาน คือ การตีความหมายจากเรื่องที่อานและจากปฏิสัมพันธระหวาง
เรื่องที่อานกับความรูเดิมของผูอาน ซึ่งผูอานใชความรูเดิมนั้นในการตีความหมาย (Interpretation)
และตัดสินความนั้นอยางมีเหตุผล และผูอานใชความรูเดิมนั้นในการตัดสินใจเลือกสิ่งที่ผูอานคิดวา
จําเปนจะตองเขาใจและเลือกความรูเดิมกับความรูใหมใหเหมาะสมกัน
           คารเรลล (Carrell, 1984, p.87) กลาววา ความเขาใจในการอานนั้นคือความเขาใจใน
ประโยคหรือนุเฉท (Paragraph) และโดยเฉพาะอยางยิ่งความเขาใจในรูปแบบการจัดหรือเรียบเรียง
เรื่อง (Rhetorical organization) ซึ่งสอดคลองกับ ความเห็ นของ คิน ติซ และยารโบ (Kintseh
and Abrough, p.828) ที่วาความเขาใจในการอานมี 2 ระดับ คือ ความเขาใจในระดับแคบ
(Microprocesses in comprehension) คือเขาใจคํา วลี และประโยคกับความเขาใจระดับกวาง (Macro
recesses in comprehension) คือความเขาใจเรื่องทั้งหมดที่อาน
           สรุปไดวา ความเขาใจวาการอาน คือ ความสามารถในการเขาใจคํา วลี ประโยคอนุเฉท
ตลอดจนเรื่ อ งราวทั้ ง หมดที่ อ า นมี ค วามสํ า พั น ธ กั น อย า งไร สามารถจั บ ใจความสํ า คั ญ และ
รายละเอียดของเรื่องได เรียงลําดับความและสรุปความได

ระดับความเขาใจในการอาน

         สําหรับการอานนั้นยอมขึ้นอยูกับจุดประสงคของผูอาน ซึ่งแตกตางออกไปเชน อานเพื่อ
ความบันเทิง อานเพื่อแสวงหาความรู เปนตน ดังนั้น ลักษณะการอานของแตละคนจึงไมเหมือนกัน
รวมทั้งยังทําใหระดับความเขาใจเรื่องที่อานตางกันดวย เชน การอานเพื่อแสวงหาความรู อาจตองใช
ความสามารถในการอานขั้นตีความประกอบดวย สวนการอานเพื่อความบันเทิง อาจจะเขาใจตาม
ตัวอักษรก็ใชไดแลว
นักการศึกษาหลายทานไดแบงระดับความเขาใจในการอานที่แตกตางกันออกไปดังนี้
             นพรัตน สรวยสุวรรณ (2527, หนา 23) ไดอางถึงระดับความเขาใจในการอานตามแนวคิด
ของ Burmiste โดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานของ Sanders ซึ่งไดดัดแปลงมาจาก Bloom’s Taxomomy
อีกทีหนึ่ง เขาไดกลาวถึงระดับตาง ๆ ของความเขาใจในการอาน ดังนี้
             1. ระดับความจํา (Memory) เปนระดับของการจําในสิ่งที่ผูเขียนไดกลาวไว ไดแกการจํา
หรือการเขาใจเกี่ยวกับขอเท็จจริง วันที่ คําจํากัดความ ใจความสําคัญ ของเรื่อง และลําดับเหตุการณ
ของเรื่อง
             2. ระดับแปลความ (Translation) เปนการนําขอความหรือสิ่งที่เขาใจไปแปลเปนรูปอื่น เชน
การแปลภาษาหนึ่งเปนอีกภาษาหนึ่ง การถอดความ การนําความสําคัญของเรื่องไปแปลเปนแผนภูมิ
เปนตน
             3. ระดั บ การตี ความ (Interpretation) คื อ การเข า ใจและมองเห็ น ความสั มพั น ธข องสิ่ ง ที่
ผูเขียนไมไดบอกไว เชน หาเหตุเมื่อกําหนดผลมาให ใหคาดการณวาอะไรจะเกิดขึ้นตอไป การจับ
ใจความของเรื่อง โดยที่ผูเขียนไมไดบอกไว
             4. ระดับการประยุกตใช (Application) เปนการเขาใจหรือมองเห็นหลักการแลวนําหลักการ
ไปประยุกตใช จนประสบความสําเร็จ
             5. ระดับการวิเคราะห (Analysis) คือความเขาใจและรูในแงของการตรวจตราสวนยอยที่
ประกอบเขาเปนสวนเต็ม เชน การวิเคราะหโฆษณาชวนเชื่อ การแยกแยะวิเคราะหคําประพันธ
การรูถึงการใหเหตุผลที่ผิด ๆ ของผูเรียน
             6. ระดับการสังเคราะห (Synthesis) เปนการนําความคิดเห็นที่ไดจากการอานมาผสมผสาน
กันแลวจัดเรียบเรียงใหม
             7. การประเมินผล (Evaluation) เปนการวางเกณฑแลวตัดสินสิ่งที่อาน โดยอาศัยหลักเกณฑ
ตั้ ง ไว เ ป น บรรทั ด ฐาน เช น เรื่ อ งราวที่ อ า นอะไรบ า งที่ เ ป น จริ ง (Facts) และอะไรบ า งที่ เ ป น
จินตนาการ (Fantasy) อะไรบางที่เปนความคิดเห็น (Opinion) และอะไรบางที่เปนความเชื่อของ
เรื่องที่อาน เปนตน

        เพ็ญศรี รังสิยากุล (2528, หนา 123) ไดแบงความเขาใจออกเปน 3 ระดับ คือ
        1. ความเขาใจตามตัวอักษร หมายถึง การที่ผูอานมีความเขาใจตามตัวอักษรที่ปรากฏอยูบน
แตละวรรคเปนความเขาใจถึงคําพูดที่ผูเขียนใชนั่นเอง
        2. ความเขาใจที่เกิดขึ้นจากการตีความหมาย หมายถึง การที่ผูอานมีความเขาใจวาผูเขียน
หมายถึงสิ่งใด
        3. ความเขาใจที่นําไปสูการสรุป เปนความเขาใจที่เกิดขึ้นภายหลังการอานเรื่องราวทั้งหมด
แลวนําสิ่งตางๆ ที่ไดจากการอานมารวบรวมทําเปนสรุป
นอกจากนี้ สมุทร เซ็นเชาวนิจ (2526, หนา 88) ไดแบงประเภทของความเขาใจออกเปน 2
ประเภท คือ
      1. ความเขาใจแบบทันที (Receptive Comprehension) เปนความเขาใจที่ตองอาศัยความรู
ความหมายของศัพท สํานวนในประโยคตาง ๆ และตองอานอยางมีสมาธิ
      2. ความเขาใจแบบไตรตรอง (Reflective Comprehension)

          สําหรับนักการศึกษาตางประเทศนั้น ก็มีหลายทานที่ไดแสดงทรรศนะเรื่องระดับความ
เขาใจในการอาน อยางเชน สมิธ และวารเร็ตต (Smith and Barrett Citing Harris and Sipay, 1979,
p.317) กลาววา ระดับความเขาใจในการอานมี 4 ระดับ
          1. Literal Comprehension
              เปนความเขาใจในระดับตน เขาใจตามตัวอักษรวาผูเขียน เขียนวาอยางไร สวนใหญ
เปนเรื่องการระลึกถึงรายละเอียด (details) ใจความสําคัญ (Main Ideas) ลําดับเรื่อง (Cause-Effect)
และเขาใจคุณลักษณะของตัวละคร หรือของเรื่อง (Character traite)
          2. Interference
              เขาใจขอบขายที่เกี่ยวโยงเขากับเหตุการณอื่นได
          3. Evaluation
              เขา ใจเนื้อเรื่อ งแล ว ประเมินผลเกี่ย วกับ เรื่องที่อา นไดวาผูเ ขีย นมีเ ป า หมายอย า งไร
อารมณของเรื่องเปนอยางไร เจตคติของผูเขียนเปนอยางไร เปนตน
          4. Appreciation
              เกิดความซาบซึ้ง เปลี่ยนแปลงความเชื่อ ความรูสึกนึกคิด

          สมิธ (Smith, 1972 ; Citing Harris and Sipay, 1979, p.318) แบงระดับความเขาใจออกเปน
4 ระดับคือ
          1. Literal Comprehension
              เขาใจและไดความหมายจากสิ่งที่อานตามตัวอักษร
          2. Interpretation
              เปนการตีความหมายสิ่งที่อาน เชน ความหมายที่แทจริงของผูเขียนคืออะไรกันแน
ผูอานตองใชวิจารณญาณมากขึ้น เปนการเขาใจที่สําคัญวาแบบแรก
          3. Critical Reading
              คือ อานแลวสามารถวิพากษวิจารณได
          4. Creative Reading
              คือ อานแลวเขาใจมากกวาหรือนอกเหนือจากผูที่เขียนเขียนบอกไว
จะเห็นได ว า ระดั บความเขาใจในการอาน เปนองคประกอบสําคั ญที่ผูสอนควรนํ า ไป
พิจารณากับปจจัยอื่น ๆ ดวย สําหรับการวิจัยครั้งนี้ จะศึกษาเฉพาะความสามารถในการอานระดับ
แปลความ ตีความ ขยายความและจับใจความสําคัญ


ความสนใจในการอานของเด็กวัย 11-14 ป

           รั ญ จวน อิ น ทรกํ า แหง (2519, หน า 96-97) ได จํ า แนกความสนใจการอ า นของวั ย รุ น
ตามลําดับ ดังตอไปนี้
           อายุ 11 ป เด็กชายยังคงชอบเรื่องผจญภัยลึกลับ และเพิ่มความสนใจในการคนควาประดิษฐ
และวิทยาศาสตรมากขึ้น หนังสือเกี่ยวกับเครื่องยนตกลไกล หนังสือการตูนยังคงเปนที่ถูกใจอยู แต
บางคนจะลดความสนใจในเรื่องสัตวไปบาง สวนเด็กหญิงชอบเรื่องเกี่ยวกับชีวิตในบานสัตวเลี้ยง
เรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติ และเริ่มชอบเรื่องเกี่ยวกับรักๆ ใครๆ บางทีก็ชอบอานนิยายผจญภัยอยาง
เด็กชายเหมือนกัน
           อายุ 12 ป เด็กชายชอบเรื่องที่มีการจบขมวดปมไวใหคิด ชอบอานหนังสือเกือบทุกชนิด
ผจญภัย ประวัติศาสตร ชีวประวัติ กีฬา ฯลฯ สวนเด็กหญิงสวนมากยังคงชอบเรื่องเกี่ยวกับชีวิตใน
บาน ในโรงเรียน ชอบเรื่องรักๆ ใครๆ มากขึ้น เรื่องผจญภัยยังคงชอบอยู และเริ่มอานนวนิยาย
สํา หรั บผู ใ หญ และบางที ก็ชอบเรื่ องเกี่ย วกับอาชีพ ดว ย ในวัน นี้เ ด็ก หญิ งเริ่มอานเกือบทุก อยาง
เหมือนกัน
           อายุ 13 ป เด็กชายยังคงชอบเรื่องเครื่องยนตกลไก แตใหยุงยากซับซอนมากขึ้น ชอบเรื่อง
เกี่ยวกับงานอดิเรก การเพาะปลูก ความงามของรางกาย เปนตน สวนเด็กหญิงคงอานนวนิยายของ
ผูใหญตอไป ไมชอบหนังสือที่เปนหลักวิชาจนเกินไป เริ่มชอบหนังสือคําประพันธบทละคร เรื่อง
เกี่ยวกับสัตวเลี้ยงก็ยังคงชอบอยู
           อายุ 14 ป เปนวัยเขาสูวัยรุนเต็มที่ ระยะนี้จะอานหนังสือนอยลง แตชอบนิตยสารมากขึ้น
เด็กชายชอบอานชีวประวัติ ประวัติศาสตร การเดินทาง เครื่องยนตกลไกตางๆ ชอบอานหนังสือที่มี
แผนผังแบบแปลน เด็กหญิงชอบเรื่องรักๆ ใครๆ ที่สะเทือนอารมณ มักสนใจเรื่องราวที่แตงเกิน
ความจริงแตงายๆ บางคนอาจสนใจหนังสือเกี่ยวกับอาชีพมากขึ้น และยังสนใจคําประพันธดวย
           วรณี สุนทรเวช (2510, หนา 110-118) ไดสํารวจความสนใจ และความตองการในการอาน
ของนักเรียนอายุ 11-16 ป โดยแบงออกเปน 2 กลุม คือ อายุ 11-13 ป และอายุ 14-16 ป กอนอายุ 11-
13 ป ซึ่งเปนชวงอายุใกลเคียงกับระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 นั้น วรณี สุนทรเวช ไดสรุปไววา ชอบ
อานหนังสือประเภทตางๆ จากมากไปหานอย ตามลําดับดังนี้
           1. หนังสือเกี่ยวกับวิทยาศาสตร นิทาน นิยาย
- วิทยาศาสตร ชอบอานเรื่องสัตว รองลงไป ไดแก การประดิษฐตางๆ อวกาศ การ
สํารวจทะเล มหาสมุทร ดวงดาว เครื่องจักรกล ลมฟาอากาศ พืช ดิน หิน แร และอื่น ๆ
                    - นิทาน นิยาย เด็กหญิงชอบนิทานพื้นเมือง และนิทานมีคติสอนใจ เด็กชายชอบ
นิทานโบราณคดีและนิทานที่แปลมาจากภาษาตางประเทศ
          2. หนังสือพิมพ และหนังสือตางประเทศ
          3. วรรณคดี ชอบอานสังขทอง ขุนชาง-ขุนแผน มากที่สุด รองลงไป ไดแก พระอภัยมณี
รามเกียรติ์ พระรวง เปนตน
          4. สารคดี ชอบเรื่องประวัติบุคคลสําคัญรองลงไป คือ ประวัติศาสตร
          5. นิตยสาร
          6. เรื่องแปล
          จะเห็นไดวาความสนใจในการอานของเด็กแตละวัยนั้น มีความสนใจที่แตกตางกัน การ
เลือกเรื่องที่จะนํามาใหนักเรียนอานเพื่อฝกทักษะในการอาน จึงตองเลือกใหเหมาะสมกับวัย และ
ความสนใจของนักเรียน


เอกสารที่เกี่ยวกับการสอนอาน
         ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอนอาน
         ประเทิน มหาขันธ (2523, หนา 47) กลาวถึงทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเปยเจท
(Piaget) วาเด็กมีพัฒนาการทางสติปญญาเปน 4 ขั้น ดังนี้
         ระยะตั้งแตเกิดถึง 2 ขวบ (sensorimotor period) ระยะนี้เปนระยะที่เด็กจดจําสิ่งของตางๆ
โดยจับตอง
         ระยะตั้งแต 2-4 ขวบ (preoperational thought period) ระยะนี้เปนระยะที่การจําแนกขึ้นอยู
กับดานใดดานหนึ่งเพียงดานเดียวและระยะตั้งแต 4-7 ขวบ (intuitive phase) เปนระยะที่ความคิด
เปนไปโดยการหาความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ
         ระยะตั้งแต 7-11 ขวบ (concrete operation period) ระยะนี้เปนระยะที่การคิดอยางมีเหตุผล
         ระยะตั้งแต 11-15 ขวบ (formal operation period) ระยะนี้เปนระยะที่การคิดอยางนามธรรม
และการสรางความคิดรวบยอดเกิดขึ้นอยางมั่นคง
         จากทฤษฎีของเปยเจท เกี่ยวกับทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเด็ก สามารถนํามาเปน
หลัก ในการสอนอ า นได เ ป น อยา งดี โดยในระยะแรกๆ ของพั ฒ นาการ เด็ ก จะคิ ด ไดโดยอาศั ย
รูปธรรมเปนสําคัญ ดังนั้น ในระยะแรก ๆ ของการสอนอานจึงจําเปนตองใชรูปธรรมเปนอันมาก
เชน ในการทําความเขาใจความหมายของคํา เปนตน ตอมาเมื่อเด็กพัฒนาขึ้น การสอนอานจึงเปนไป
ในลักษณะของนามธรรม การทําความเขาใจความหมายของคํา ใชวิธีอธิบายใหเด็กเขาใจและใหเด็ก
คิดดวยตนเอง เมื่อเด็กรูวิธีทําความเขาใจความหมายของคําในการอานแลว ครูจึงสอนใหเด็กอาน
อยางอนุมาน และการอานเพื่อประเมิน
         กิลฟอรด (Guilford, 1966, p.125) ไดกลาวถึงเรื่องการอาน ที่เกี่ยวของกับเรื่องความรูและ
ระดับสติปญญาวาสติปญญานั้นประกอบดวยระบบปฏิบัติการ ซึ่งประกอบดวยลักษณะตางๆ ไดแก
ปฏิบัติการดานความรูความจํา ความคิดอยางจําแนก คิดอยางรวม และการประเมินกิลฟอรด ไดให
คําแนะนําวาเนื้อหาที่เกี่ยวกับความรูก็ดี ความจําก็ดี ความคิดก็ดี จะตองประกอบกันเปนหนวยหรือ
เปนระบบที่ใหญพอสมควร แนวคิดดังกลาวของกิลฟอรด สามารถนํามาใชเปนหลักในการสอน
อานได เชน การสอนอยางเปนคํา การสอนอานอยางวิพากษวิจารณ การสอนอานอยางอนุมาน
เปนตน
         นอกจากนี้ยังมีนักการศึกษาอีกหลายทานไดศึกษาเกี่ยวกับการสอนอานและไดเขียนเปน
ทฤษฎีไวดังนี้
         ดอรสัน (Dowson, 1959, p.7) กลาวถึงการสอนอานวามีจุดมุงหมาย ดังนี้
         1. เราใหนักเรียนสนใจทั้งเพื่อความบันเทิงและเพื่อเสริมสรางปญญา
         2. เพื่อสรางความพรอมในการอานแตละระดับ
         3. เพื่อใหมีประสบการณในการอานมากขึ้น
         4. เพื่อใหมีรสนิยมดี ทั้งการอานและการฟง
         5. ใหสามารถเลือกหนังสือ และอุปกรณการเรียน ที่เหมาะสมตรงกับจุดมุงหมายในการ
เรียนได
         แฮรีส (Harris, 1983, p.487) มีความเห็นวา วิธีที่จะสงเสริมใหนักเรียนรักการอานควรจะ
ชักจูงและแนะนําใหอานดวยวิธีที่เหมาะสม คือ ขึ้นแรกควรใหนักเรียนอานหนังสือที่งาย สั้น และ
ตรงกับความสนใจ เมื่อนักเรียนเกิดทัศนคติตอการอานแลวนักเรียนจะหาหนังสือตางๆ มาอานเอง
         โอลม (Holm, 1962, p.64) ไดสรุปทฤษฎีที่นํามาอธิบายการอานวา การอานตองอาศัย
องคประกอบตางๆ ดังนี้
         องคประกอบที่ 1 เปนองคประกอบที่มีความสําคัญที่สุดกับความสามารถในการอาน มี
องคประกอบยอย ดังนี้ คือ
                 ความเขาใจในการฟง
                 ความเขาใจความหมายของคําที่มีอยูในเนื้อหาของเรื่อง
                 ความเขาใจความหมายของคําที่เห็นโดยตา
                 ความเขาใจความหมายของศัพทแตละตัว
                 การเขาใจความหมายของคําอุปมาอุปไมย
         องคประกอบที่ 2 ความสามารถในการใชเหตุผล
         องคประกอบที่ 3 ความสามารถในการรับรู
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

More Related Content

What's hot

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้Ploykarn Lamdual
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมNutsara Mukda
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 

What's hot (20)

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 

Similar to การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8kruchaily
 
งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยssusere8181b
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra speerapit
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 

Similar to การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา (20)

7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
 
งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
interactive M 4
interactive M 4interactive M 4
interactive M 4
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 

More from kruthai40

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔kruthai40
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)kruthai40
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยkruthai40
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11kruthai40
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51kruthai40
 
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์kruthai40
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒kruthai40
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗kruthai40
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่kruthai40
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551kruthai40
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายkruthai40
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณkruthai40
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 

More from kruthai40 (20)

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
 
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
History
HistoryHistory
History
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณ
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 

การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา

  • 1. รายงานการวิจัย การพัฒนาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย  เรื่อง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา ระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 2 ้ ศรีรันทรัตน กันทะวัง กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่ การศึ ก ษาลํ า ปาง เขต 1 สํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ธันวาคม 2548
  • 2. บทคัดยอ การวิจยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสรางแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ั เรื่อง การอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามาและศึกษาผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอาน ของนักเรียนทีเ่ รียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา กลุมตัวอยางทีใชในการวิจย เปนนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา ่ ั ้ 2548 โรงเรียนกิ่วลมวิทยา อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง จํานวน 40 คน ดําเนินการทดลองโดย ใชแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระภาษาไทยเรื่องการอาน โดยใชเทคนิคการอานพาโนรามาที่ผูวิจย  ั สรางขึ้น จํานวน 9 แผน 12 คาบ ผูวิจัยใหครูผูสอนทําการทดสอบกอนการทดลองและหลังการทดลองโดยใชแบบทดสอบ วัดความเขาใจในการอานที่ผวิจัยสรางขึ้น จากนั้นเปรียบเทียบคะแนนกอนและหลังการทดลองโดย ู ใชการทดสอบที(t-test) ผลการวิจัย พบวา นักเรียนที่เรียนโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา มีความเขาใจใน การอานหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ั
  • 3. สารบัญ เรื่อง หนา บทที่ 1 การอาน 1 - 13 - ความหมายของการอาน - จุดมุงหมายของการอาน - ประเภทของการอาน - ความเขาใจในการอาน - ระดับความเขาใจในการอาน - ความสนใจในการอานของเด็กวัย 11-14 ป บทที่ 2 การสอนอาน 14 - 19 - ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนอาน - การสอนทักษะการอาน - ความสําคัญของการสอนอานวิชาภาษาไทย - ความมุงหมายในการสอนอานภาษาไทย บทที่ 3 เทคนิคการอานแบบ พาโนรามา 20 -27 ภาคผนวก 1. ก แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการอาน โดยใชเทคนิคการอานพาโนรามา 2. ข แบบทดสอบกอน –หลังเรียน
  • 4. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การอานมีบทบาทสําคัญตอชีวิตประจําวันเปนอยางมาก และเปนกระบวนการที่สําคัญใน การแสวงหาความรู การอานเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งสําหรับนักเรียน นักศึกษา โดยเฉพาะนักเรียน ระดับชวงชั้นที่ 3 เพราะถานักเรียนระดับนี้อานหนังสือเปนก็จะเปนแนวทางในการศึกษาคนควาใน ระดับที่สูงขึ้นตอไป การอานเปนปจจัยสําคัญในการศึกษาหาความรูดวยตนเอง ในทุกสาขาวิชา นอกจากการอานจะใหประโยชนโดยตรงแกผูอานแลว ยังสามารถนําความรูความคิดที่ไดจากการ อานไปพัฒนาสังคมไดอีกดวย ดังที่ ฉวีลักษณ บุญยะกาญจน (2524, หนา 1-3) ไดกลาวถึง ความสําคัญของการอานไดวาการอานมีความจําเปนตอชีวิตของคนในปจจุบันยิ่งกวาทุกยุคที่ผานมา เนื่องจากโลกปจจุบันเปลี่ยนแปลงทั้งทางวัตถุ วิทยาการ เทคโนโลยี และความนึกคิด ฯลฯ จึงจําเปนอยางยิ่งที่มนุษยตองสนใจการอาน และตองอานเพื่อสามารถติดตามความเคลื่อนไหว ความกาวหนาตาง ๆ ใหทันตอเหตุการณ เพราะการอานเปนประโยชนแกมนุษยดานความรูในการ ประกอบอาชีพและการพักผอนหยอนใจ ทั้งยังชวยสงเสริมความรูความคิดของคนเราใหเพิ่มพูนขึ้น จะเห็นไดวา การอานมีความสําคัญตอชีวิตประจําวันของผูใฝศึกษาหาความรูอยูเสมอ เพราะการอานชวยพัฒนาสติปญญาของคนเราใหสูงขึ้น ใหรูจักเลือกอานอยางถูกวิธี สามารถแปล ความ ตีความเรื่องราวตาง ๆ ไดถูกตองมีเหตุผล การอานชวยขยายความคิดใหมีความคิดริเริ่ม ประสบการณจากการอานสามารถนํามาแกปญหาชีวิตได ดังนั้น ครูควรฝกฝนใหนักเรียนมีความสามารถในการอาน คือ สามารถจับใจความสําคัญ ของเรื่อง สามารถถายทอดความเขาใจ สามารถนําความรูไปใชไดถูกตอง สามารถในการวิเคราะห ขอเท็จจริงและมีวิจารณญาณในการอาน ดังที่ นฤนาท ดวงมุสิทธิ์ (2532, หนา 2) กลาววา การสอนอ า นควรเนน ความเขาใจในการอ า นใหมาก แตตามสภาพที่ เ ปน จริงการสอนอา นใน โรงเรียนทั่วไปไมคอยไดรับความสนใจเทาใดนัก จึงทําใหเด็กขาดประสิทธิภาพทางการอาน ดวยเหตุนี้ ครูจึงควรฝกฝนการอานใหแกนักเรียนอยางสม่ําเสมอ และควรสงเสริมใหนักเรียน รักการอานหนังสือ โดยเฉพาะในระดับชวงชั้นที่ 3 ครูควรสอนใหนักเรียนอานจับใจความสําคัญ ใหไดสามารถตีความที่อานได และเขาใจความคิดเห็นที่ผูเขียนสอดแทรกไว จากสภาพการสอนอานในโรงเรียน พบวา นักเรียนจํานวนมากอานหนังสือไมเปน คือ อานแลวไมสามารถจับใจความสําคัญของเรื่องที่อานได ไมเขาใจเนื้อเรื่อง ไมสามารถวิเคราะห
  • 5. เรื่องที่อานได การที่นักเรียนมีปญหาการอานเชนนี้ อาจเปนเพราะครูยังสอนอาน โดยใหอานจาก หนังสือแบบเรียนแลวถามเนื้อเรื่องที่อาน หรือบางครั้งครูนําเรื่องที่ครูเปนฝายพอใจมาใหนักเรียน อาน จากนั้นครูก็ตั้งคําถามในเรื่องนั้น ๆ ถาใจจําเรื่องไดดี ก็ถือวาผูนั้นอานไดดี จากผลการวิจัยของกรมวิชาการ (2534, หนา 43) พบวา สมรรถภาพทางภาษาดานาหนึ่ง ในรายวิชาภาษาไทย ที่นักเรียนทําคะแนนไดเกณฑต่ํา คือ สมรรถภาพเกี่ยวกับการอานไดแก ความเขาใจและความเร็ วในการอาน นอกจากนั้น สมาคมการอ านแหงประเทศไทยซึ่ งไดจัด ประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ เรื่องการรูหนังสือและการพัฒนาเชิงเทคโนโลยี เมื่อวันที่ 20 – 24 สิงหาคม 2530 ( อางใน กัญญา มั่งคั่ง , 2530 ) การสอนอานในปจจุบันยั งมิไดชวยให นักเรียนมีทักษะการอานระดับสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งการอานเชิงวิเคราะห และเชิงวิเคราะห ซึ่ง ขอบกพรองนี้มีสาเหตุหลายประการกลาวคือ การสอนอานมีลักษณะการสอนเนื้อหามากกวาทักษะ การสอนมิ ไ ด กํ า หนดจุ ด มุ ง หมายที่ ชั ด เจน ทั้ ง ยั ง ใช ห นั ง สื อ เป น เครื่ อ งมื อ สอนคํ า ศั พ ท แ ละ โครงสรางเทานั้น โดยยังเขาใจผิดวาการสอนอานคือการใหนักเรียนอานในใจและตอบคําถาม เทานั้น และสาเหตุสําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ หนังสือที่ใชอานไมมีองคประกอบของเนื้อเรื่องที่ ทําใหเกิดการพัฒนาทักษะการอาน นักการศึกษาและผูเชี่ยวชาญดานการสอนภาษาทั้งในและตางประเทศ ไดพยายามศึกษา เกี่ ย วกั บ เทคนิ ค การสอนและการจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ช ว ยพั ฒ นาการอ า นของนั ก เรี ย นในระดั บ มัธยมศึกษาใหดีขึ้น เพราะเล็งเห็นถึงความจําเปนที่นักเรียนควรไดรับการสงเสริม มีผูเสนอแนว ทางการสอนมากมาย เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการอาน ซึ่งอาจแบงไดเปน 3 ประเภท คือ ประเภทแรก เปนแนวการสอนโดยใชหลักประยุกตจากภาษาศาสตร (สวนมากนํามาจากการสอน ภาษาตางประเทศ) ประเภทที่สอง เปนแนวการจัดกิจกรรมการสอนอานดวยกระบวนการของการ สื่อสาร ซึ่งเนนเกี่ยวกับความสนใจและความตองการในการอานของนักเรียน และประเภทที่สาม เปนแนวการสอนอานแบบตรง โดยใชหลักทฤษฎีการรับขาวสาร จากแนวการสอนโดยใชหลักประยุกตภาษาศาสตร ไดมีผูคิดคนกิจกรรมสงเสริมการอาน ในหลายรูปแบบ รูปแบบหนึ่งที่นาสนใจคือ การสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา ซึ่ง ปเตอร เอดเวิรดส ( Edwards, 1973,pp. 132-135) ไดคิดคนโดยพัฒนามาจากเทคนิคการอาน แบบ SQ3R OK4R PQRST และ OARWET ( อางใน กัญญา มั่งคั่ง , 2530 , หนา 25 ) ความมุงหวังของการพัฒนาเทคนิคดังกลาวขึ้นก็เพื่อนํามาใชในการสอนอานแกนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา เพื่อใหนักเรียนสามารถอานขอความจํานวนมาก เก็บขอความตาง ๆ อยางมีระเบียบ และนํ า ไปใช อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพโดยเอดเวิ ร ด ส ไ ด ท ดลองใช กั บ นั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา ใน มหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย ( University of British Columbia ) ปรากฏวา นักเรียนมีทักษะ การอานดีขึ้นตามจุดมุงหมาย นอกจากนั้น กัญญา มั่งคั่ง (2530, หนา 76 ) ไดนําเทคนิคการอาน แบบพานรามามาทดลองใชสอนภาษาอังกฤษกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปรากฏวา นักเรียนมี
  • 6. ความเขาใจในการอานสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังนั้น จึงทําใหผูวิจัยสนใจที่จะพัฒนา แผนการจั ดการเรีย นรูกลุ มสาระการเรียนรูภาษาไทย ในระดั บชั้น มั ธยมศึ กษาปที่ 2 เพื่ อเปน แนวทางในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อสรางแผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่อง การอานโดยใช เทคนิคการอานแบบพาโนรามา 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอานของนักเรียนที่เรียนโดยใชเทคนิคการอาน แบบพาโนรามา ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรกลุมตัวอยาง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนกิ่วลมวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 2. เนื้อหาที่ใชในการทดลอง ผูวิจัยไดคัดเลือกเนื้อหาที่เหมาะสมกับระดับชั้นและความสนใจของผูเรียน ประกอบไปดวยเรื่องทั้งที่เปนรอยแกวและรอยกรอง ดังนี้ 1) ความดีไมรูจักสิ้นสุด 2) นิทานชาดกมหานิลวานร 3) บทรอยกรอง 4) ขอคิดเรื่องการบวช 3. ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 กับกลุมตัวอยาง จํานวน 12 คาบ คาบละ 50 นาที เปนเวลา 3 สัปดาห 4. ตัวแปรที่จะศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ ไดแก การสอนอานโดยใชเทคนิคการอานแบบพาโนรามา 2. ตัวแปรตาม ไดแก ความเขาใจในการอาน 5. สมมุติฐานการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ความเขาใจในการอานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หลังจาก ไดรับการสอนอานโดยใชเทคนิค พาโนรามา สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
  • 7. นิยามศัพทเฉพาะ 1. แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนเรื่องการอานโดยใช เทคนิคการอานแบบพาโนรามา 2. เทคนิคการอานแบบพาโนรามา เปนเทคนิคที่ใชฝกฝนทักษะทางการอานโดยใหผูอาน มองเห็นภาพรวมกวาง ๆ ทั้งหมดกอนแลวจึงแยกแยะไปสูรายละเอียด 3. ความเข า ใจในการอ า น หมายถึ ง การอ า นที่ ผู อ า นสามารถแปลความ ตี ค วาม ขยายความ จับใจความสําคัญ สรุปเรื่องราวจากการอานได ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีแผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การอานโดยใช เทคนิคการอานแบบพาโนรามา 2. ผูเรียนมีทักษะการอานในชีวิตประจําวัน ในการแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเอง 3. เป น แนวทางในการพั ฒ นาแผนการจั ด การเรี ย นรู กลุ ม สาระการเรี ย นรู ภ าษาไทย เรื่อง การอานสําหรับครูผูสอนในระดับชั้นอื่น ๆ ตอไป
  • 8. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 1. เอกสารที่เกี่ยวกับการอาน - ความหมายของการอาน - จุดมุงหมายของการอาน - ประเภทของการอาน - ความเขาใจในการอาน - ระดับความเขาใจในการอาน - ความสนใจในการอานของเด็กวัย 11-14 ป 2. เอกสารที่เกี่ยวของกับการสอนอาน - ทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนอาน - การสอนทักษะการอาน - ความสําคัญของการสอนอานวิชาภาษาไทย - ความมุงหมายในการสอนอานภาษาไทย 3. เอกสารที่เกี่ยวของกับการสอนอาน 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับความเขาใจในการอาน 1. เอกสารที่เกี่ยวของกับการอาน ความหมายของการอาน การอานเปนสิ่งจําเปนและสําคัญอยางยิ่งสําหรับมนุษย โดยเฉพาะปจจุบันวิทยาการ ตาง ๆ เจริญกาวหนาไปอยางรวดเร็ว นักการศึกษาจึงไดคนควาเรื่องการอานในรูปแบบตาง ๆ กันอยาง กวางขวาง และไดใหความหมายของการอานไวดังนี้ เปลื้อง ณ นคร ( 2511 , หนา 12 ) ไดอธิบายความหมายของการอานวา คือการถายทอด ความคิดจากหนังสือของผูประพันธไปยังผูอาน ดวยผูประพันธตองการใหผูอานไดเห็นความคิด
  • 9. ความรู สึ ก ของตน ถ า ผู อ า นสามารถตี ค วามหมายของหนั ง สื อ ได ลามารถรู จุ ด มุ ง หมายของ ผูประพันธไดก็จะเชื่อไดวา “อานหนังสือเปน” ฉวีลักษณ บุญยะกาญจน ( 2524 , หนา 2-3 ) กลาววา การอาน หมายถึง การ แปลความหมายของตั ว อั ก ษรออกมาเป น ถ อ ยคํ า แล ว นํ า ความคิ ด นั้ น ไปใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน ตัวอักษรเปนเพียงเครื่องหมายแทนของจริงอีกทอดหนึ่ง เพราะฉะนั้นหัวใจของการอานจึงอยูที่ การเขาใจความหมายของคําที่ปรากฏอยูในขอความนั้น จุฑามาศ สุวรรณโครธ ( 2519 , หนา 27-36 ) กลาววา การอานคือการรับรูขอความใน สิ่งพิมพ หรือในสิ่งที่เขียนขึ้น หรือการับรูเครื่องหมายสื่อสารซึ่งมีความหมายและสามารถสราง ความเขาใจแกผูอานโดยอาศัยประสบการณที่ผานมาของผูอานประกอบดวย ประทิน มหาขันธ ( 2523 , หนา 17 ) กลาววา การอาน หมายถึง กระบวนการในการ แปลความหมายของตั ว อั ก ษรหรื อ สั ญ ลั ก ษณ ที่ มี ก ารจดบั น ทึ ก ไว กระบวนการอ า นเป น กระบวนการที่ซับซอน เมื่อเด็กเปลงเสียงตัวอักษรหรือสัญลักษณออกมาเปนคําพูด ถาหากไม เขาใจคําพูดนั้นจัดวาไมใชการอานที่สมบูรณ แตเปนเพียงสวนหนึ่งของการอานเทานั้น ลักษณะ ของการอานที่แทจริงไดแกการทําความเขาใจความหมายของเรื่องที่อาน ความหมายของเรื่องที่ กลาวนี้มิใชเกิดจากตัวอักษร หรือสัญลักษณเทานั้น หากขึ้นอยูกับการกระตุนใหเกิดความคิด รวบยอดหรือจินตนาการของผูอานเปนสําคัญ การเขาใจความหมายของตัวอักษรหรือสัญลักษณที่ อานขึ้น อยู กับความหมายที่ ผูอานตองทําความเขาใจโดยอาศั ยประสบการณเ ดิมของผูอ านเปน พื้นฐาน การอานจึงเปนกระบวนการที่ประกอบดวยการแปลความ การตอบสนอง การกําหนด ความมุงหมาย และการลําดับภาพของตัวอักษรหรือสัญลักษณที่ผูอานเห็นมากระตุนการทํางานของ สมองซึ่งขึ้นอยูกับคุณธรรม และปริมาณของประสบการณที่ผูอานมีอยูกอนแลว จะเห็นวาการอานที่แทจริงไมใชการออกเสียงไดถูกตองตามอักขรวิธีเทานั้น แตตองเขาใจ ในสิ่งที่อานหรือที่เรียกวา อานเปนดวย ดังที่มีผูกลาวไวดังนี้ ดุษฎี ลีหละเมียร ( 2521 , หนา 67-76 ) กลาววา การอานหนังสือไดกับการอานหนังสือ เปนนั้นตางกันมาก ผูอานหนังสือเปนยอมสามารถอานและเขาใจเรื่องราวไดอยางรวดเร็วสามารถ จับใจความไดอยางถูกตองครบถวน ทั้งยังแยกไดวาใจความใดเปนใจความสําคัญและใจความใด เปนใจความรอง นอกจากนี้ควรจะเขาใจและเขาถึงความตั้งใจ อารมณ และทัศนคติของผูเขียน ซึ่งถายทอดออกมาเปนตัวหนังสือไดอยางลึกซึ้ง และในขั้นสุดทายก็อาจชี้ใหเห็นกลวิธีการเขียน และประเมินคุณคาของการเขียนหรือหนังสือเลมหนึ่ง ๆ ไดอยางนาสนใจ จุฑามาศ สุวรรณโครธ ( 2519 , หนา 27-28 ) กลาววา การอานเปน หรือผูที่อานเปนตอง มีคุณสมบัติดังนี้ 1. รูจักเลือกอานไดตรงตามตองการ 2. จับใจความได
  • 10. 3. รูจักบันทึกการอาน 4. มีวิจารญาณในการอาน 5. มีนิสัยรักการอาน ทํานอง สิงคาลวนิช ( 2515 , หนา 17 ) กลาววา การอานเปน มิใชหมายความแตเพียงวา อานออกเขียนไดเทานั้น ไดมีนักการศึกษาบางทานกลาววา ความหมายที่แทจริงของการอาน หนังสือออก ตองประกอบดวย R3 ตัว คือ Reading Writing และ Arithmetic นอกจากนั้น ยังตองมีความสามารถในการติดตามขอความในหนังสือที่อานแลวนําไปพิจารณาเพื่อกอใหเกิดการ พัฒนาตนเองทุก ๆ ดานอีกดวย ชุติ มา สัจจานัน ท ( 2526, หนา 28 ) กลาววา การอานมิไ ดเ ปนเพียงทอดสายตาผาน ตัวอักษรเทานั้น แตตองเขาใจความหมายของขอความ นัยของคําแตละคํา เขาใจวัตถุประสงคของ ผูเขียน สามารถสังเกตอคติ หรือการโฆษณาชวนเชื่อ ตลอดจนแสดงทัศนคติของตนเองและใหขอ วินิจฉัยได บุญเสริม ฤทธาภิรมย ( 2519 , หนา 32-34 ) กลาววา การอานเปนทักษะที่ตองอาศัย ทักษะยอยหลายประการเกี่ยวโยงกัน ทักษะตาง ๆ จะเปนไปไดอยางคลองตัวก็ตองอาศัยกลไก ระบบประสาท ตลอดจนความสามารถทางสมองที่มีความพรอมและสามารถทําหนาที่ไดอยาง ฉับพลันตอเนื่องกันเปนจังหวะ ตลอดเวลา เชน การกวาดสายตาดูตัวอักษร สมองก็ตองสั่งงาน จะตองสื่อความหมาย แปลความหมาย และสรางสังกัป ( Concept ) วา ที่อานไดแลวนั้นเขาใจวา อะไรสมองหรือสติปญญาตองนําไปใชในความจํา ซึ่งผูเปนนักอานที่ดีก็จะมีการนําความสัมพันธ การวิเคราะห สังเคราะห และประเมินคามาใชแปลความ ซึ่งเปนความสามารถทางสมองที่สูงขึ้น ไปอีกชั้นหนึ่ง การอานหนังสือเปนทักษะที่ตองปลูกฝงมาตั้งแตเด็ก และผูที่เปนนักอานที่ดีตอง ไดรับการฝกฝนอยางถูกวิธี เขาใจหลักการอานที่ถูกตอง ตลอดจนรูจักเลือกเฟนหนังสือที่มีคุณคา มาอานดวย วลี พันธมณี ( 2529 , หนา 24 ) ไดกลาวถึงการอานวาขึ้นอยูกับความมุงหมายในการอาน แตละครั้งซึ่งอาจแบงได 3 ประการคือ 1. อานเพื่อความเพลิดเพลิน เปนการอานเพื่อฆาเวลาเพื่อความพอใจ เพื่อแสวงหาความรู และการศึกษาคนควา 2. อานเพื่อการศึกษา ซึ่งตองอาศัยทักษะความสามารถในการอานสูง เพื่อแสวงหาความรู และการศึกษาคนควา 3. อานเพื่อขาวสารหรือเพื่อความจําเปนในการดํารงชีวิต มิลเลอร ( Miller , 1972 . p.15 ) ไดแบงจุดมุงหมายของการอานไว 6 ประการคือ
  • 11. 1. อานเพื่อจับใจความคราว ๆ 2. อานเพื่อจับใจความสําคัญ 3. อานเพื่อสํารวจรายละเอียดและจับใจความสําคัญทั่วไป 4. อานเพื่อความเขาใจอยางถองแท 5. อานเพื่อใชวิจารณญาณติดตามขอความที่อาน 6. อานเพื่อการวิเคราะหขอความหรือแนวความคิดในเรื่องที่อาน สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย ( 2527 , หนา 125 , อางใน Murcica and Meiutash n.d. ) สรุป การอานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาไวดังนี้ 1. การอานในระดับมัธยมศึกษา เปนการมุงใหผูอานไดรูจักคํากวางขวางมากขึ้นและ สามารถนําคําเหลานี้มาใชในการพูด การเขียน ตลอดจนการเรียนวิชาอื่น ๆ ไดอยางถูกตอง 2. การอ า นนอกจากผู อา นจะเข า ใจเรื่อ งราวที่ ต นอ า นแลว ยังต องสามารถเรี ย งลําดั บ เหตุการณใหผูอื่นเขาใจไดดวย 3. การอานมุงใหผูอานนําไปใชในชีวิตประจําวัน ดังนั้นจึงตองรูจักพิจารณาตัดสินแยก ความจริงและขอคิดเห็นได และการตัดสินขอคิดเห็นของผูเขียนไปสูผูอาน ซึ่งการติดตอสื่อสารนี้ จะเกิดขึ้นเมื่อผูอานสามารถหาความหมายจากสิ่งที่อานได สายใจ เกตุชาญวิทย ( 2527 , หนา 36 , อางใน Dechaut , 1964 , pp 1-2 ) กลาววา การอานคือกระบวนการติดตอสื่อสาร การอานเปนกระบวนการที่เคลื่อนไหวอยูเสมอ เปนการ ติดตอจากผูเขียนไปสูผูอาน ซึ่งการติดตอสื่อสารนี้จะเกิดขึ้นเมื่อผูอานสามารถหาความหมายจากสิง ่ ที่ อานได บุช และเฮิบเนอร ( Bush and Hueber , 1970 , p 4 ) ใหความหมายของการอานวาเปน กระบวนการคิด การอานเพียงออกเสียงตามตัวอักษรไดนั้นยังไมถือวาเปนการอานที่แทจริง แต เปนเพียงทั กษะหนึ่งของการอานเทานั้น หัวใจของการอานคื อตองเขาใจความหมายของสิ่งที่ ตนอาน แอรโรสมิส ( Arrowsmith , 1972 , p.84 ) ใหความหมายการอานวา การอาน คือ ความคิด ความรูสึกหรือสภาพทางจิตใจที่เกิดขึ้นดวยความเขาใจขอความที่เขียนหรือตีพิมพขึ้นมา ความเขาใจในการอานที่สมบูรณจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อความรูสึกของผูอานตรงกับความรูสึกของ ผูเขียนกอนจะเขียนออกมาเปนถอยคํา แฮรรีส และสมิธ ( Harris and Smith, 1976 , p.14 ) ใหความหมายวา การอานเปน กระบวนการคิดที่ใชความรู ประสบการณเดิม ทัศนคติของผูอาน เพื่อคนหาความหมายความคิด ขาวสารที่ตองการจากสิ่งที่ตนอาน
  • 12. จากความหมายของการอ า นที่ ก ล า วมาแล ว จึ ง สรุ ป ได ว า การอ า นเป น กระบวนการ ติ ด ต อ สื่ อ สารความคิ ด จากผู เ ขี ย นไปยั ง ผู อ า น ซึ่ ง ผู อ า นจะต อ งแปลความหมายตั ว อั ก ษรหรื อ สัญลักษณโดยใชประสบการณเดิมใหไดความหมายชัดเจนสมบูรณ และสิ่งสําคัญที่สุดในการอาน คือ ผูอานจะตองเขาใจความหมายของสิ่งที่อานใหใกลเคียงกับความเขาใจของผูเขียน จุดมุงหมายของการอาน การอานหนังสือของแตละคนมีจุดมุงหมายที่แตกตางกัน ไดมีผูกลาวถึงจุดมุงหมายของ การอานไวดังนี้ ดุษฎี ลีหละเมียร (2521, หนา 18) กลาววา ความมุงหมายของการอานแบงไดเปนลําดับคือ ขั้นแรก อานเพื่อรู และความเพลิดเพลิน ขั้นที่สอง อานเพื่อการศึกษาและทําความเขาใจ ซึ่งมีผลเนื่องถึงขั้นสาม ขั้นที่สาม อานเพื่อทองจําการทดสอบ ขั้นที่สี่ อานเพื่อใหเขาถึงรสของหนังสือ ซึ่งประกอบดวยภาพ เสียง จินตนาการ อารมณ ทัศนคติ จุดมุงหมาย และศิลปะการประพันธ ขั้นที่หา อานเพื่อแสดงความคิดเห็นที่มีตอหนังสือ ตอเรื่องราวนั้น ๆ สนิท ตั้งทวี ( 2526 , หนา 1-2 ) กลาวถึง จุดมุงหมายของการอานไววา 1. เพื่อศึกษาหาความรูเรื่องราวตาง ๆ โดยละเอียด 2. เพื่อศึกษาหาความรูในเรื่องราวตาง ๆ โดยยอ 3. เพื่อสนองความอยากรูอยากเห็น หรือความสงสัย 4. เพื่อตองการทราบขาวสารขอเท็จจริง 5. เพื่อการศึกษาคนควา 6. เพื่อตองการเปนที่ยอมรับในวงสังคม และสามารถปรับตัว วางตัวเขากับคนอื่นได 7. เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน สนิท ตั้งทวี ( 2526 , หนา 2-3 ) กลาววาการอานมีความสําคัญตอชีวิตมนุษย ดังนั้น เรา ตองอานเพื่อจุดมุงหมายดังนี้ 1. เพื่อชวยแกปญหาตาง ๆ ใหตนเอง 2. เพื่อสงเสริมบุคลิกภาพ 3. เพื่อความรู ชุติมา สัจจานันท (2525 , หนา 8-15 ) กลาววา วัตถุประสงคอันเปนพื้นฐานการอาน ไดแก 1. เพื่อฆาเวลา
  • 13. 2. เพื่อปฏิบัติตามหนาที่ 3. เพื่อใหทันตอเหตุการณ 4. เพื่อสนองความพอใจสวนตัว 5. เพื่อนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน 6. เพื่อขยายความรอบรูในแขนงชีวิต 7. เพื่อสงเสริมความสนใจในทางวิชาการ 8. เพื่อความเปนพลเมืองดี 9. เพื่อปรับปรุง หรือพัฒนาตน อัมพร สุขเกษม ( 2520 , หนา 5-6 ) ไดสรุปจุดมุงหมายในการอานวา 1. อานเพื่อบันเทิงใจหรือพักผอน 2. อานเพื่อหาความรู ผูอานตองมีพื้นฐานการอานพอสมควร ตองรูจักจับใจความสําคัญ ของเรื่อง บันทึกขอความสําคัญหรือใชการทองจําดวย 3. อานเพื่อเสริมสรางความคิด ผูอานตองมีความรูในเรื่องที่อานเปนอยางดี อานแลว สามารถไตรตรองเพื่อประเมินความคิดนั้น เพื่อใหเกิดปญญาและแนวทางใหม ๆ ดังนั้นจึงสรุปไดวา จุดมุงหมายที่สําคัญของการอานคือ เพื่อเพิ่มพูนความรู ความคิด และ ความเพลิดเพลิน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความมุงหมาย ความสนใจของผูอาน เพื่อจะนําไปใชใหเปน ประโยชนในชีวิตประจําวัน ประเภทของการอาน วาสนา เกตุนาค ( 2521, หนา 1-2 ) ในการสอนอานเราแยกประเภทของการอานได 2 ประเภทคือ 1. การอานออกเสียงคือ การอานตามตัวหนังสือใหผูอื่นฟง ผูอานจะตองอานไดชัดเจน ถูกตอง ตามหลักภาษาและความนิยม 2. การอานในใจ คือ การทําความเขาใจกับตัวอักษร เปนการอานเพื่อตัวผูอานเองซึ่งจะ ไดรับประโยชนมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความสามารถของผูอานแตละคน วิจิตรา แสงพลสิทธิ์ และคนอื่น ๆ (2522, หนา 135 ) ไดแบงประเภทของการอานไว 2 ชนิดคือ 1. การอานในใจ เปนการอานเพื่อขวนขวายหาความรูและความเพลิดเพลินใหแกตนเอง การอานประเภทนี้มุงฝกอัตราเร็วและจับใจความสําคัญ ซึ่งเปนการอานนับวันแตจะมีความสําคัญ เพิ่มขึ้น การอานประเภทนี้ไมเพียงแตอานไดออกเทานั้น แตจะตองมีความสามารถในการสรุป ความแปลความ ขยายความ วิเคราะหคํา วิเคราะหความหรือเนื้อหา และวิจารณเรื่องได
  • 14. 2. การอานออกเสียงไดแก 2.1 อานออกเสียงแบบรอยแกวเพื่อสื่อสารใหผูอื่นรูเรื่องและเขาใจ 2.2 อานออกเสียงรอยกรองประเภทตาง ๆ เพื่อความไพเราะใหผูฟงเกิดความ ซาบซึ้ง พวา พันธุเมธา ( 25185 , หนา 38 ) ไดแบงประเภทของการอานออกเปน 3 ชนิดตาม ลักษณะของการอานดังนี้ 1. การอานออกเสียง ใชเมื่อตองการใหตัวเราหรือผูอื่นไดยินขอความที่อาน หรือใชเมื่อ ตองการฝกออกเสียงใหถูกตองชัดเจน หรือเพื่อซาบซึ้งในขอความที่อาน อัตราเร็วทั่วไปในการ อานชนิดนี้ 120-150 คําตอนาที 2. การอานออกเสียงเงียบ เปนการอานปากขมุบขมิบไปตามจังหวะอานเหมือนออกเสียง การอานแบบนี้ไมมีประโยชนอยางใดแกผูอาน เพราะไมมีเจตนาตองการใหผูอื่นไดยินหรือฝกออก เสียงแตอยางใด ทําใหเปลืองเวลาในการอาน ซึ่งอัตราความเร็วจะเทากับการอานออกเสียงเทานั้น 3. การอานในใจ การอานแบบนี้อวัยวะที่ออกเสียงตาง ๆ ไมเคลื่อนไหวเลย ใชเฉพาะ สายตากวาดไปบนหนังสือ ตารับภาพแลวสงสายตา ไปยังปราสาทสมองใหรับเพื่อจดจําตีความ ตาง ๆ เหมาะสําหรับในการอานคนควา ซึ่งการอานแบบนี้มุงใหอานไดเร็ว และมีความพรอมทั้ง สามารถเก็บความที่อานไดมาก ความเขาใจในการอาน ชวาล แพรัตกุล ( 2520 , หนา 134 ) ไดใหความหมายของความเขาใจวาเปนความสามารถ ในการผสมแล ว ขยายความี รู ค วามจํ า ให ไ ด ไ ปไกลจากเดิ ม อย า งสมเหตุ ส มผล ซึ่ ง จะต อ งมี คุณสมบัติ 4 ประการ คือ 1. รูความหมาย และรายละเอียดยอย ๆ ของเรื่องนั้นมากอนแลว 2. รูความเกี่ยวของความสัมพันธระหวางขั้นความรูยอย ๆ เหลานั้น 3. สามารถอธิบายสิ่งเหลานั้นไดดวยภาษาของตนเอง 4. เมื่อพบสิ่งอื่นใดที่สภาพทํานองเดียวกับที่เคยเรียนรูมาแลวก็สามารถอธิบายได การเขาใจสามารถแสดงออกไดดังนี้ 1. การแปลความ ( Translation ) คือสามารถแปลความหมายของสิ่งตาง ๆ ไดโดยแปล ตามลักษณะและนัยของเรื่องราวซึ่งเปนความหมายที่ถูกตอง และใชไดดีสําหรับเรื่องราวนั้น ๆ โดยเฉพาะ
  • 15. 2. การตีความ ( Tntepretation ) คือสามารถจับความสัมพันธระหวางชิ้นสวนยอย ๆ ของ เรื่องนั้น จนสามารถนํามากลาวแบบนัยหนึ่งได 3. การขยายความ ( Extrapolation ) คือสามารถขยายความหมาย และนัยของเรื่องนั้นให กวางไกลไปจาสภาพขอเท็จจริงเดิมได สมบูรณ ซิตพงค ( 2511ล หนา 27 ) กลาววา ความเขาใจ ( Comprehension ) เปน ความสามารถทางดานสมองในการคิดเกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ ในดานการแปลความ ตีความ และขยาย ความในเรื่องราวเหตุตาง ๆ ในชีวิต เบอรตัน ( Burton , 1956 , p 321 ) ไดใหความเห็นเกี่ยวกับเรื่องความเขาใจในการอานวา ตองอาศัยความสามารถหลายดานประกอบกันคือ 1. การเขาใจความหมายของศัพท 2. การเรียงลําดับความได 3. การจับใจความสําคัญได 4. การสังเกตความสัมพันธของขอความที่อาน 5. การแยกแยะประเภทได สรุปความได และคาดการลวงหนาได บอนด และทิงเคอร ( Bond and Tinker , 1957 , p.235 ) กลาววา ความสามารถในการ อานขึ้นอยูกับทักษะพื้นฐานดังตอไปนี้ 1. การเขาใจความหมายของคํา ( Word meanings ) การเขาใจความหมายของคําเปน ทักษะพื้นฐานของการอาน ถาหากนักเรียนรูความหมายของคําไมเพียงพอ นักเรียนจะไมสามารถ เขาใจประโยค ( Sentence ) อนุเฉท ( Paragraph ) ทําใหไมสามารถที่จะพูดหรืออานได 2. การเขาใจความหมายของกลุมคํา ( Thought units ) นักเรียนจะเขาใจความหมายของ ประโยคไดก็ตอเมื่อนักเรียนรูจักอานเปนกลุมคํา การอานทีละคําทําใหไมเขาใจในเรื่องที่อาน 3. การเขาใจประโยค ( Sentence comprehension ) นอกจากนักเรียนจะตองเขาใจ ความหมายเปนรายคําและเปนรายกลุมคําแลว นักเรียนจะตองมองเห็นความสัมพันธระหวางคํา และความสัมพันธระหวางกลุมคําในประโยคดวย นักเรียนที่ไมสามารถมองเห็นความสัมพันธ ระหวางคําและระหวางกลุมคําในประโยคไมเขาใจเรื่องที่อาน 4. การเขาใจในอนุเฉท ( Paragraph comprehesion ) นักเรียนจะเขาใจอนุเฉทไดก็ตอเมื่อ นักเรียนมองเห็นความสัมพันธระหวางประโยคกับอนุเฉท การเขาใจความสัมพันธระหวางประโยค คอนขางจะยาก แตถานักเรียนขาดความสามารถทางดานนี้แลว นักเรียนจะไมสามารถเขาใจเรื่อง ที่อาน 5. การเขาใจความสัมพันธระหวางอนุเฉท ( Comprehension of larger units ) นักเรียนจะ สามารถเขาใจเนื้อเรื่องที่ยาวขึ้นได ก็ตอเมื่อนักเรียนสามารถจัดลําดับความคิดของเรื่องที่อานได และจะมองเห็นความสัมพันธระหวางอนุเฉทดวย
  • 16. ทักษะพื้นฐานทั้งหมดที่กลาวมาแลวนี้จะมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน กลาวคือ ผูอานจะ เข า ใจเนื้ อ เรื่ อ งที่ อ า นได ก็ ต อ เมื่ อ ผู อ า นเข า ใจความหมายของคํ า รู จั ก อ า นเป น กลุ ม คํ า ซึ่ ง เป น องคประกอบสําคัญของการเขาใจประโยค การเขาใจความสัมพันธระหวางประโยคจะทําใหเขาใจ อนุเฉท และการเขาใจความสัมพันธระหวางอนุเฉพาะทําใหเขาใจเรื่องที่อานทั้งหมด เซฟเพิรด (Shepherd, 1973, p.79) ไดสรุปวา ความเขาใจในการอานเปนความสามารถของ ผูอานที่ใชความคิด คิดตามขอเขียนที่ผูเขียนไดเขียนไว ผูอานจะตองเขาใจภาษาของผูเขียน และ ตีความหมายใหตรงกับความตั้งใจของผูเขียน คารและคนอื่นๆ (Carr and other, 1983, pp. 1-2) กลาวา จากงานวิจัยเกี่ยวกับการอานนั้น สรุปไดวา ความเขาใจในการอาน คือ การตีความหมายจากเรื่องที่อานและจากปฏิสัมพันธระหวาง เรื่องที่อานกับความรูเดิมของผูอาน ซึ่งผูอานใชความรูเดิมนั้นในการตีความหมาย (Interpretation) และตัดสินความนั้นอยางมีเหตุผล และผูอานใชความรูเดิมนั้นในการตัดสินใจเลือกสิ่งที่ผูอานคิดวา จําเปนจะตองเขาใจและเลือกความรูเดิมกับความรูใหมใหเหมาะสมกัน คารเรลล (Carrell, 1984, p.87) กลาววา ความเขาใจในการอานนั้นคือความเขาใจใน ประโยคหรือนุเฉท (Paragraph) และโดยเฉพาะอยางยิ่งความเขาใจในรูปแบบการจัดหรือเรียบเรียง เรื่อง (Rhetorical organization) ซึ่งสอดคลองกับ ความเห็ นของ คิน ติซ และยารโบ (Kintseh and Abrough, p.828) ที่วาความเขาใจในการอานมี 2 ระดับ คือ ความเขาใจในระดับแคบ (Microprocesses in comprehension) คือเขาใจคํา วลี และประโยคกับความเขาใจระดับกวาง (Macro recesses in comprehension) คือความเขาใจเรื่องทั้งหมดที่อาน สรุปไดวา ความเขาใจวาการอาน คือ ความสามารถในการเขาใจคํา วลี ประโยคอนุเฉท ตลอดจนเรื่ อ งราวทั้ ง หมดที่ อ า นมี ค วามสํ า พั น ธ กั น อย า งไร สามารถจั บ ใจความสํ า คั ญ และ รายละเอียดของเรื่องได เรียงลําดับความและสรุปความได ระดับความเขาใจในการอาน สําหรับการอานนั้นยอมขึ้นอยูกับจุดประสงคของผูอาน ซึ่งแตกตางออกไปเชน อานเพื่อ ความบันเทิง อานเพื่อแสวงหาความรู เปนตน ดังนั้น ลักษณะการอานของแตละคนจึงไมเหมือนกัน รวมทั้งยังทําใหระดับความเขาใจเรื่องที่อานตางกันดวย เชน การอานเพื่อแสวงหาความรู อาจตองใช ความสามารถในการอานขั้นตีความประกอบดวย สวนการอานเพื่อความบันเทิง อาจจะเขาใจตาม ตัวอักษรก็ใชไดแลว
  • 17. นักการศึกษาหลายทานไดแบงระดับความเขาใจในการอานที่แตกตางกันออกไปดังนี้ นพรัตน สรวยสุวรรณ (2527, หนา 23) ไดอางถึงระดับความเขาใจในการอานตามแนวคิด ของ Burmiste โดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานของ Sanders ซึ่งไดดัดแปลงมาจาก Bloom’s Taxomomy อีกทีหนึ่ง เขาไดกลาวถึงระดับตาง ๆ ของความเขาใจในการอาน ดังนี้ 1. ระดับความจํา (Memory) เปนระดับของการจําในสิ่งที่ผูเขียนไดกลาวไว ไดแกการจํา หรือการเขาใจเกี่ยวกับขอเท็จจริง วันที่ คําจํากัดความ ใจความสําคัญ ของเรื่อง และลําดับเหตุการณ ของเรื่อง 2. ระดับแปลความ (Translation) เปนการนําขอความหรือสิ่งที่เขาใจไปแปลเปนรูปอื่น เชน การแปลภาษาหนึ่งเปนอีกภาษาหนึ่ง การถอดความ การนําความสําคัญของเรื่องไปแปลเปนแผนภูมิ เปนตน 3. ระดั บ การตี ความ (Interpretation) คื อ การเข า ใจและมองเห็ น ความสั มพั น ธข องสิ่ ง ที่ ผูเขียนไมไดบอกไว เชน หาเหตุเมื่อกําหนดผลมาให ใหคาดการณวาอะไรจะเกิดขึ้นตอไป การจับ ใจความของเรื่อง โดยที่ผูเขียนไมไดบอกไว 4. ระดับการประยุกตใช (Application) เปนการเขาใจหรือมองเห็นหลักการแลวนําหลักการ ไปประยุกตใช จนประสบความสําเร็จ 5. ระดับการวิเคราะห (Analysis) คือความเขาใจและรูในแงของการตรวจตราสวนยอยที่ ประกอบเขาเปนสวนเต็ม เชน การวิเคราะหโฆษณาชวนเชื่อ การแยกแยะวิเคราะหคําประพันธ การรูถึงการใหเหตุผลที่ผิด ๆ ของผูเรียน 6. ระดับการสังเคราะห (Synthesis) เปนการนําความคิดเห็นที่ไดจากการอานมาผสมผสาน กันแลวจัดเรียบเรียงใหม 7. การประเมินผล (Evaluation) เปนการวางเกณฑแลวตัดสินสิ่งที่อาน โดยอาศัยหลักเกณฑ ตั้ ง ไว เ ป น บรรทั ด ฐาน เช น เรื่ อ งราวที่ อ า นอะไรบ า งที่ เ ป น จริ ง (Facts) และอะไรบ า งที่ เ ป น จินตนาการ (Fantasy) อะไรบางที่เปนความคิดเห็น (Opinion) และอะไรบางที่เปนความเชื่อของ เรื่องที่อาน เปนตน เพ็ญศรี รังสิยากุล (2528, หนา 123) ไดแบงความเขาใจออกเปน 3 ระดับ คือ 1. ความเขาใจตามตัวอักษร หมายถึง การที่ผูอานมีความเขาใจตามตัวอักษรที่ปรากฏอยูบน แตละวรรคเปนความเขาใจถึงคําพูดที่ผูเขียนใชนั่นเอง 2. ความเขาใจที่เกิดขึ้นจากการตีความหมาย หมายถึง การที่ผูอานมีความเขาใจวาผูเขียน หมายถึงสิ่งใด 3. ความเขาใจที่นําไปสูการสรุป เปนความเขาใจที่เกิดขึ้นภายหลังการอานเรื่องราวทั้งหมด แลวนําสิ่งตางๆ ที่ไดจากการอานมารวบรวมทําเปนสรุป
  • 18. นอกจากนี้ สมุทร เซ็นเชาวนิจ (2526, หนา 88) ไดแบงประเภทของความเขาใจออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ความเขาใจแบบทันที (Receptive Comprehension) เปนความเขาใจที่ตองอาศัยความรู ความหมายของศัพท สํานวนในประโยคตาง ๆ และตองอานอยางมีสมาธิ 2. ความเขาใจแบบไตรตรอง (Reflective Comprehension) สําหรับนักการศึกษาตางประเทศนั้น ก็มีหลายทานที่ไดแสดงทรรศนะเรื่องระดับความ เขาใจในการอาน อยางเชน สมิธ และวารเร็ตต (Smith and Barrett Citing Harris and Sipay, 1979, p.317) กลาววา ระดับความเขาใจในการอานมี 4 ระดับ 1. Literal Comprehension เปนความเขาใจในระดับตน เขาใจตามตัวอักษรวาผูเขียน เขียนวาอยางไร สวนใหญ เปนเรื่องการระลึกถึงรายละเอียด (details) ใจความสําคัญ (Main Ideas) ลําดับเรื่อง (Cause-Effect) และเขาใจคุณลักษณะของตัวละคร หรือของเรื่อง (Character traite) 2. Interference เขาใจขอบขายที่เกี่ยวโยงเขากับเหตุการณอื่นได 3. Evaluation เขา ใจเนื้อเรื่อ งแล ว ประเมินผลเกี่ย วกับ เรื่องที่อา นไดวาผูเ ขีย นมีเ ป า หมายอย า งไร อารมณของเรื่องเปนอยางไร เจตคติของผูเขียนเปนอยางไร เปนตน 4. Appreciation เกิดความซาบซึ้ง เปลี่ยนแปลงความเชื่อ ความรูสึกนึกคิด สมิธ (Smith, 1972 ; Citing Harris and Sipay, 1979, p.318) แบงระดับความเขาใจออกเปน 4 ระดับคือ 1. Literal Comprehension เขาใจและไดความหมายจากสิ่งที่อานตามตัวอักษร 2. Interpretation เปนการตีความหมายสิ่งที่อาน เชน ความหมายที่แทจริงของผูเขียนคืออะไรกันแน ผูอานตองใชวิจารณญาณมากขึ้น เปนการเขาใจที่สําคัญวาแบบแรก 3. Critical Reading คือ อานแลวสามารถวิพากษวิจารณได 4. Creative Reading คือ อานแลวเขาใจมากกวาหรือนอกเหนือจากผูที่เขียนเขียนบอกไว
  • 19. จะเห็นได ว า ระดั บความเขาใจในการอาน เปนองคประกอบสําคั ญที่ผูสอนควรนํ า ไป พิจารณากับปจจัยอื่น ๆ ดวย สําหรับการวิจัยครั้งนี้ จะศึกษาเฉพาะความสามารถในการอานระดับ แปลความ ตีความ ขยายความและจับใจความสําคัญ ความสนใจในการอานของเด็กวัย 11-14 ป รั ญ จวน อิ น ทรกํ า แหง (2519, หน า 96-97) ได จํ า แนกความสนใจการอ า นของวั ย รุ น ตามลําดับ ดังตอไปนี้ อายุ 11 ป เด็กชายยังคงชอบเรื่องผจญภัยลึกลับ และเพิ่มความสนใจในการคนควาประดิษฐ และวิทยาศาสตรมากขึ้น หนังสือเกี่ยวกับเครื่องยนตกลไกล หนังสือการตูนยังคงเปนที่ถูกใจอยู แต บางคนจะลดความสนใจในเรื่องสัตวไปบาง สวนเด็กหญิงชอบเรื่องเกี่ยวกับชีวิตในบานสัตวเลี้ยง เรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติ และเริ่มชอบเรื่องเกี่ยวกับรักๆ ใครๆ บางทีก็ชอบอานนิยายผจญภัยอยาง เด็กชายเหมือนกัน อายุ 12 ป เด็กชายชอบเรื่องที่มีการจบขมวดปมไวใหคิด ชอบอานหนังสือเกือบทุกชนิด ผจญภัย ประวัติศาสตร ชีวประวัติ กีฬา ฯลฯ สวนเด็กหญิงสวนมากยังคงชอบเรื่องเกี่ยวกับชีวิตใน บาน ในโรงเรียน ชอบเรื่องรักๆ ใครๆ มากขึ้น เรื่องผจญภัยยังคงชอบอยู และเริ่มอานนวนิยาย สํา หรั บผู ใ หญ และบางที ก็ชอบเรื่ องเกี่ย วกับอาชีพ ดว ย ในวัน นี้เ ด็ก หญิ งเริ่มอานเกือบทุก อยาง เหมือนกัน อายุ 13 ป เด็กชายยังคงชอบเรื่องเครื่องยนตกลไก แตใหยุงยากซับซอนมากขึ้น ชอบเรื่อง เกี่ยวกับงานอดิเรก การเพาะปลูก ความงามของรางกาย เปนตน สวนเด็กหญิงคงอานนวนิยายของ ผูใหญตอไป ไมชอบหนังสือที่เปนหลักวิชาจนเกินไป เริ่มชอบหนังสือคําประพันธบทละคร เรื่อง เกี่ยวกับสัตวเลี้ยงก็ยังคงชอบอยู อายุ 14 ป เปนวัยเขาสูวัยรุนเต็มที่ ระยะนี้จะอานหนังสือนอยลง แตชอบนิตยสารมากขึ้น เด็กชายชอบอานชีวประวัติ ประวัติศาสตร การเดินทาง เครื่องยนตกลไกตางๆ ชอบอานหนังสือที่มี แผนผังแบบแปลน เด็กหญิงชอบเรื่องรักๆ ใครๆ ที่สะเทือนอารมณ มักสนใจเรื่องราวที่แตงเกิน ความจริงแตงายๆ บางคนอาจสนใจหนังสือเกี่ยวกับอาชีพมากขึ้น และยังสนใจคําประพันธดวย วรณี สุนทรเวช (2510, หนา 110-118) ไดสํารวจความสนใจ และความตองการในการอาน ของนักเรียนอายุ 11-16 ป โดยแบงออกเปน 2 กลุม คือ อายุ 11-13 ป และอายุ 14-16 ป กอนอายุ 11- 13 ป ซึ่งเปนชวงอายุใกลเคียงกับระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 นั้น วรณี สุนทรเวช ไดสรุปไววา ชอบ อานหนังสือประเภทตางๆ จากมากไปหานอย ตามลําดับดังนี้ 1. หนังสือเกี่ยวกับวิทยาศาสตร นิทาน นิยาย
  • 20. - วิทยาศาสตร ชอบอานเรื่องสัตว รองลงไป ไดแก การประดิษฐตางๆ อวกาศ การ สํารวจทะเล มหาสมุทร ดวงดาว เครื่องจักรกล ลมฟาอากาศ พืช ดิน หิน แร และอื่น ๆ - นิทาน นิยาย เด็กหญิงชอบนิทานพื้นเมือง และนิทานมีคติสอนใจ เด็กชายชอบ นิทานโบราณคดีและนิทานที่แปลมาจากภาษาตางประเทศ 2. หนังสือพิมพ และหนังสือตางประเทศ 3. วรรณคดี ชอบอานสังขทอง ขุนชาง-ขุนแผน มากที่สุด รองลงไป ไดแก พระอภัยมณี รามเกียรติ์ พระรวง เปนตน 4. สารคดี ชอบเรื่องประวัติบุคคลสําคัญรองลงไป คือ ประวัติศาสตร 5. นิตยสาร 6. เรื่องแปล จะเห็นไดวาความสนใจในการอานของเด็กแตละวัยนั้น มีความสนใจที่แตกตางกัน การ เลือกเรื่องที่จะนํามาใหนักเรียนอานเพื่อฝกทักษะในการอาน จึงตองเลือกใหเหมาะสมกับวัย และ ความสนใจของนักเรียน เอกสารที่เกี่ยวกับการสอนอาน ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอนอาน ประเทิน มหาขันธ (2523, หนา 47) กลาวถึงทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเปยเจท (Piaget) วาเด็กมีพัฒนาการทางสติปญญาเปน 4 ขั้น ดังนี้ ระยะตั้งแตเกิดถึง 2 ขวบ (sensorimotor period) ระยะนี้เปนระยะที่เด็กจดจําสิ่งของตางๆ โดยจับตอง ระยะตั้งแต 2-4 ขวบ (preoperational thought period) ระยะนี้เปนระยะที่การจําแนกขึ้นอยู กับดานใดดานหนึ่งเพียงดานเดียวและระยะตั้งแต 4-7 ขวบ (intuitive phase) เปนระยะที่ความคิด เปนไปโดยการหาความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ ระยะตั้งแต 7-11 ขวบ (concrete operation period) ระยะนี้เปนระยะที่การคิดอยางมีเหตุผล ระยะตั้งแต 11-15 ขวบ (formal operation period) ระยะนี้เปนระยะที่การคิดอยางนามธรรม และการสรางความคิดรวบยอดเกิดขึ้นอยางมั่นคง จากทฤษฎีของเปยเจท เกี่ยวกับทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเด็ก สามารถนํามาเปน หลัก ในการสอนอ า นได เ ป น อยา งดี โดยในระยะแรกๆ ของพั ฒ นาการ เด็ ก จะคิ ด ไดโดยอาศั ย รูปธรรมเปนสําคัญ ดังนั้น ในระยะแรก ๆ ของการสอนอานจึงจําเปนตองใชรูปธรรมเปนอันมาก เชน ในการทําความเขาใจความหมายของคํา เปนตน ตอมาเมื่อเด็กพัฒนาขึ้น การสอนอานจึงเปนไป ในลักษณะของนามธรรม การทําความเขาใจความหมายของคํา ใชวิธีอธิบายใหเด็กเขาใจและใหเด็ก
  • 21. คิดดวยตนเอง เมื่อเด็กรูวิธีทําความเขาใจความหมายของคําในการอานแลว ครูจึงสอนใหเด็กอาน อยางอนุมาน และการอานเพื่อประเมิน กิลฟอรด (Guilford, 1966, p.125) ไดกลาวถึงเรื่องการอาน ที่เกี่ยวของกับเรื่องความรูและ ระดับสติปญญาวาสติปญญานั้นประกอบดวยระบบปฏิบัติการ ซึ่งประกอบดวยลักษณะตางๆ ไดแก ปฏิบัติการดานความรูความจํา ความคิดอยางจําแนก คิดอยางรวม และการประเมินกิลฟอรด ไดให คําแนะนําวาเนื้อหาที่เกี่ยวกับความรูก็ดี ความจําก็ดี ความคิดก็ดี จะตองประกอบกันเปนหนวยหรือ เปนระบบที่ใหญพอสมควร แนวคิดดังกลาวของกิลฟอรด สามารถนํามาใชเปนหลักในการสอน อานได เชน การสอนอยางเปนคํา การสอนอานอยางวิพากษวิจารณ การสอนอานอยางอนุมาน เปนตน นอกจากนี้ยังมีนักการศึกษาอีกหลายทานไดศึกษาเกี่ยวกับการสอนอานและไดเขียนเปน ทฤษฎีไวดังนี้ ดอรสัน (Dowson, 1959, p.7) กลาวถึงการสอนอานวามีจุดมุงหมาย ดังนี้ 1. เราใหนักเรียนสนใจทั้งเพื่อความบันเทิงและเพื่อเสริมสรางปญญา 2. เพื่อสรางความพรอมในการอานแตละระดับ 3. เพื่อใหมีประสบการณในการอานมากขึ้น 4. เพื่อใหมีรสนิยมดี ทั้งการอานและการฟง 5. ใหสามารถเลือกหนังสือ และอุปกรณการเรียน ที่เหมาะสมตรงกับจุดมุงหมายในการ เรียนได แฮรีส (Harris, 1983, p.487) มีความเห็นวา วิธีที่จะสงเสริมใหนักเรียนรักการอานควรจะ ชักจูงและแนะนําใหอานดวยวิธีที่เหมาะสม คือ ขึ้นแรกควรใหนักเรียนอานหนังสือที่งาย สั้น และ ตรงกับความสนใจ เมื่อนักเรียนเกิดทัศนคติตอการอานแลวนักเรียนจะหาหนังสือตางๆ มาอานเอง โอลม (Holm, 1962, p.64) ไดสรุปทฤษฎีที่นํามาอธิบายการอานวา การอานตองอาศัย องคประกอบตางๆ ดังนี้ องคประกอบที่ 1 เปนองคประกอบที่มีความสําคัญที่สุดกับความสามารถในการอาน มี องคประกอบยอย ดังนี้ คือ ความเขาใจในการฟง ความเขาใจความหมายของคําที่มีอยูในเนื้อหาของเรื่อง ความเขาใจความหมายของคําที่เห็นโดยตา ความเขาใจความหมายของศัพทแตละตัว การเขาใจความหมายของคําอุปมาอุปไมย องคประกอบที่ 2 ความสามารถในการใชเหตุผล องคประกอบที่ 3 ความสามารถในการรับรู