SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
งานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การพัฒนาทักษะการอานและเขียน สะกดคําภาษาไทย
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4
นางสาววัสยามน มิ่งระหงษ
โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา
ประจําปการศึกษา 2553
2
งานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การพัฒนาทักษะการอานและเขียน สะกดคําภาษาไทย
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4
นางสาววัสยามน มิ่งระหงษ
โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา
ประจําปการศึกษา 2553
3
บทที่ 1
บทนํา
ภูมิหลัง
ในสภาวะปจจุบันความเจริญกาวหนามาก ประชาชนสามารถติดตอกันไดทั่วโลก เพราะ
ระบบการคมนาคมการสื่อสาร และเทคโนโลยีนานาชนิดเจริญรุดหนาไปไกล ภาษาจึงเปน
สิ่งจําเปนในการติดตอสื่อสารเพื่อใหการติดตอสื่อสารประสบความสําเร็จ และปจจุบันภาษาไทยจึง
เปนภาษาที่มีความสําคัญมากภาษาหนึ่ง
สาระการเรียนรูภาษาไทยโรงเรียนเซนตหลุยสไดจัดการเรียนรูโดยคํานึงถึงพัฒนาการทาง
รางกาย และสติปญญา วิธีการเรียนรู ความสนใจ และความสามารถของผูเรียน อยางมีกระบวนการ
และวิธีการที่หลากหลาย เนนการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง การเรียนรูดวยตนเอง การ
เรียนรูรวมกัน การเรียนรูจากธรรมชาติ การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และการเรียนรูแบบบูรณาการ
ซึ่งสอดคลองตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๒๒ ที่กําหนดแนวทางใน
การจัดการศึกษาไววา การจัดการศึกษาตองยึดหลักผูเรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรูและ
พัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนสําคัญที่สุด ดังนั้นการเรียนภาษาไทยในปจจุบันจึงเปนแนวการ
สอนเพื่อการสื่อสาร จึงตองเนนผูเรียนไดฝกทักษะในการเรียนภาษาทั้ง 4 ดาน คือทักษะการฟง
การพูด การอาน และการเขียนไปพรอม ๆ กัน (สันติ แสงสุก. 2535 : 1) ซึ่งทักษะทัง 4 ดานลวนมี
ความสําคัญเทา ๆ กัน แตทักษะที่นับวามีปญหามาก คือ ทักษะการเขียนเปนทักษะที่ยากที่สุดใน
บรรดาทักษะทั้ง 4 ดาน (สุไร พงษทองเจริญ. 2525 : 122) ซึ่งมีนักเรียนจํานวนไมนอยที่สามารถ
ฟงพูดภาษาไทยได แตเขียนไมได อานไมออก โดยเฉพาะทักษะการเขียนสะกดคํา ที่เปน
องคประกอบสําคัญตอการวางรากฐานในการเขียนที่สามารถนําไปใชกับทักษะอื่น ๆ ไดดีถาเขียน
สะกดคําไดถูกตอง (สมใจ ศรีสินรุงเรือง. 2532 : 2 )
จากการเปดสอนหลักสูตรภาษาไทยในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่ผานมา พบวา
นักเรียนสามารถเขาใจฟงและพูดภาษาไทยไดบางแตปญหาที่พบคือการเขียนนักเรียนไมสามารถจํา
พยัญชนะและสระในบทเรียนได ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาวิธีการแกปญหาดังกลาว ดวยวิธีการใช
แบบฝกทักษะการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทยกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 โรงเรียน
เซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูให
มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
4
จุดมุงหมายในการวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่2/4 ภาคเรียนที่2 ปการศึกษา2553
2.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 25523 ระหวางการสอนกอน – หลัง การใช
แบบฝกทักษะการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย
ความสําคัญของการวิจัย
ผลของการศึกษาคนควาครั้งนี้ จะเปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยให
มีประสิทธิภาพตอไป
สมมติฐานการวิจัย
1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 มีผลสัมฤทธิ์การอาน
และเขียนสะกดคําภาษาไทยสูงขึ้น
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 ที่ไดใชแบบฝกทักษะ
การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย มีผลสัมฤทธิ์กอน – หลังตางกัน
ขอบเขตของการวิจัย
ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่
2 / 4 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 จํานวน 38 คนโดยการ
เลือกแบบเจาะจง (Purposive )
ระยะเวลาการทดลอง
ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง การทดลองครั้งนี้ใชเวลาทดลอง เดือนพฤศจิกายน 2553
5
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรอิสระ ไดแก การใชแบบฝกทักษะการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย
ตัวแปรตาม ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่2/4 ภาคเรียนที่2 ปการศึกษา 2553
เนื้อหา
การเรียนวิชาภาษาไทย ที่ใชในการทดลองครั้งนี้เปนคําในบทเรียน ซึ่งเปนคํายาก
สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่2 จํานวน10 คํา คือ
นิยามศัพทเฉพาะ
1. การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย หมายถึง การเขียนที่เรียงลําดับพยัญชนะของคํา
ไดถูกตองและมีความหมายตามพจนานุกรม
2. แบบฝกทักษะการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย หมายถึง ชุดการฝกทักษะการอาน
และเขียนสะกดคําภาษาไทย ซึ่งเปนเครื่องมือที่ชวยใหเกิดการเรียนรูที่เกิดจากการกระทําจริง เปน
ประสบการณตรงที่ผูเรียนมีจุดมุงหมายแนนอนทําใหนักเรียนเห็นคุณคาของสิ่งที่เรียน สามารถ
เรียนรูและจดจําสิ่งที่เรียนไดดี และนําไปใชในสถานการณเชนเดียวกันได
3. ผลสัมฤทธิ์การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย หมายถึง ความสามารถของนักเรียนใน
การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย กอนและหลังการใชแบบฝก โดยใชแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย
4. นักเรียนหลักสูตรภาษาไทย หมายถึง นักเรียนที่เรียนหลักสูตรภาษาไทยในระดับชั้น
ประถมศึกษาปที่2 หอง 4
6
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ และไดนําเสนอตามหัวขอ
ตอไปนี้
1. หลักการ แนวคิดและทฤษฎีการจัดการเรียนรู
2. ทฤษฎีเกี่ยวกับการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย
3. ทฤษฎีเกี่ยวกับแบบฝกทักษะหลักการใชภาษา
4. สาระสําคัญที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนรูตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.
๒๕๔๒
5. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ
1. แนวคิดและทฤษฎีการจัดการเรียนรู
ในการทําการศึกษาคนควาครั้งนี้ ไดนําหลักการเรียนรูของเลวิน (Lewin’s Field Theory) มา
เปนแนวทาง ซึ่งทฤษฎีนี้มีหลักการวา “การเรียนรูเกิดจากการเปลี่ยนแปลงความรูความเขาใจเดิม
เกิดจากการกระทําซ้ํา ๆ ไดจากการแกปญหา หรือมีการเปลี่ยนการจูงใจ ทําใหเกิดความรูความ
เขาใจอยางแจมแจง
การนําหลักทฤษฎีการเรียนรูของเลวินไปใชในการเรียนการสอน
1. ครูใชวิธีการกลุมสัมพันธ เพื่อใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธกับครู จะไดเกิดการเรียนรูดวย
ความเขาใจ
2. ครูจัดใหมีศูนยการเรียนในหองเรียน มุงเนนนักเรียนเปนศูนยกลางเพื่อใหนักเรียนเรียนรู
ดวยความเขาใจ
3. ใหนักเรียนตั้งเปาหมายของชีวิต เปาหมายในแตละวิชา และในแตละบทเรียน เพื่อให
การเรียนและการดําเนินชีวิตมีเปาหมายที่ชัดเจน
4. ใชวิธีการจูงใจเพื่อกระตุนใหนักเรียนตอบสนองอยางเขมขนตอบทเรียน
5. ฝกใหนักเรียนรูจักแกปญหาในเกมงาย ๆ หรือปญหางาย ๆ และยากขึ้นตามลําดับ
7
การเรียนรูภาษา
ประสาท อิศรปรีดา (2523 : 143 – 153) ไดกลาวถึงการเรียนรูภาษาในดานตาง ๆ วา
ภาษามีความสําคัญอยางยิ่งตอการเรียนรูและพัฒนาการทางสติปญญาดานความคิดของมนุษย เพราะ
ภาษาเปนเครื่องมือที่จะชวยใหเกิดการเรียนรูและเปนเครื่องมือที่จะใชวินิจฉัยคุณภาพทางสติปญญา
ทางความคิดของบุคคล และอาจกลาวไดวา การเรียนรูภาษา ก็คือการเรียนรูรหัสหรือสัญลักษณ ซึ่ง
รหัสหรือสัญลักษณอาจจะเปนทั้งภาษาดานถอยคํา และการแสดงออกดวย อากัปกิริยาทางรางกาย
ตอวัตถุและสิ่งแวดลอม ซึ่งมีความเกี่ยวของกับสิ่งตอไปนี้
1. ธรรมชาติของการเรียนรูภาษา
ตามความคิดของการเย การเรียนรูภาษาก็คลาย ๆ กับการเรียนรูทักษะ กลาวคือ การเรียนรู
ภาษาและการเรียนรูทักษะตางก็เปนการเรียนรูที่ประกอบกิจกรรมตอเนื่องตามลําดับ หรือเปนสาย
โซ (Chain) ของความสัมพันธระหวางสิ่งเราการตอบสนองตั้งแต 2 คูขึ้นไป แตการเรียนรูทั้งสองก็
ตางกัน ในแงที่การเรียนรูทักษะจะเกี่ยวกับการตอบสนองดานกลไกหรือกลามเนื้อ สวนการเรียนรู
ภาษาจะเปนเรื่องของการใชถอยคํา ซึ่งไดแก การออกเสียงเปนพยางค เปนคํา ฯลฯ
2. พัฒนาการทั่วไปของการเรียนรูภาษา
ภาษามนุษยเริ่มขึ้นดวยการรองไหเมื่อแรกเกิด กอนที่จะมีความคิดและการสื่อสาร
พัฒนาการจะตอเนื่องดวยการทําเสียงในลําคอเหมือนนกกู มีขอสังเกตวา พัฒนาการทางภาษาจะเรื่อ
ดวยการเคลื่อนไหวของอินทรียทาทาง และความพยายามที่จะออกเสียงในรุยะแรก ๆ เขาจะออก
เสียงเปนพยัญชนะตัวใดตัวหนึ่งเพียงตัวเดียว เชน อืมม ออ แลวจึงพัฒนาการไปสูการออกเสียงเปน
พยัญชนะผสมกับสระ2 ตัว เชน แบ แว ดู
พัฒนาการขั้นตอไป คือ การเขาใจศัพท แตยังไมสามารถสื่อความหมายได ระยะนี้เด็กจะ
แสดงทาทางที่เขาใจรําวา น้ํา สุนัข นม หรืออาบน้ํา แตเขายังไมอาจพูดได หลังจากขั้นนี้เด็กก็จะ
เรียนรูความหมายของคํา เขาจะสามารถใชคําที่ตองการได
เมื่อเด็กมีอายุประมาณ 5 – 6 ป หลังจากที่เด็กพรอมที่จะอานไมนานนัก โดยจะเริ่มสอน
พื้นฐานในการเขียน เพราะเด็กสวนมากสนใจในการเขียนศัพทที่เขาพูดบอย ๆ และสนใจที่จะเรียน
การอานชื่อของตน ไมนานนักเด็กก็จะสามารถสะกดคําบางคําได
เมื่อเด็กมีอายุประมาณ 9 – 10 ป เด็กสวนมากก็จะมีวุฒิภาวะเพียงพอที่จะเรียนรูภาษาทั้ง
ดานการอาน เขียน ฟงและพูด พอถึงอายุประมาณ 12 – 14 ป ซึ่งเปนระยะที่เด็กเรียนในชั้นสูงขึ้น
กวาระดับประถม (Intermediate Grades) เขาก็จะมีพัฒนาการดานภาษาอยางกวางขวางกาวหนา
รวดเร็วมาก สามารถจะประยุกตความรูทางภาษาไปใชในการเรียนวิชาอื่น ๆ อีกดวย
3. แนวการสอนเพื่อพัฒนาใหเกิดการเรียนรูภาษา
แนวการสอนเพื่อใหเกิดการเรียนรูดานภาษา มีลําดับขั้นที่สําคัญพอจะสรุปไดดังนี้
8
ขั้นที่1 อธิบายใหเด็กทราบวา ทานหวังที่จะใหเขาเรียนอะไรในขั้นนี้ เปนขั้นที่ครู
จะตองเตรียมนักเรียนกอนที่จะเริ่มเรียน เพื่อใหเด็กมีความจงใจ ตั้งใจและใหรูเปาหมายถึงทิศทาง
ในการเรียน
ขั้นที่ 2 การพิจารณาตรวจสอบเนื้อหา เพื่อใหมีความหมายสําหรับผูเรียน การ
พิจารณาตรวจสอบเนื้อหา เพื่อใหมีความหมายสําหรับผูเรียนกอนที่จะเริ่มสอนจําเปนมากที่ครู
จะตองพิจารณาวาคําที่ใชสอนเด็กตองเต็มไปดวยความหมาย การสอนภาษาแกเด็ก ควรจะเลือกใช
คําที่เด็กตองใชบอย ๆ ครูควรตระเตรียมเนื้อหาทั้งภาษาเขียน ภาษาพูดใหเหมาะสมแกระดับ
การศึกษาของเด็ก
ขั้นที่ 3 การตรวจสอบและประเมินความรูเดิมของผูสอนการตรวจสอบความรูเดิม
ของเด็ก และมีคุณคาในการจัดเนื้อหาใหมใหมีความหมายและสัมพันธกับระดับความรูเดิมของเด็ก
อีกดวย
ขั้นที่ 4 จัดใหมีการฝกหรือปฏิบัติอยางเหมาะสม สิ่งสําคัญของครูที่จะตองทําใน
ขั้นนี้ ไดแก
1. การใหโอกาสแกเด็กที่จะตอบสนองในสิ่งที่จําเปน
2. กําหนดเวลาการฝก ซึ่งอาจเปนแบบใหฝกรวดเดียวโดยไมตองพัก
(Massed Practice) หรือแบบใหฝกและพักสลับกัน (Distributed Practice) ตามความเหมาะสม
3. ทดสอบหาระดับความกาวหนาของผูเรียน พิจารณาใหฝกซ้ํา ๆ เมื่อ
ไดผลไมเปนที่พอใจ
ขั้นที่ 5 ใหมีความรูที่จะตอบอยางถูกตอง การที่จะใหเด็กเกิดความรูที่จะ
ตอบสนองอยางถูกตองนั้น ครูจะตองพิจารณาใชการบอกแนะ (Prompting) หรือการเสริมแรง
(Confirmation หรือ Reinforcement)
ขั้นที่ 6 จัดสภาวะที่จะรบกวนหรือการสอดแทรกในขั้นนี้ ตองขจัดอิทธิพลของ
องคประกอบที่จะเปนสาเหตุรบกวนหรือสอดแทรก ทําใหเกิดการลืม
ขั้นที่7 การใชวิธีการวัดผลที่เหมาะสม การวัดผลที่เหมาะสมนั้นครูจะตองคํานึงถึง
จุดมุงหมายที่ตั้งไว การวัดผลที่ดีจะตองสอดคลองกับจุดมุงหมายสภาวะพื้นเพของผูเรียนและ
กระบวนการสอน
2.ทฤษฎีเกี่ยวกับการอานและเขียนสะกดคํา
การอานและเขียนสะกดคํา มีความจําเปนอยางยิ่งในการเรียนการสอน เพราะเปนทักษะที่
ตองฝกฝนอยางสม่ําเสมอ และมีนักการศึกษาตาง ๆ ไดใหความหมายของการอานและเขียนสะกด
คํา ดังนี้
9
กูด (Good. 1945 : 383) ไดใหความหมายของการอานและเขียนสะกดคําไววา
การอานและเขียนสะกดคําเปนวิธีการจําตัวอักษรได เกิดจากการใชสื่อหรือออกเสียงตัวอักษรเปน
ตัว ๆ ไป หรือเมื่อเขาเปนคํา ๆ หนึ่งที่ทุกคนยอมรับ
วอลลินส (Vallins. 1965 : 16) ไดใหความหมายวา การสะกดคําสวนใหญ คือ
เรื่องราวเกี่ยวกับตา เวลาอานหนังสือ ผูอานจะเนนกระสวนของคําบนกระดาษ ซึ่งจะแสดงใหเห็น
ถึงความหมายของคําโดยไมเกี่ยวของกับเรื่องเสียงเลย
กลาวโดยสรุปวา การเขียนสะกดคํา เปนการจําตัวพยัญชนะตามความหมายของรูป
คํานั้น ๆ เมื่อออกเสียงเปนคํา ๆ หนึ่ง ที่เขาใจความหมายของคํานั้นรวมกัน
2.1 ความสําคัญของการอานและเขียนสะกดคํา
สุนันท จงธนสารสมบัติ (2525 : 4) ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานและเขียนสะกดคํา
ใหถูกตองหรือการสะกดตัววา การสะกดตัวเปนทักษะที่สําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอชีวิตประจําวัน
และความเปนอยูของบุคคลในปจจุบัน เพราะการสะกดตัวไดถูกตองจะชวยอานหนังสือออกและ
เขียนหนังสือไดถูกตอง
ยุพดี พูลเวชประชาสุข(2525 : 5) ไดใหความเห็นสอดคลองกับประเทิน มหาขันธ ไววา
การสอนเขียนสะกดคําเปนแนวทางที่จะนําไปสูการเขียนหนังสือไดถูกตอง
สิทธิศักดิ์ โหมดหิรัญ (2526 : 9) ไดใหความเห็นวา การเขียนใหถูกตองนั้นเปนสิ่งสําคัญ
มาก เพราะนอกจากจะสื่อความหมายแกผูอานไดถูกตองแลวมองผลงานเขียนวามีคุณคา ซึ่งทําให
ผูเขียนไดรับความเชื่อถือ และประสบความสําเร็จอีกดวย
ลูนเบอร (Luneburg . 1959 : 179) ไดกลาวถึง การเขียนสะกดคําวา มีบทบาทใน
ชีวิตประจําวัน การสะกดคําผิดจะลดประสิทธิภาพของการเขียนลง และมีแนวโนมที่จะพิจารณา
กําหนดหรือตัดสินระดับคุณภาพของการศึกษาของบุคคลจากอัตราความถูกตองในการสะกดคําของ
บุคคลนั้น
เลวิส (Lewis . 1963 : 7) ไดกลาวถึงการสะกดคําไววา โอกาสที่จะเขียนหนังสือสะกด
คําผิดนั้นมีมาก การเขียนผิดจะทําใหผูอื่นมองความสามารถในการเขียนของผูเขียนลดลง ทั้งยัง
กระทบถึงผลประโยชนที่สําคัญ ๆ ของผูเขียนอีกดวย
สรุปไดวา การอานและเขียนสะกดคํามีความสัมพันธในการเขียน เพราะเปนพื้นฐาน
เบื้องตนที่จะนําไปสูทักษะการฟง การพูด การอาน เพราะถาเราไมสามารถเขียนสะกดคําไดถูกตอง
ยอมกอใหเกิดความผิดพลาดในการสื่อความหมาย ถาเขียนสะกดคําผิดความหมายก็แปรเปลี่ยนไป
หรืออาจไมมีความหมายเลยก็ได
10
2.2 ความมุงหมายของการอานและเขียนสะกดคํา
บุญปก ออนเผา (2526 : 11 – 21) ไดสรุปจุดมุงหมายในการสอนสะกดคําไวดังนี้
1. มุงใหเด็กรูจักรูปคําการเขียนสะกดคําที่ดี
2. มีความสามารถที่เขียนคําตาง ๆ ไดถูกตอง เด็กจะตองเรียนรูคํา ฝกออกเสียง
เรียนรูความสัมพันธของตัวอักษรกับเสียง สามารถจัดรูปของคํา จําลําดับอักษรได จึงจะสามารถ
เขียนสะกดคําไดถูกตอง
ฮอรน(Horn. 1954 : 14 – 15) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายสะกดคําไวดังนี้
1. หาทางพัฒนาความสามารถในการอานและเขียนสะกดคําของนักเรียน โดยไม
จํากัด เพียงการฝกเฉพาะคําที่นักเรียนรูจักเทานั้น
2. การสะดกคําจัดวาเปนทักษะที่สัมพันธกับภาษาที่จุดมุงหมายที่จะสงเสริมความ
ตั้งใจของนักเรียนในการแสดงความรูจัดดวยการเขียน
3. เขียนและฝกการสะกดคํา เพื่อเปนเครื่องมือในการเขียนของนักเรียน
4. การสะกดคํา ตองตั้งจุดมุงหมายเฉพาะในการสอน โดยพิจารณาจากความแตก
ตางของนักเรียน พื้นฐานประสบการณของนักเรียนแตละคนความสามารถในการเรียนรูและความ
ตองการเปนหลัก
พอจะสรุปไดวา ความมุงหมายของการสะกดคํา คือ มุงใหนักเรียนสามารถอานและเขียน
สะกดคําไดถูกตองเปนทักษะพื้นฐานเบื้องตนที่จะนําไปสูการนําคําตางๆไปใชไดถูกตองที่จะ
ความสัมพันธกับทักษะอื่น ๆ ตอไป
2.3 หลักการสอนการอานและเขียนสะกดคํา
สุนทร สุนันทชัย (2511 : 21 – 24) ไดเสนอแนะวิธีสอนสะกดคําไวดังนี้
1. ใหทองจําโดยออกเสียงสระและพยัญชนะที่ประกอบเปนคําแตละคําหลาย ๆ
ครั้งจนจําได เชน ม- อ - ง = มอง , ส –แ –ง = แสง เปนตน
2. ใหเขียนคํานั้น ๆ หลายครั้งจนจําไดคําใดที่เขียนบอย ๆ ครั้งมักจะเขียนไมผิด
3. เขียนคําใหมไวบนกระดานดํา หรือเขียนใสบัตรคําติดไวบนปายหนาชั้นเรียน
ใหนักเรียนเห็นบอย ๆ จนชินตา
4. แยกคําออกเปนพยางค เชน รอง ไห เพื่อใหนักเรียนสังเกตสวนตาง ๆ ที่แยก
ไวนั้น โดยพินิจพิเคราะหเพื่อเปนอุบายใหจดจําคํานั้นไดงาย
5. สอนหลักการสะกดตัวให
ประเทิน มหาขันธ (2519 : 65 – 66) ไดเสนอลําดับขั้นตอนการสอนสะกดคําไว และการ
สรางความพรอมในการสะกดคําแกเด็ก ไดดังนี้
11
ขั้นที่ 1 ความหมายของการออกเสียง ใหนักเรียนเขาใจความหมายของคํา มองดู
พรอมกับออกเสียงคํานั้นและสามารถที่จะใชคํานั้นแตละประโยค
ขั้นที่ 2 การมองเห็นรูปคํา ใหนักเรียนเห็นรูปคําที่สะกด และออกเสียงคํานั้น ๆ
เปนพยางคทีละพยางค และสะกดเปนคําอีกครั้งหนึ่ง
ขั้นที่3 การระลึกคําคือ ใหมองดูคําแลวสะกดคํานั้นโดยไมตองดู
ขั้นที่4 การเขียนคํานั้นใหถูกตอง
ขั้นที่5 การทบทวน ใหนักเรียนเขียนคําโดยไมตองดูแบบ
ประเทิน มหาขันธ มีความเห็นเกี่ยวกับความพรอมในการอานและเขียนสะกดคําของเด็กวา
เด็กจะพรอมที่จะสะกดคําตอเมื่อเด็กตองการอาน และเขาไดเสนอแนะการสรางความพรอมในการ
สะกดคําแกเด็กไวดวย ดังนี้
1. ใหเด็กสังเกตคําที่ครูหรือนักเรียนเขียนติดไวในหองเรียน
2. ใหเด็กเลนตัวอักษร
3. ใหรูจักสังเกตคําที่เหมือนกัน และแตกตางกัน
4. ใชอุปกรณการสอน เชน แผนปายหมุน บัตรคํา
กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ (2524 : 49 – 50) ไดเสนอแนะกระบวนการสอนเขียน
สะกดคํา ไวดังนี้
1.ใหนักเรียนเห็นคํา
2. ใหนักเรียนไดยินการออกเสียงคําที่ชัดเจนถูกตอง
3. ใหนักเรียนฝกออกเสียงคําที่จะเขียนใหชัดเจนถูกตอง
4.ใหนักเรียนรูความหมายและการใชคํานั้น
5. ใหนักเรียนสะกดคํานั้นได
6. ใหนักเรียนเขียนคํา
คิง (King. 1965 : 1) ไดกลาวถึงวิธีการฝกความสามารถในการสะกดคําไวดังตอไปนี้
1. ตรวจ (Examine) ตรวจสอบคําแตละคําอยางระมัดระวัง เชน คําที่มีอุปสรรค
ปจจัย และบันทึกไว
2. ออกเสียง (Pronounce) ออกเสียงคําอยางถูกตอง และคําตึงการสะกดคําแตละ
พยางค
3. สะกดคํา(Spell) สะกดคํานั้น ๆ ดัง ๆ ปดคําที่สะกดแลวสะกดคําอีกครั้งหนึ่ง
4. เขียน (Write) เขียนคํานั้น ๆ5 – 10 ครั้ง ตรวจดูวาถูกตองหรือไม
5. ใช (Use) ใชคํานั้นมาแตงประโยค
6. ทบทวน(Review) ทบทวนแตละคําในวันตอไป เมื่อมีความสงสัยเกี่ยวกับ
12
การสะกดคําใด ใหคนจากพจนานุกรมแลวดําเนินการตามขบวนการทั้งหกขั้นจะทําใหสะกดคําได
ถูกตองและแมนยํา
สรุป หลักการสอนการเขียนสะกดคํา ครูผูสอนควรมีหลักเกณฑในการสอนวามีวิธีการใด
ที่จะใหนักเรียนสามารถเขียนสะกดคําไดถูกตอง โดยสัมพันธกับ การฟง การอาน การพูด และการ
เขียน เขาใจความหมาย จดจําคําศัพทได ฝกการเขียนคําศัพทจนสามารถเขียนไดถูกตอง และนําไป
ประยุกตใชในบทเรียน
3. ทฤษฎีเกี่ยวกับแบบฝก
3.1 ความหมายของชุดการฝกทักษะการสะกดคํา
ชุดการฝกในภาษาไทยมีชื่อเรียกกันแตกตางกันออกไป เชน ชุดการฝก แบบฝก
แบบฝกทักษะ แบบฝกหัด แบบฝกทักษะ เปนตน ซึ่งมีผูใหความหมายของการฝกไวตาง ๆ กันดังนี้
กูด (Good. 1973: 224) กลาววา ชุดการฝก หมายถึง งานหรือการบานที่ครู
มอบหมายใหนักเรียนทําเพื่อทบทวนความรูที่เรียนมาแลว และเปนการฝกทักษะการใชกฎสูตรตาง
ๆ ที่เรียนไป
วีระ ไทยพานิช (2529 : 11) สรุปไดวา ชุดการฝกเปนเครื่องมือที่ชวยใหเกิดการ
เรียนรูที่เกิดจากการกระทําจริง เปนประสบการณตรงที่ผูเรียนมีจุดมุงหมายแนนอนทําใหนักเรียน
เห็นคุณคาของสิ่งที่เรียน สามารถเรียนรูและจดจําสิ่งที่เรียนไดดี และนําไปใชในสถานการณ
เชนเดียวกันได
วาสนา สุพัฒนา (2530 : 11) กลาววา ชุดการฝก หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่ครู
มอบหมายใหนักเรียนทําเพื่อทบทวนความรูตางๆ ที่ไดเรียนมาแลว ซึ่งจะทําใหผูเรียนเกิดทักษะ
และเพิ่มทักษะซึ่งสามารถนําไปใหแกปญหาได
อัจฉรา ชีวพันธ และคณะ (2532 : 102) ไดกลาววาชุดการฝก หมายถึง สิ่งที่สราง
ขึ้นเพื่อเสริมความเขาใจ และเสริมเพิ่มเติมเนื้อหาบางสวน ที่ชวยใหนักเรียนไดปฏิบัติและนําเอา
ความรูไปใชไดอยางแมนยํา ถูกตอง คลองแคลว
ประพนธ จายเจริญ (2536 : 8) กลาววาชุดการฝก หมายถึงสิ่งที่ผูสอนมอบหมาย
ใหผูเรียนกระทําเพื่อฝกฝนเนื้อหาตาง ๆ ที่ไดเรียนไปแลวใหเกิดความชํานาญและใหผูเรียนสามรถ
นําไปใชในชีวิตประจําวันได
กติกา สุวรรณสมพงศ (2541 : 40) การจัดประสบการณฝกหัด โดยใชวัสดุ
ประกอบการสอน หรือเปนกิจกรรมใหผูเรียนกระทําดวยตนเอง เพื่อฝกฝนเนื้อหาตางๆ ที่ไดเรียน
ไปแลวใหเขาใจดีขึ้น และในสถานการณอื่น ๆในชีวิตประจําวัน
13
สุกิจ ศรีพรหม(2541 : 68) ไดใหความหมายไววา ชุดการฝก หมายถึง การนําสื่อ
ประสมที่สอดคลองกับ เนื้อหาและจุดประสงคของวิชามาใชในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ
ผูเรียนเพื่อใหเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ
จากความหมายของชุดการฝกที่กลาวมา พอสรุปไดวา ชุดการฝก หมายถึง งานหรือ
กิจกรรมที่ครูผูสอนมอบหมายใหนักเรียนกระทําเพื่อฝกทักษะและทบทวนความรูที่ไดเรียนไปแลว
ใหเกิดความชํานาญ สามารถนําความรูไปใชแกปญหาระหวางเรียน และในชีวิตประจําวันได อีกทั้ง
ยังเปนเครื่องมือที่ชวยใหนักเรียนประสบผลสําเร็จในการเรียน
3.2 ประโยชนของชุดการฝกทักษะการสะกดคํา
ชุดการฝกมีประโยชนตอการเรียนวิชาทักษะมาก ดังที่ เพ็ตตี้(Petty. 1936 : 469 – 472) ได
กลาวไวดังนี้
1. เปนสวนเพิ่มหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เปนอุปกรณการสอนที่ชวยลด
ภาระของครูไดมาก เพราะชุดการฝกเปนสิ่งที่จัดทําขึ้นอยางเปนระบบระเบียบ
2. ชวยเสริมทักษะทางการใชภาษา ชุดการฝกเปนเครื่องมือที่ชวยใหเด็กฝกทักษะการใช
ภาษาไดดีขึ้น แตตองอาศัยการสงเสริมและเอาใจใสจากครูผูสอนดวย
3. ชวยในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคล เนื่องจากเด็กมีความสามารถแตกตางกัน การ
ใหเด็กทําชุดการฝกที่เหมาะสมกับความสามารถ จะชวยใหเด็กประสบความสําเร็จในดานจิตใจ
มากขึ้น ชุดการฝกชวยเสริมทักษะใหคงทนโดยกระทํา ดังนี้
3.1 ฝกทันทีหลังจากเด็กไดเรียนรูเรื่องนั้น
6.1 ฝกซ้ําหลายๆ ครั้ง
6.2 เนนเฉพาะเรื่องที่ตองการฝก
6.3 ชุดการฝกที่ใชเปนเครื่องมือวัดผลการเรียนรูหลังจากบทเรียนในแตละครั้ง
6.4 ชุดการฝกจัดทําขึ้นเปนรูปเลม เด็กสามารถเก็บรักษาไวเพื่อเปนแนวทางและ
ทบทวนดวยตนเองตอไป
3.6 การใหเด็กทําชุดการฝกชวยใหครูมองเปนจุดเดน หรือปญหาตางๆ ของเด็กได
ชัดเจน ซึ่งจะชวยใหครูดําเนินการแกไขปญหานั้นๆ ไดทันทวงที
3.7 ชุดการฝกที่จัดทําขึ้นนอกเหนือจากที่มีในหนังสือเรียนจะชวยใหเด็กฝกฝนได
อยางเต็มที่
3.8 ชุดการฝกที่จัดพิมพไวเรียบรอย จะชวยใหครูประหยัดทั้งแรงงานและเวลาใน
การที่จะตองจัดเตรียมสรางชุดการฝกอยูเสมอ ในดานผูเรียนก็ไมตองเสียเวลาลอกชุดการฝกจาก
ตําราเรียน ทําใหมีโอกาสฝกฝนทักษะดานตางๆ ไดมากขึ้น
14
3.9 ชุดการฝกชวยประหยัดคาใชจายเพราะการจัดพิมพขึ้นเปนรูปเลมแนนอนยอม
ลงทุนต่ํากวาที่จะพิมพลงกระดาษไขทุกครั้ง และผูเรียนสามมารถบันทึกและมองเปนความกาวหนา
ของตนเองไดอยางมีระบบระเบียบ
ธนู แสวงศักดิ์ (2514 : 132) ไดกลาวถึงประโยชนของการฝกไววา การใหชุดการฝกแก
นักเรียนนั้นเปนสิ่งหนึ่งที่ชวยใหการเรียนการสอนไดผลดียิ่งขึ้น ในการเรียนการสอนวิชา
คณิตศาสตรครูผูสอนใชวิธีสอนโดยการอธิบายตัวอยาง แลวใหนักเรียนทําแบบฝกหัดจากชุดฝก ซึ่ง
แสดงใหเปนวาการสอนคณิตศาสตรจะขาดการทําแบบฝกหัดไมไดเลย
รัชนี ศรีไพวรรณ (2517 : 189) ไดกลาวถึงประโยชนของชุดการฝกวา
1. ทําใหเด็กเขาใจบทเรียนดีขึ้น เพราะชุดการฝกจะเปนเครื่องมือทบทวนความรูที่เด็กได
เรียน และทําใหเกิดความชํานาญ คลองแคลวในเนื้อหาวิชาเหลานั้นยิ่งขึ้น
2. ทําใหครูทราบความเขาใจของนักเรียนที่มีตอมีเรียน ซึ่งจะชวยใหครูสามารถปรับปรุง
เนื้อหา วิธีสอน และกิจกรรมในแตละบทเรียน ตลอดจนสามารถชวยเด็กใหเรียนไดดีที่สุดตาม
ความสามารถของเขาดวย
3. ฝกใหเด็กมีความเชื่อมั่น และสามารถประเมินผลงานของตนเองได
4. ฝกใหเด็กทํางานตามลําพัง โดยมีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายดวงเดือน
ออนนวม และคณะ(2536 : 36 ) ไดกลาวถึงประโยชนของชุดการฝกไวดังนี้
1. ชวยเสริมสรางและเพิ่มพูนความรูความเขาใจ ความจํา แนวทาง และทักษะในการ
แกปญหาแกนักเรียน
2. ใชเปนเครื่องมือประเมินการสอนของครู ทําใหทราบขอบกพรองในการสอนแตละเรื่อง
แตละตอน และสามารถปรับปรุงแกไขไดตรงจุด
3. ใชเปนเครื่องมือประเมินผลการเรียนของนักเรียน ทําใหครูทราบขแบกพรองจุดออนที่
จะแกไขของนักเรียนแตละคนในแตละเรื่อง แตละตอนและสามารถคิดหาแนวทางชวยเหลือแกไข
ไดทันทวงที และชวยใหนักเรียนทราบจุดออนขอบกพรองของตนเอง เพื่อหาทางปรับปรุงแกไข
เชนกัน
4.ชวยกระตุนใหนักเรียนอยากทําชุดการฝก
5. ชวยใหนักเรียนไดฝกฝนทักษะไดอยางเต็มที และตรงจุดที่ตองการฝกหัด
6. ชวยใหนักเรียนเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง คิดอยางมีเหตุผล แสดงความคิดออกมา
อยางมีระเบียบชัดเจนและรัดกุม
7. เปนการประหยัดเงินและเวลา
15
3.3 หลักในการฝกทักษะการสะกดคํา
ชูชาติ เชิงฉลาด(2521 : 41) ไดกลาวถึงหลักในการฝกทักษะไวดังนี้
1. การฝกเปนสิ่งที่สําคัญของการเรียน
2. การฝกไมควรใหซ้ําซากจนนาเบื่อ ควรจะฝกใหเกิดทักษะหรือความชํานาญ
3. การที่กระตุนนักเรียนใหฝกดวยแบบเดียวกันตลอดเวลานักเรียนก็จะสนองตอบเปน
แบบเดียวกัน
4. การฝกจะใหไดผลดีตองเปนรายบุคคล
5. การที่จะฝกใหทําแบบฝกหัดนั้นควรจะฝกเฉพาะเรื่องและใหจบในเรื่องนั้นๆ กอนจึง
จะ
ฝกเรื่องตอไป
6. ควรจะใหฝกหลาย ๆ ครั้ง ในแตละทักษะ
7. ควรจะใหคะแนนในการทําแบบฝกหัดแตละครั้ง เพื่อวัดความกาวหนา
8. แบบฝกหัดควรจะมีมาตรฐาน และจัดใหเหมาะสม
กระทรวงศึกษาธิการ (2534 : 2-3) ไดกลาวถึงหลักในการฝกทักษะคิดคํานวณมีสิ่งที่ควร
คํานึงถึงดังตอไปนี้
1. การฝกทักษะควรทําหลังจากนักเรียนมีความรูความเขาใจในเรื่องตางๆ แลว
2. การฝกควรฝกในชวงเวลาไมมากนัก แตควรทําบอยๆ
3. ควรใชกิจกรรมฝกหลายๆ แบบ
4. การฝกควรเริ่มจากงายไปยาก
5. การฝกควรใหนาสนใจและทาทายความสามารถ
6. การฝกควรใหเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนแตละคน ดังนี้นนักเรียนทุกคน
ไมจําเปนตองไดรับการฝกแบบเดียวกัน
จอหนสัน และไรซิง (พรทิพย พรหมสาขา ณ สกลนคร. 2527: 24-25;อางจาก Johnson
and Rising.1969 : 91) ไดกลาววาในการสอนทักษะใหไดผลดีนั้น ครูควรคํานึงถึงวิธีการสอน
และไดเสนอหลักเบื้องตันในการฝกทักษะไวัดังนี้
1. ฝกทักษะตามความตองการของผูเรียน ใหผูเรียนเห็นคุณคาและประโยชนในการฝก
2. ฝกโดยใหติดตามและจัดแบบฝกหัดในการใหคิดมากกวาทําซ้ํา
3. ใหฝกหลังใจมโนมติ ในสิ่งที่เรียนแลว
4. ฝกทําแบบฝกหัดที่มีคําตอบถูกตองและใหคําตอบกับผูเรียนไดตรวจสอบ
5. เนนการฝกเปนรายบุคคล
6. ใชเวลาในการฝกทักษะพอสมควร ไมมากหรือนอยเกินไป ฝกทักษะเฉพระเรื่องที่เปน
ประโยชนจริงๆ
16
7. ใหผูเรียนไดรูโครงสรางทั้งหมดของการฝก และเปนทักษะที่สามารถนําไปประยุกตใช
ได
8. ฝกหลักการวิชาการทั่วๆ ไป มากกวาทําวิธีลัด
9. ใหผูเรียนไดรูวิธีการฝก และเรียนรูดวยตนเอง
10. จัดกิจกรรมหลายๆ แบบในหารฝก เชน เกม การแขงขันทําแบบฝกหัด
จําเนียร ชวงโชติ และคณะ(2521 : 61) ไดกลาวถึงกฎแหงการฝกของธอรนไดด
(Thorndike) ไวดังนี้
1. การเชื่อมโยงจะกระชับมั่นคงยิ่งขึ้นเมื่อมีการใชและจะออนลงเมื่อไดไดใช
2. สิ่งใดที่คนทําบอยๆ หรือมีการฝกเสมอๆ คนยอมกระทําสิ่งนั้นไดดี สิ่งใดที่คนไมไดทํา
นานๆ คนยอมทําสิ่งนั้นไมไดเหมือนเดิม
3. ยิ่งไดกระทําซ้ําในการกระทําอยางใดอยางหนึ่ง ยิ่งทําใหการกระทํานั้นแนนนอน
สมบูรณขึ้นหากวางเวนจากการฝกกระทําบอยๆ การกระทํานั้นๆ จะคอยๆ ลบเลือนไปถากระทํา
พฤติกรรมใดๆ ซ้ําๆ อยูเสมอ จะมีผลทําใหพฤติกรรมนั้นถูกตองสมบูรณยิ่งขึ้น
3.4 หลักในการสรางชุดการฝกทักษะการสะกดคํา
การสรางชุดการฝกเปนสิ่งจําเปนในการสอนเพราะการฝกฝนบอย ๆ และหลาย ๆ ครั้ง ยอม
ทําใหเกิดความชํานาญคลองแคลว มีผูเสนอแนะวิธีการในการสรางชุดฝกไวดังนี้
รัชนี ศรีไพรวรรณ (2517 : 412 – 413) ไดกลาวถึงหลักในการทําชุดการฝกสําหรับ
นักเรียนไว ดังนี้
1. ใหสอดคลองกับหลักจิตวิทยาและพัฒนาการของเด็กและลําดับขั้นการเรียนรูชุดการฝก
ตองอาศัยรูปภาพจูงใจนักเรียน และเปนไปตามลําดับความยากงาย เพื่อใหนักเรียนมีกําลังใจทํา
2. มีจุดมุงหมายวา จะฝกหัดในดานได แลวจัดเนื้อหาใหตรงกับความมุงหมายที่วางไว
3. ตองคํานึงถึงความแตกตางของนักเรียน ถาสามารถแบงนักเรียนตามคามสามารถแลว
จัดทําชุดการฝก เพื่อสงเสริมนักเรียนแตละกลุมไดก็ยิ่งดี
4. ในชุดการฝกตองมีคําชี้แจงงาย ๆ สั้น ๆ เพื่อใหนักเรียนเขาใจ ถาเด็กยังอานไมไดครูตอง
ชี้แจงดวยคําพูดที่ใชภาษางาย ๆ ใหเด็กสามารถทําตามคําสั่งได
5. ชุดการฝกตองมีความถูกตองครูตองพิจารณาดูใหถวนถี่อยาใหมีขอผิดพลาด
6. การใหนักเรียนทําชุดการฝกในแตละครั้ง ตองใหเหมาะสมกับเวลาและความสนใจของ
นักเรียน
7. ควรทําชุดการฝกหลาย ๆ แบบ เพื่อใหนักเรียนรูอยางกวางขวาง และสิ่งเสริมใหเกิด
ความคิด
17
วรนาถ พวงสุวรรณ (2518 : 34 – 37) ไดสรุปหลักการสรางชุดการฝกไวดังนี้
1. ตั้งวัตถุประสงค
2. ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหา
3. ขั้นตาง ๆ ในการสรางชุดการฝก
- ศึกษาปญหาในการเรียนการสอน
- ศึกษาจิตวิทยาวัยรุนและจิตวิทยาการเรียนการสอน
- ศึกษาเนื้อหาวิชา
- ศึกษาลักษณะของชุดการฝก
- วางโครงเรื่องและกําหนดรูปแบบของชุดการฝกใหสัมพันธกับโครงเรื่อง
- เลือกเนื้อหาตาง ๆ ที่เหมาะสมมาบรรจุไวในชุดการฝกใหครบตามที่กําหนด
ยุพิน พิพิธกุล(2524 : 34 – 35) ไดเสนอเทคนิคในการใหนักเรียนทําชุดการฝกไววา
1. ครูตองแนใจวานักเรียนเขาใจวิธีการที่เขาทําซ้ํา ๆ กัน
2. ครูตองคอยใหคําแนะนําอยางใกลชิด และแกไขขอผิดพลาดเสียกอนที่จะติดเปนนิสัย
และทําไปชา ๆ ในระยะเริ่มแรกของการสรางนิสัย
3. ครูตองแนใจวานักเรียนจะไมลืมวิธีการที่ทําเปนครั้งสุดทาย
4. ควรสรางทักษะหนึ่งใหเกงเสียกอนที่จะสรางทักษะอื่น
5. ทําความเขาใจเมื้อหาที่สําคัญเปนประการแรก
6. ครูจะตองติดตามผลการทําชุดการฝกของนักเรียน
7. อยาใหนักเรียนทําชุดการฝกในหัวขอที่ยากและนักเรียนไมทราบวิธี
8. การใหชุดการฝกควรคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล
9. การฝกนั้นควรจะฝกหลาย ๆ ดาน การใหชุดการฝกควรจะใหทีละนอยแตบอยครั้ง
10. ชุดการฝกควรลําดับความยากงาย
ฉวีวรรณ กีรติกร (2537 : 11 – 12) ไดกลาวถึงหลักในการสรางแบบฝกไวดังนี้
1. แบบฝกหัดที่สรางขึ้นนั้น สอดคลองกับจิตวิทยาพัฒนาการและลําดับขั้นตอนการเรียนรู
ของผูเรียน เด็กที่เริ่มมีประสบการณนอยจะตองสรางแบบฝกหัดที่นาสนใจและจูงใจผูเรียนดวยการ
เริ่มจากขอที่งายไปหายาก เพื่อใหผูเรียนมีกําลังใจทําแบบฝกหัด
2. ใหแบบฝกหัดที่ตรงกับจุดประสงคที่ตองการฝก และตองมีเวลาเตรียมการไวลวงหนาอยู
เสมอ
3. แบบฝกหัดควรมุงสงเสริมนักเรียนแตละกลุมตามความสามารถที่แตกตางกันของผู
เรียน
4. แบบฝกหัดแตละชุดควรมีคําชี้แจงงาย ๆ สั้น ๆ เพื่อใหผูเรียนเขาใจหรือมีตัวอยาง
18
แสดงวิธีทําจะชวยใหเขาใจไดดียิ่งขึ้น
5. แบบฝกหัดจะตองถูกตอง ครูจะตองพิจารณาใหดีอยาใหมีขอผิดพลาดได
6. แบบฝกหัดควรมีหลาย ๆ แบบ เพื่อใหผูเรียนไดแนวคิดที่กวางไกล
วรรณ แกวแพรก (2526 : 81) ไดกลาวถึงหลักในการสรางแบบฝกหัดไววา
1. มีความมุงหมายในการสรางแนนอน
2. สรางจากงายไปหายาก คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล
3. ตองจัดทําแบบฝกหัดเสริมทักษะไวลวงหนา โดยทําไวเปนรายเนื้อหาทําเปนบท ๆ
ตามบทเรียนพรอมทําเฉลยไวดวย
4. ตองจัดทําหลังจากสอนบทเรียนหรือเนื้อหานั้น ๆ แลว
นอกจากนี้ วิชัย เพ็ชรเรื่อง (2531 : 77) ยังไดกลาวถึงหลักในการจัดทําแบบฝกวาควรมี
ลักษณะดังนี้
1. แบบฝกตองมีเอกภาพ และสมบูรณในตัว
2. เกิดจากความตองการของผูเรียนและสังคม
3. ครอบคลุมเนื้อหาหลายวิชา โดยบูรณาการใหเขากับการอาน
4. ใชแนวคิดใหมในการจัดกิจกรรม
5. สนองความสนใจ ใครรู และความสามารถของผูเรียนและสงเสริมใหผูเรียนมีสวนรวม
ในการเรียนเต็มที่
6. คํานึงถึงพัฒนาการและวุฒิภาวะของผูเรียน
7. เนนการแกปญหา
8. ครูและนักเรียนไดมีโอกาสวางแผนรวมมือกัน
9. แบบฝกควรเปนสิ่งที่นาสนใจ มีความแปลกใหมสามารถปรับและรับเขาสูโครงสราง
ทางความคิดของเด็กได
จากหลักการสรางชุดการฝกที่กลาวมา สรุปไดวา หลักสําคัญในการสรางชุดการฝกคือตอง
กําหนดวัตถุประสงคที่จะฝาากใหแนนอนวาจะฝกเรื่องอะไร แลวจัดเนื้อหาใหสอดคลองกับ
วัตถุประสงค ทั้งนี้จะตองสรางชุดการฝกใหเหมาะสมกับวัยและระดับความสามารถของผูเรียนและ
ชุดการฝกควรมีหลายรูปแบบ พรอมทั้งเปดโอกาสใหเด็กไดแสดงความคิดเห็นไดอยางกวางขวาง
4. สาระสําคัญที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนรูตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒
กระแสการเปลี่ยนแปลงในโลกและการเกิดวิกฤตการณทางการศึกษาไทย กอใหเกิด
ความสนใจในการศึกษาที่มีคุณภาพ และกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาในประเทศไทย
ครั้งสําคัญขึ้นมาโดยใหมีการประกาศใช พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มีผล
บังคับใชเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2542 พระราชบัญญัติดังกลาว ถือวาเปนกฎหมายแมบททาง
19
การศึกษาฉบับแรกของประเทศไทย กอใหเกิดการตื่นตัวในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขึ้นอยาง
กวางขวางทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งกระแสการตื่นตัวของครู ในการปฏิรูปการเรียนรูใหเปนไป
ตามพระราชบัญญัติที่ไดกําหนดไวในมาตราตาง ๆ ซึ่งกําหนดใหการจัดการเรีนการสอนมุงเนนให
ผูเรียนดํารงชีวิตอยูในสังคมอยางมีคุณภาพ เนนความรูคูคุณธรรม มุงปลูกฝงจิตสํานึกดานการเมือง
สงเสริมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข รูจักภาคภูมิใจในความเปนไทย และ
สงเสริมวัฒนธรรมไทย ตามบทพระราชบัญญัติในหมวด ๔ ซึ่งถือวาเปนหมวดที่สําคัญที่สุดสําหรับ
ครูและผูบริหารการศึกษาในโรงเรียน ไดกําหนดการจัดการกระบวนการเรียนรูประกอบดวยมาตรา
ตาง ๆ ไดแก
มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนา
ตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความ
เหมาะสมของแตละระดับการศึกษาในเรื่องตอไปนี้
(๑) ความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแกครอบครัว
ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรูเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของสังคมไทยและระบบ
การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
(๒) ความรูเรื่องทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งความรูความเขาใจและ
ประสบการณเรื่องการจัดการ กรบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมอยางสมดุลยั่งยืน
(๓) ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทยและการประยุกตใช
ภูมิปญญา
(๔) ความรู และทักษะดานคณิตศาสตร และดานภาษา เนนการใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง
(๕) ความรู และทักษะในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตอยางมีความสุข
มาตราที่ ๒๔ การจัดการกระบวนการเรียนรู ใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของ
ดําเนินการตอไปนี้
(๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียนโดย
คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล
(๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมา
ใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา
20
(๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทํา
เปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง
(๔) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวน
สมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรมคานิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา
(๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียนและ
อํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปน
สวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการ
สอนและแหลงวิทยาการประเภทตาง ๆ
(๖) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดก
มารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ
5. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต1.1 เขาใจกระบวนการอานและการฟง สามารถตีความเรื่องที่ฟงและอาน
จากสื่อประเภทตาง ๆ และนํามาใชอยางมีวิจารณญาณ
มาตรฐาน ต1.2 มีทักษะในการสื่อสารทางภาษา แลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารและแสดง
ความรูสึกโดยใชเทคโนโลยีและการจัดการที่เหมาะสมเพื่อการเรียนรู
ตลอดชีวิต
มาตรฐาน ต1.3 เขาใจกระบวนการพูด การเขียน และสื่อสาร ขอมูล ความคิดเห็นและ
ความคิดรวบยอดไดอยางสรางสรรค มีประสิทธิภาพ และมีสุนทรียภาพ
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต2.1 เขาใจความสัมพันธระหวางภาษาวัฒนธรรมของเจาของภาษาและ
ปฏิบัติตนไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต2.2 เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษา และวัฒนธรรมของ
เจาของภาษาที่เรียนกับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใชไดดวยเจต
คติที่ดี
6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ
แนงนอย เพียรสุขสวัสดิ์ (2525 : 43) ไดเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การสะกดคําภาษาไทย
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่5 ในโรงเรียนวัดบางขุนนนท และโรงเรียนบางเสาธง
กรุงเทพมหานคร ระหวางการสอนแบบใชเกมและการสอนแบบธรรมดา กลุมตัวอยางแบงออกเปน
21
กลุมทดลองและกลุมควบคุมกลุมละ 30 คน ผลการวิจัยปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ
ความคงทนในการจําการสะกดคําภาษาไทยของกลุมที่ไดรับการสอนแบบใชเกม และกลุมที่สอน
แบบธรรมดาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุมที่รับการสอนแบบใชเกมมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจําการสะกดคําภาษาไทยสูงกวานักเรียนที่ไดรับการ
สอนแบบธรรมดา
____________ . ไดศึกษาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธการเขียนสะกดคําที่ไดรับการสอนโดยใช
เกมปกติกับเกมคอมพิวเตอร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนคํามวงจรัสวิทย อําเภอคํา
มวง จังหวัดกาฬสินธุ โดยกลุมตัวอยางคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนคํามวงจรัสวิทย
สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอคํามวง จังหวัดกาฬสินธุ จํานวน 40 คน โดยการสุมอยาง
งาย ผลการวิจัยปรากฏวา
1. นักเรียนที่ไรับการสอนโดยใชเกมปกติกับนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชเกมคอมพิวเตอร
มีคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังการทดลอง และพบวาคาเฉลี่ยของนักเรียนกลุมที่ไดรับการสอนโดยใชเกม
ปกติสูงกวานักเรียนกลุมที่ไดรับการสอนโดยใชเกมคอมพิวเตอร
2. นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชเกมปกติกับนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชเกมคอมพิวเตอร
หลังการทดลอง มีผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําภาษาไทยไมแตกตางกัน
3.ผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําภาษาไทยระหวางเพศชายกับเพศหญิงไดรับการสอนโดยเกม
ปกติไมแตกตางกัน
4.ผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําภาษาไทย ระหวางเพศชายและเพศหญิงที่ไดรับการสอนโดยใช
เกมคอมพิวเตอรแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
22
บทที่ 3
วิธีดําเนินการวิจัย
การศึกษาคนควาครั้งนี้มีวิธีการดําเนินการศึกษาคนควาดังรายละเอียดตามลําดับตอไปนี้
1. ประชากรและกลุมตัวอยาง
2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
3. การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย
4. วิธีการดําเนินการวิจัย
5. สถิติที่ใชการวิเคราะหขอมูล
ประชากรที่ใชในการวิจัย
ประชากรและกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 / 4 โรงเรียนเซนตหลุยส
ฉะเชิงเทรา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 จํานวน 38 คน ไดมาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง
(Purposive )
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
1. แบบฝกทักษะการเขียนสะกดคําภาษาไทย จํานวน 5 ชุด
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําภาษาไทยกอนและหลังการ ใชแบบฝก
(Pretest - Posttest)
วิธีการสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย
1. ศึกษาหลักสูตรและผลการเรียนรูที่คาดหวังของวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถม
ศึกษาปที่1
2. ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการสอนภาษาไทย และการสรางแบบฝก
3. จัดทําแบบฝกทักษะการเขียนสะกดคําภาษาไทย และแบบวัดผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกด
คําภาษาไทย ใหสอดคลองกับเนื้อหาในบทเรียน ใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตองดานเนื้อหา
ของแผนการสอน และแบบวัดผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําภาษาไทย
23
วิธีการดําเนินการวิจัย
1. ทดสอบกอนเรียน
2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนดวยการใชแบบฝกทักษะการเขียนสะกดคําภาษาไทย
3. ทดสอบหลังเรียน
สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
1. สถิติพื้นฐาน
1.1 คาเฉลี่ย (X) ใชสูตร (ชูศรี วงศรัตนะ, 2541 : 36)
เมื่อ X แทน ตัวกลางเลขคณิตหรือคาเฉลี่ย
X แทน ผลรวมทั้งหมดของขอมูล
N แทน จํานวนขอมูลทั้งหมด
1.2 คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation ) ใชสูตร (ลวน
สายยศ และอังคณา สายยศ. 2536 : 64)
เมื่อ SD แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
X แทน ผลรวมของคะแนน
X2
แทน ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกําลังสอง
n แทน จํานวนกลุมตัวอยาง
 
 1nn
XXn
SD
22




N
X
X

24
2. สถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐาน
2.1 เปรียบเทียบความแตกตางกอนและหลังไดรับการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการเขียน
สะกดคําภาษาไทย โดยการหาคา t – test Dependent (ชูศรี วงศรัตนะ. 2537 : 201)
เมื่อ t แทน คาสถิติที่ใชพิจารณาใน t – distribution
n แทน จํานวนคูของขอมูล
D แทน ผลตางของคะแนนแตละคู
 
1-n
DDN
D
t
22
 



25
บทที่ 4
ผลการวิเคราะหขอมูล
สัญลักษณที่ใชในการ วิเคราะหและแปลผลขอมูล
N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง
X แทน คะแนนเฉลี่ย
SD แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Max แทน คะแนนสูงสุด
Min แทน คะแนนต่ําสุด
t แทน คาสถิติที่ใชพิจารณา t- test for Dependent Samples
* แทน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
** แทน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
ตารางที่ 1 คาสถิติพื้นฐานคะแนนผลสัมฤทธิ์การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทยโดยใชแบบฝก
ทักษะการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 จํานวน 38 คน
( N=38)
แบบทดสอบ การทดสอบ คะแนนเต็ม Min Max X SD
แบบทดสอบการอาน
และเขียนสะกดคํา
ภาษาไทย
กอนเรียน 10 1 5 3.00 0.97
หลังเรียน 10 7 10 8.11 0.98
จากตารางที่ 1 เมื่อพิจารณาจากการทดสอบกอนเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4
พบวาคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนมีคาเทากับ 3.00 สวนการทดสอบหลังเรียนพบวามีคะแนนเทากับ
8.11 ซึ่งจะเห็นไดวานักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังการใชแบบฝกทักษะการการอาน
และเขียนสะกดคําภาษาไทย สูงกวาคะแนนจากการทดสอบกอนเรียน
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย

More Related Content

What's hot

การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Miaการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ MiaPrakasani Butkhot
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องBenjarat Meechalat
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยppisoot07
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3Milmilk
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษGratae
 
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...aphithak
 
คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3sripayom
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 

What's hot (19)

ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 
สื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอนสื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอน
 
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Miaการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษ
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
 
คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 

Similar to งานวิจัย

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Beeby Bicky
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาsuchinmam
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..jiraporn1
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานสุชาติ องค์มิ้น
 

Similar to งานวิจัย (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
 
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
interactive M 4
interactive M 4interactive M 4
interactive M 4
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 

งานวิจัย

  • 1. งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการอานและเขียน สะกดคําภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 นางสาววัสยามน มิ่งระหงษ โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ประจําปการศึกษา 2553
  • 2. 2 งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการอานและเขียน สะกดคําภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 นางสาววัสยามน มิ่งระหงษ โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ประจําปการศึกษา 2553
  • 3. 3 บทที่ 1 บทนํา ภูมิหลัง ในสภาวะปจจุบันความเจริญกาวหนามาก ประชาชนสามารถติดตอกันไดทั่วโลก เพราะ ระบบการคมนาคมการสื่อสาร และเทคโนโลยีนานาชนิดเจริญรุดหนาไปไกล ภาษาจึงเปน สิ่งจําเปนในการติดตอสื่อสารเพื่อใหการติดตอสื่อสารประสบความสําเร็จ และปจจุบันภาษาไทยจึง เปนภาษาที่มีความสําคัญมากภาษาหนึ่ง สาระการเรียนรูภาษาไทยโรงเรียนเซนตหลุยสไดจัดการเรียนรูโดยคํานึงถึงพัฒนาการทาง รางกาย และสติปญญา วิธีการเรียนรู ความสนใจ และความสามารถของผูเรียน อยางมีกระบวนการ และวิธีการที่หลากหลาย เนนการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง การเรียนรูดวยตนเอง การ เรียนรูรวมกัน การเรียนรูจากธรรมชาติ การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และการเรียนรูแบบบูรณาการ ซึ่งสอดคลองตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๒๒ ที่กําหนดแนวทางใน การจัดการศึกษาไววา การจัดการศึกษาตองยึดหลักผูเรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรูและ พัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนสําคัญที่สุด ดังนั้นการเรียนภาษาไทยในปจจุบันจึงเปนแนวการ สอนเพื่อการสื่อสาร จึงตองเนนผูเรียนไดฝกทักษะในการเรียนภาษาทั้ง 4 ดาน คือทักษะการฟง การพูด การอาน และการเขียนไปพรอม ๆ กัน (สันติ แสงสุก. 2535 : 1) ซึ่งทักษะทัง 4 ดานลวนมี ความสําคัญเทา ๆ กัน แตทักษะที่นับวามีปญหามาก คือ ทักษะการเขียนเปนทักษะที่ยากที่สุดใน บรรดาทักษะทั้ง 4 ดาน (สุไร พงษทองเจริญ. 2525 : 122) ซึ่งมีนักเรียนจํานวนไมนอยที่สามารถ ฟงพูดภาษาไทยได แตเขียนไมได อานไมออก โดยเฉพาะทักษะการเขียนสะกดคํา ที่เปน องคประกอบสําคัญตอการวางรากฐานในการเขียนที่สามารถนําไปใชกับทักษะอื่น ๆ ไดดีถาเขียน สะกดคําไดถูกตอง (สมใจ ศรีสินรุงเรือง. 2532 : 2 ) จากการเปดสอนหลักสูตรภาษาไทยในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่ผานมา พบวา นักเรียนสามารถเขาใจฟงและพูดภาษาไทยไดบางแตปญหาที่พบคือการเขียนนักเรียนไมสามารถจํา พยัญชนะและสระในบทเรียนได ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาวิธีการแกปญหาดังกลาว ดวยวิธีการใช แบบฝกทักษะการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทยกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 โรงเรียน เซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูให มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  • 4. 4 จุดมุงหมายในการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่2/4 ภาคเรียนที่2 ปการศึกษา2553 2.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 25523 ระหวางการสอนกอน – หลัง การใช แบบฝกทักษะการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย ความสําคัญของการวิจัย ผลของการศึกษาคนควาครั้งนี้ จะเปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยให มีประสิทธิภาพตอไป สมมติฐานการวิจัย 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 มีผลสัมฤทธิ์การอาน และเขียนสะกดคําภาษาไทยสูงขึ้น 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 ที่ไดใชแบบฝกทักษะ การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย มีผลสัมฤทธิ์กอน – หลังตางกัน ขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 / 4 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 จํานวน 38 คนโดยการ เลือกแบบเจาะจง (Purposive ) ระยะเวลาการทดลอง ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง การทดลองครั้งนี้ใชเวลาทดลอง เดือนพฤศจิกายน 2553
  • 5. 5 ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ ไดแก การใชแบบฝกทักษะการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย ตัวแปรตาม ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่2/4 ภาคเรียนที่2 ปการศึกษา 2553 เนื้อหา การเรียนวิชาภาษาไทย ที่ใชในการทดลองครั้งนี้เปนคําในบทเรียน ซึ่งเปนคํายาก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่2 จํานวน10 คํา คือ นิยามศัพทเฉพาะ 1. การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย หมายถึง การเขียนที่เรียงลําดับพยัญชนะของคํา ไดถูกตองและมีความหมายตามพจนานุกรม 2. แบบฝกทักษะการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย หมายถึง ชุดการฝกทักษะการอาน และเขียนสะกดคําภาษาไทย ซึ่งเปนเครื่องมือที่ชวยใหเกิดการเรียนรูที่เกิดจากการกระทําจริง เปน ประสบการณตรงที่ผูเรียนมีจุดมุงหมายแนนอนทําใหนักเรียนเห็นคุณคาของสิ่งที่เรียน สามารถ เรียนรูและจดจําสิ่งที่เรียนไดดี และนําไปใชในสถานการณเชนเดียวกันได 3. ผลสัมฤทธิ์การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย หมายถึง ความสามารถของนักเรียนใน การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย กอนและหลังการใชแบบฝก โดยใชแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย 4. นักเรียนหลักสูตรภาษาไทย หมายถึง นักเรียนที่เรียนหลักสูตรภาษาไทยในระดับชั้น ประถมศึกษาปที่2 หอง 4
  • 6. 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ และไดนําเสนอตามหัวขอ ตอไปนี้ 1. หลักการ แนวคิดและทฤษฎีการจัดการเรียนรู 2. ทฤษฎีเกี่ยวกับการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย 3. ทฤษฎีเกี่ยวกับแบบฝกทักษะหลักการใชภาษา 4. สาระสําคัญที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนรูตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ 5. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 1. แนวคิดและทฤษฎีการจัดการเรียนรู ในการทําการศึกษาคนควาครั้งนี้ ไดนําหลักการเรียนรูของเลวิน (Lewin’s Field Theory) มา เปนแนวทาง ซึ่งทฤษฎีนี้มีหลักการวา “การเรียนรูเกิดจากการเปลี่ยนแปลงความรูความเขาใจเดิม เกิดจากการกระทําซ้ํา ๆ ไดจากการแกปญหา หรือมีการเปลี่ยนการจูงใจ ทําใหเกิดความรูความ เขาใจอยางแจมแจง การนําหลักทฤษฎีการเรียนรูของเลวินไปใชในการเรียนการสอน 1. ครูใชวิธีการกลุมสัมพันธ เพื่อใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธกับครู จะไดเกิดการเรียนรูดวย ความเขาใจ 2. ครูจัดใหมีศูนยการเรียนในหองเรียน มุงเนนนักเรียนเปนศูนยกลางเพื่อใหนักเรียนเรียนรู ดวยความเขาใจ 3. ใหนักเรียนตั้งเปาหมายของชีวิต เปาหมายในแตละวิชา และในแตละบทเรียน เพื่อให การเรียนและการดําเนินชีวิตมีเปาหมายที่ชัดเจน 4. ใชวิธีการจูงใจเพื่อกระตุนใหนักเรียนตอบสนองอยางเขมขนตอบทเรียน 5. ฝกใหนักเรียนรูจักแกปญหาในเกมงาย ๆ หรือปญหางาย ๆ และยากขึ้นตามลําดับ
  • 7. 7 การเรียนรูภาษา ประสาท อิศรปรีดา (2523 : 143 – 153) ไดกลาวถึงการเรียนรูภาษาในดานตาง ๆ วา ภาษามีความสําคัญอยางยิ่งตอการเรียนรูและพัฒนาการทางสติปญญาดานความคิดของมนุษย เพราะ ภาษาเปนเครื่องมือที่จะชวยใหเกิดการเรียนรูและเปนเครื่องมือที่จะใชวินิจฉัยคุณภาพทางสติปญญา ทางความคิดของบุคคล และอาจกลาวไดวา การเรียนรูภาษา ก็คือการเรียนรูรหัสหรือสัญลักษณ ซึ่ง รหัสหรือสัญลักษณอาจจะเปนทั้งภาษาดานถอยคํา และการแสดงออกดวย อากัปกิริยาทางรางกาย ตอวัตถุและสิ่งแวดลอม ซึ่งมีความเกี่ยวของกับสิ่งตอไปนี้ 1. ธรรมชาติของการเรียนรูภาษา ตามความคิดของการเย การเรียนรูภาษาก็คลาย ๆ กับการเรียนรูทักษะ กลาวคือ การเรียนรู ภาษาและการเรียนรูทักษะตางก็เปนการเรียนรูที่ประกอบกิจกรรมตอเนื่องตามลําดับ หรือเปนสาย โซ (Chain) ของความสัมพันธระหวางสิ่งเราการตอบสนองตั้งแต 2 คูขึ้นไป แตการเรียนรูทั้งสองก็ ตางกัน ในแงที่การเรียนรูทักษะจะเกี่ยวกับการตอบสนองดานกลไกหรือกลามเนื้อ สวนการเรียนรู ภาษาจะเปนเรื่องของการใชถอยคํา ซึ่งไดแก การออกเสียงเปนพยางค เปนคํา ฯลฯ 2. พัฒนาการทั่วไปของการเรียนรูภาษา ภาษามนุษยเริ่มขึ้นดวยการรองไหเมื่อแรกเกิด กอนที่จะมีความคิดและการสื่อสาร พัฒนาการจะตอเนื่องดวยการทําเสียงในลําคอเหมือนนกกู มีขอสังเกตวา พัฒนาการทางภาษาจะเรื่อ ดวยการเคลื่อนไหวของอินทรียทาทาง และความพยายามที่จะออกเสียงในรุยะแรก ๆ เขาจะออก เสียงเปนพยัญชนะตัวใดตัวหนึ่งเพียงตัวเดียว เชน อืมม ออ แลวจึงพัฒนาการไปสูการออกเสียงเปน พยัญชนะผสมกับสระ2 ตัว เชน แบ แว ดู พัฒนาการขั้นตอไป คือ การเขาใจศัพท แตยังไมสามารถสื่อความหมายได ระยะนี้เด็กจะ แสดงทาทางที่เขาใจรําวา น้ํา สุนัข นม หรืออาบน้ํา แตเขายังไมอาจพูดได หลังจากขั้นนี้เด็กก็จะ เรียนรูความหมายของคํา เขาจะสามารถใชคําที่ตองการได เมื่อเด็กมีอายุประมาณ 5 – 6 ป หลังจากที่เด็กพรอมที่จะอานไมนานนัก โดยจะเริ่มสอน พื้นฐานในการเขียน เพราะเด็กสวนมากสนใจในการเขียนศัพทที่เขาพูดบอย ๆ และสนใจที่จะเรียน การอานชื่อของตน ไมนานนักเด็กก็จะสามารถสะกดคําบางคําได เมื่อเด็กมีอายุประมาณ 9 – 10 ป เด็กสวนมากก็จะมีวุฒิภาวะเพียงพอที่จะเรียนรูภาษาทั้ง ดานการอาน เขียน ฟงและพูด พอถึงอายุประมาณ 12 – 14 ป ซึ่งเปนระยะที่เด็กเรียนในชั้นสูงขึ้น กวาระดับประถม (Intermediate Grades) เขาก็จะมีพัฒนาการดานภาษาอยางกวางขวางกาวหนา รวดเร็วมาก สามารถจะประยุกตความรูทางภาษาไปใชในการเรียนวิชาอื่น ๆ อีกดวย 3. แนวการสอนเพื่อพัฒนาใหเกิดการเรียนรูภาษา แนวการสอนเพื่อใหเกิดการเรียนรูดานภาษา มีลําดับขั้นที่สําคัญพอจะสรุปไดดังนี้
  • 8. 8 ขั้นที่1 อธิบายใหเด็กทราบวา ทานหวังที่จะใหเขาเรียนอะไรในขั้นนี้ เปนขั้นที่ครู จะตองเตรียมนักเรียนกอนที่จะเริ่มเรียน เพื่อใหเด็กมีความจงใจ ตั้งใจและใหรูเปาหมายถึงทิศทาง ในการเรียน ขั้นที่ 2 การพิจารณาตรวจสอบเนื้อหา เพื่อใหมีความหมายสําหรับผูเรียน การ พิจารณาตรวจสอบเนื้อหา เพื่อใหมีความหมายสําหรับผูเรียนกอนที่จะเริ่มสอนจําเปนมากที่ครู จะตองพิจารณาวาคําที่ใชสอนเด็กตองเต็มไปดวยความหมาย การสอนภาษาแกเด็ก ควรจะเลือกใช คําที่เด็กตองใชบอย ๆ ครูควรตระเตรียมเนื้อหาทั้งภาษาเขียน ภาษาพูดใหเหมาะสมแกระดับ การศึกษาของเด็ก ขั้นที่ 3 การตรวจสอบและประเมินความรูเดิมของผูสอนการตรวจสอบความรูเดิม ของเด็ก และมีคุณคาในการจัดเนื้อหาใหมใหมีความหมายและสัมพันธกับระดับความรูเดิมของเด็ก อีกดวย ขั้นที่ 4 จัดใหมีการฝกหรือปฏิบัติอยางเหมาะสม สิ่งสําคัญของครูที่จะตองทําใน ขั้นนี้ ไดแก 1. การใหโอกาสแกเด็กที่จะตอบสนองในสิ่งที่จําเปน 2. กําหนดเวลาการฝก ซึ่งอาจเปนแบบใหฝกรวดเดียวโดยไมตองพัก (Massed Practice) หรือแบบใหฝกและพักสลับกัน (Distributed Practice) ตามความเหมาะสม 3. ทดสอบหาระดับความกาวหนาของผูเรียน พิจารณาใหฝกซ้ํา ๆ เมื่อ ไดผลไมเปนที่พอใจ ขั้นที่ 5 ใหมีความรูที่จะตอบอยางถูกตอง การที่จะใหเด็กเกิดความรูที่จะ ตอบสนองอยางถูกตองนั้น ครูจะตองพิจารณาใชการบอกแนะ (Prompting) หรือการเสริมแรง (Confirmation หรือ Reinforcement) ขั้นที่ 6 จัดสภาวะที่จะรบกวนหรือการสอดแทรกในขั้นนี้ ตองขจัดอิทธิพลของ องคประกอบที่จะเปนสาเหตุรบกวนหรือสอดแทรก ทําใหเกิดการลืม ขั้นที่7 การใชวิธีการวัดผลที่เหมาะสม การวัดผลที่เหมาะสมนั้นครูจะตองคํานึงถึง จุดมุงหมายที่ตั้งไว การวัดผลที่ดีจะตองสอดคลองกับจุดมุงหมายสภาวะพื้นเพของผูเรียนและ กระบวนการสอน 2.ทฤษฎีเกี่ยวกับการอานและเขียนสะกดคํา การอานและเขียนสะกดคํา มีความจําเปนอยางยิ่งในการเรียนการสอน เพราะเปนทักษะที่ ตองฝกฝนอยางสม่ําเสมอ และมีนักการศึกษาตาง ๆ ไดใหความหมายของการอานและเขียนสะกด คํา ดังนี้
  • 9. 9 กูด (Good. 1945 : 383) ไดใหความหมายของการอานและเขียนสะกดคําไววา การอานและเขียนสะกดคําเปนวิธีการจําตัวอักษรได เกิดจากการใชสื่อหรือออกเสียงตัวอักษรเปน ตัว ๆ ไป หรือเมื่อเขาเปนคํา ๆ หนึ่งที่ทุกคนยอมรับ วอลลินส (Vallins. 1965 : 16) ไดใหความหมายวา การสะกดคําสวนใหญ คือ เรื่องราวเกี่ยวกับตา เวลาอานหนังสือ ผูอานจะเนนกระสวนของคําบนกระดาษ ซึ่งจะแสดงใหเห็น ถึงความหมายของคําโดยไมเกี่ยวของกับเรื่องเสียงเลย กลาวโดยสรุปวา การเขียนสะกดคํา เปนการจําตัวพยัญชนะตามความหมายของรูป คํานั้น ๆ เมื่อออกเสียงเปนคํา ๆ หนึ่ง ที่เขาใจความหมายของคํานั้นรวมกัน 2.1 ความสําคัญของการอานและเขียนสะกดคํา สุนันท จงธนสารสมบัติ (2525 : 4) ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานและเขียนสะกดคํา ใหถูกตองหรือการสะกดตัววา การสะกดตัวเปนทักษะที่สําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอชีวิตประจําวัน และความเปนอยูของบุคคลในปจจุบัน เพราะการสะกดตัวไดถูกตองจะชวยอานหนังสือออกและ เขียนหนังสือไดถูกตอง ยุพดี พูลเวชประชาสุข(2525 : 5) ไดใหความเห็นสอดคลองกับประเทิน มหาขันธ ไววา การสอนเขียนสะกดคําเปนแนวทางที่จะนําไปสูการเขียนหนังสือไดถูกตอง สิทธิศักดิ์ โหมดหิรัญ (2526 : 9) ไดใหความเห็นวา การเขียนใหถูกตองนั้นเปนสิ่งสําคัญ มาก เพราะนอกจากจะสื่อความหมายแกผูอานไดถูกตองแลวมองผลงานเขียนวามีคุณคา ซึ่งทําให ผูเขียนไดรับความเชื่อถือ และประสบความสําเร็จอีกดวย ลูนเบอร (Luneburg . 1959 : 179) ไดกลาวถึง การเขียนสะกดคําวา มีบทบาทใน ชีวิตประจําวัน การสะกดคําผิดจะลดประสิทธิภาพของการเขียนลง และมีแนวโนมที่จะพิจารณา กําหนดหรือตัดสินระดับคุณภาพของการศึกษาของบุคคลจากอัตราความถูกตองในการสะกดคําของ บุคคลนั้น เลวิส (Lewis . 1963 : 7) ไดกลาวถึงการสะกดคําไววา โอกาสที่จะเขียนหนังสือสะกด คําผิดนั้นมีมาก การเขียนผิดจะทําใหผูอื่นมองความสามารถในการเขียนของผูเขียนลดลง ทั้งยัง กระทบถึงผลประโยชนที่สําคัญ ๆ ของผูเขียนอีกดวย สรุปไดวา การอานและเขียนสะกดคํามีความสัมพันธในการเขียน เพราะเปนพื้นฐาน เบื้องตนที่จะนําไปสูทักษะการฟง การพูด การอาน เพราะถาเราไมสามารถเขียนสะกดคําไดถูกตอง ยอมกอใหเกิดความผิดพลาดในการสื่อความหมาย ถาเขียนสะกดคําผิดความหมายก็แปรเปลี่ยนไป หรืออาจไมมีความหมายเลยก็ได
  • 10. 10 2.2 ความมุงหมายของการอานและเขียนสะกดคํา บุญปก ออนเผา (2526 : 11 – 21) ไดสรุปจุดมุงหมายในการสอนสะกดคําไวดังนี้ 1. มุงใหเด็กรูจักรูปคําการเขียนสะกดคําที่ดี 2. มีความสามารถที่เขียนคําตาง ๆ ไดถูกตอง เด็กจะตองเรียนรูคํา ฝกออกเสียง เรียนรูความสัมพันธของตัวอักษรกับเสียง สามารถจัดรูปของคํา จําลําดับอักษรได จึงจะสามารถ เขียนสะกดคําไดถูกตอง ฮอรน(Horn. 1954 : 14 – 15) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายสะกดคําไวดังนี้ 1. หาทางพัฒนาความสามารถในการอานและเขียนสะกดคําของนักเรียน โดยไม จํากัด เพียงการฝกเฉพาะคําที่นักเรียนรูจักเทานั้น 2. การสะดกคําจัดวาเปนทักษะที่สัมพันธกับภาษาที่จุดมุงหมายที่จะสงเสริมความ ตั้งใจของนักเรียนในการแสดงความรูจัดดวยการเขียน 3. เขียนและฝกการสะกดคํา เพื่อเปนเครื่องมือในการเขียนของนักเรียน 4. การสะกดคํา ตองตั้งจุดมุงหมายเฉพาะในการสอน โดยพิจารณาจากความแตก ตางของนักเรียน พื้นฐานประสบการณของนักเรียนแตละคนความสามารถในการเรียนรูและความ ตองการเปนหลัก พอจะสรุปไดวา ความมุงหมายของการสะกดคํา คือ มุงใหนักเรียนสามารถอานและเขียน สะกดคําไดถูกตองเปนทักษะพื้นฐานเบื้องตนที่จะนําไปสูการนําคําตางๆไปใชไดถูกตองที่จะ ความสัมพันธกับทักษะอื่น ๆ ตอไป 2.3 หลักการสอนการอานและเขียนสะกดคํา สุนทร สุนันทชัย (2511 : 21 – 24) ไดเสนอแนะวิธีสอนสะกดคําไวดังนี้ 1. ใหทองจําโดยออกเสียงสระและพยัญชนะที่ประกอบเปนคําแตละคําหลาย ๆ ครั้งจนจําได เชน ม- อ - ง = มอง , ส –แ –ง = แสง เปนตน 2. ใหเขียนคํานั้น ๆ หลายครั้งจนจําไดคําใดที่เขียนบอย ๆ ครั้งมักจะเขียนไมผิด 3. เขียนคําใหมไวบนกระดานดํา หรือเขียนใสบัตรคําติดไวบนปายหนาชั้นเรียน ใหนักเรียนเห็นบอย ๆ จนชินตา 4. แยกคําออกเปนพยางค เชน รอง ไห เพื่อใหนักเรียนสังเกตสวนตาง ๆ ที่แยก ไวนั้น โดยพินิจพิเคราะหเพื่อเปนอุบายใหจดจําคํานั้นไดงาย 5. สอนหลักการสะกดตัวให ประเทิน มหาขันธ (2519 : 65 – 66) ไดเสนอลําดับขั้นตอนการสอนสะกดคําไว และการ สรางความพรอมในการสะกดคําแกเด็ก ไดดังนี้
  • 11. 11 ขั้นที่ 1 ความหมายของการออกเสียง ใหนักเรียนเขาใจความหมายของคํา มองดู พรอมกับออกเสียงคํานั้นและสามารถที่จะใชคํานั้นแตละประโยค ขั้นที่ 2 การมองเห็นรูปคํา ใหนักเรียนเห็นรูปคําที่สะกด และออกเสียงคํานั้น ๆ เปนพยางคทีละพยางค และสะกดเปนคําอีกครั้งหนึ่ง ขั้นที่3 การระลึกคําคือ ใหมองดูคําแลวสะกดคํานั้นโดยไมตองดู ขั้นที่4 การเขียนคํานั้นใหถูกตอง ขั้นที่5 การทบทวน ใหนักเรียนเขียนคําโดยไมตองดูแบบ ประเทิน มหาขันธ มีความเห็นเกี่ยวกับความพรอมในการอานและเขียนสะกดคําของเด็กวา เด็กจะพรอมที่จะสะกดคําตอเมื่อเด็กตองการอาน และเขาไดเสนอแนะการสรางความพรอมในการ สะกดคําแกเด็กไวดวย ดังนี้ 1. ใหเด็กสังเกตคําที่ครูหรือนักเรียนเขียนติดไวในหองเรียน 2. ใหเด็กเลนตัวอักษร 3. ใหรูจักสังเกตคําที่เหมือนกัน และแตกตางกัน 4. ใชอุปกรณการสอน เชน แผนปายหมุน บัตรคํา กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ (2524 : 49 – 50) ไดเสนอแนะกระบวนการสอนเขียน สะกดคํา ไวดังนี้ 1.ใหนักเรียนเห็นคํา 2. ใหนักเรียนไดยินการออกเสียงคําที่ชัดเจนถูกตอง 3. ใหนักเรียนฝกออกเสียงคําที่จะเขียนใหชัดเจนถูกตอง 4.ใหนักเรียนรูความหมายและการใชคํานั้น 5. ใหนักเรียนสะกดคํานั้นได 6. ใหนักเรียนเขียนคํา คิง (King. 1965 : 1) ไดกลาวถึงวิธีการฝกความสามารถในการสะกดคําไวดังตอไปนี้ 1. ตรวจ (Examine) ตรวจสอบคําแตละคําอยางระมัดระวัง เชน คําที่มีอุปสรรค ปจจัย และบันทึกไว 2. ออกเสียง (Pronounce) ออกเสียงคําอยางถูกตอง และคําตึงการสะกดคําแตละ พยางค 3. สะกดคํา(Spell) สะกดคํานั้น ๆ ดัง ๆ ปดคําที่สะกดแลวสะกดคําอีกครั้งหนึ่ง 4. เขียน (Write) เขียนคํานั้น ๆ5 – 10 ครั้ง ตรวจดูวาถูกตองหรือไม 5. ใช (Use) ใชคํานั้นมาแตงประโยค 6. ทบทวน(Review) ทบทวนแตละคําในวันตอไป เมื่อมีความสงสัยเกี่ยวกับ
  • 12. 12 การสะกดคําใด ใหคนจากพจนานุกรมแลวดําเนินการตามขบวนการทั้งหกขั้นจะทําใหสะกดคําได ถูกตองและแมนยํา สรุป หลักการสอนการเขียนสะกดคํา ครูผูสอนควรมีหลักเกณฑในการสอนวามีวิธีการใด ที่จะใหนักเรียนสามารถเขียนสะกดคําไดถูกตอง โดยสัมพันธกับ การฟง การอาน การพูด และการ เขียน เขาใจความหมาย จดจําคําศัพทได ฝกการเขียนคําศัพทจนสามารถเขียนไดถูกตอง และนําไป ประยุกตใชในบทเรียน 3. ทฤษฎีเกี่ยวกับแบบฝก 3.1 ความหมายของชุดการฝกทักษะการสะกดคํา ชุดการฝกในภาษาไทยมีชื่อเรียกกันแตกตางกันออกไป เชน ชุดการฝก แบบฝก แบบฝกทักษะ แบบฝกหัด แบบฝกทักษะ เปนตน ซึ่งมีผูใหความหมายของการฝกไวตาง ๆ กันดังนี้ กูด (Good. 1973: 224) กลาววา ชุดการฝก หมายถึง งานหรือการบานที่ครู มอบหมายใหนักเรียนทําเพื่อทบทวนความรูที่เรียนมาแลว และเปนการฝกทักษะการใชกฎสูตรตาง ๆ ที่เรียนไป วีระ ไทยพานิช (2529 : 11) สรุปไดวา ชุดการฝกเปนเครื่องมือที่ชวยใหเกิดการ เรียนรูที่เกิดจากการกระทําจริง เปนประสบการณตรงที่ผูเรียนมีจุดมุงหมายแนนอนทําใหนักเรียน เห็นคุณคาของสิ่งที่เรียน สามารถเรียนรูและจดจําสิ่งที่เรียนไดดี และนําไปใชในสถานการณ เชนเดียวกันได วาสนา สุพัฒนา (2530 : 11) กลาววา ชุดการฝก หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่ครู มอบหมายใหนักเรียนทําเพื่อทบทวนความรูตางๆ ที่ไดเรียนมาแลว ซึ่งจะทําใหผูเรียนเกิดทักษะ และเพิ่มทักษะซึ่งสามารถนําไปใหแกปญหาได อัจฉรา ชีวพันธ และคณะ (2532 : 102) ไดกลาววาชุดการฝก หมายถึง สิ่งที่สราง ขึ้นเพื่อเสริมความเขาใจ และเสริมเพิ่มเติมเนื้อหาบางสวน ที่ชวยใหนักเรียนไดปฏิบัติและนําเอา ความรูไปใชไดอยางแมนยํา ถูกตอง คลองแคลว ประพนธ จายเจริญ (2536 : 8) กลาววาชุดการฝก หมายถึงสิ่งที่ผูสอนมอบหมาย ใหผูเรียนกระทําเพื่อฝกฝนเนื้อหาตาง ๆ ที่ไดเรียนไปแลวใหเกิดความชํานาญและใหผูเรียนสามรถ นําไปใชในชีวิตประจําวันได กติกา สุวรรณสมพงศ (2541 : 40) การจัดประสบการณฝกหัด โดยใชวัสดุ ประกอบการสอน หรือเปนกิจกรรมใหผูเรียนกระทําดวยตนเอง เพื่อฝกฝนเนื้อหาตางๆ ที่ไดเรียน ไปแลวใหเขาใจดีขึ้น และในสถานการณอื่น ๆในชีวิตประจําวัน
  • 13. 13 สุกิจ ศรีพรหม(2541 : 68) ไดใหความหมายไววา ชุดการฝก หมายถึง การนําสื่อ ประสมที่สอดคลองกับ เนื้อหาและจุดประสงคของวิชามาใชในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ ผูเรียนเพื่อใหเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ จากความหมายของชุดการฝกที่กลาวมา พอสรุปไดวา ชุดการฝก หมายถึง งานหรือ กิจกรรมที่ครูผูสอนมอบหมายใหนักเรียนกระทําเพื่อฝกทักษะและทบทวนความรูที่ไดเรียนไปแลว ใหเกิดความชํานาญ สามารถนําความรูไปใชแกปญหาระหวางเรียน และในชีวิตประจําวันได อีกทั้ง ยังเปนเครื่องมือที่ชวยใหนักเรียนประสบผลสําเร็จในการเรียน 3.2 ประโยชนของชุดการฝกทักษะการสะกดคํา ชุดการฝกมีประโยชนตอการเรียนวิชาทักษะมาก ดังที่ เพ็ตตี้(Petty. 1936 : 469 – 472) ได กลาวไวดังนี้ 1. เปนสวนเพิ่มหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เปนอุปกรณการสอนที่ชวยลด ภาระของครูไดมาก เพราะชุดการฝกเปนสิ่งที่จัดทําขึ้นอยางเปนระบบระเบียบ 2. ชวยเสริมทักษะทางการใชภาษา ชุดการฝกเปนเครื่องมือที่ชวยใหเด็กฝกทักษะการใช ภาษาไดดีขึ้น แตตองอาศัยการสงเสริมและเอาใจใสจากครูผูสอนดวย 3. ชวยในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคล เนื่องจากเด็กมีความสามารถแตกตางกัน การ ใหเด็กทําชุดการฝกที่เหมาะสมกับความสามารถ จะชวยใหเด็กประสบความสําเร็จในดานจิตใจ มากขึ้น ชุดการฝกชวยเสริมทักษะใหคงทนโดยกระทํา ดังนี้ 3.1 ฝกทันทีหลังจากเด็กไดเรียนรูเรื่องนั้น 6.1 ฝกซ้ําหลายๆ ครั้ง 6.2 เนนเฉพาะเรื่องที่ตองการฝก 6.3 ชุดการฝกที่ใชเปนเครื่องมือวัดผลการเรียนรูหลังจากบทเรียนในแตละครั้ง 6.4 ชุดการฝกจัดทําขึ้นเปนรูปเลม เด็กสามารถเก็บรักษาไวเพื่อเปนแนวทางและ ทบทวนดวยตนเองตอไป 3.6 การใหเด็กทําชุดการฝกชวยใหครูมองเปนจุดเดน หรือปญหาตางๆ ของเด็กได ชัดเจน ซึ่งจะชวยใหครูดําเนินการแกไขปญหานั้นๆ ไดทันทวงที 3.7 ชุดการฝกที่จัดทําขึ้นนอกเหนือจากที่มีในหนังสือเรียนจะชวยใหเด็กฝกฝนได อยางเต็มที่ 3.8 ชุดการฝกที่จัดพิมพไวเรียบรอย จะชวยใหครูประหยัดทั้งแรงงานและเวลาใน การที่จะตองจัดเตรียมสรางชุดการฝกอยูเสมอ ในดานผูเรียนก็ไมตองเสียเวลาลอกชุดการฝกจาก ตําราเรียน ทําใหมีโอกาสฝกฝนทักษะดานตางๆ ไดมากขึ้น
  • 14. 14 3.9 ชุดการฝกชวยประหยัดคาใชจายเพราะการจัดพิมพขึ้นเปนรูปเลมแนนอนยอม ลงทุนต่ํากวาที่จะพิมพลงกระดาษไขทุกครั้ง และผูเรียนสามมารถบันทึกและมองเปนความกาวหนา ของตนเองไดอยางมีระบบระเบียบ ธนู แสวงศักดิ์ (2514 : 132) ไดกลาวถึงประโยชนของการฝกไววา การใหชุดการฝกแก นักเรียนนั้นเปนสิ่งหนึ่งที่ชวยใหการเรียนการสอนไดผลดียิ่งขึ้น ในการเรียนการสอนวิชา คณิตศาสตรครูผูสอนใชวิธีสอนโดยการอธิบายตัวอยาง แลวใหนักเรียนทําแบบฝกหัดจากชุดฝก ซึ่ง แสดงใหเปนวาการสอนคณิตศาสตรจะขาดการทําแบบฝกหัดไมไดเลย รัชนี ศรีไพวรรณ (2517 : 189) ไดกลาวถึงประโยชนของชุดการฝกวา 1. ทําใหเด็กเขาใจบทเรียนดีขึ้น เพราะชุดการฝกจะเปนเครื่องมือทบทวนความรูที่เด็กได เรียน และทําใหเกิดความชํานาญ คลองแคลวในเนื้อหาวิชาเหลานั้นยิ่งขึ้น 2. ทําใหครูทราบความเขาใจของนักเรียนที่มีตอมีเรียน ซึ่งจะชวยใหครูสามารถปรับปรุง เนื้อหา วิธีสอน และกิจกรรมในแตละบทเรียน ตลอดจนสามารถชวยเด็กใหเรียนไดดีที่สุดตาม ความสามารถของเขาดวย 3. ฝกใหเด็กมีความเชื่อมั่น และสามารถประเมินผลงานของตนเองได 4. ฝกใหเด็กทํางานตามลําพัง โดยมีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายดวงเดือน ออนนวม และคณะ(2536 : 36 ) ไดกลาวถึงประโยชนของชุดการฝกไวดังนี้ 1. ชวยเสริมสรางและเพิ่มพูนความรูความเขาใจ ความจํา แนวทาง และทักษะในการ แกปญหาแกนักเรียน 2. ใชเปนเครื่องมือประเมินการสอนของครู ทําใหทราบขอบกพรองในการสอนแตละเรื่อง แตละตอน และสามารถปรับปรุงแกไขไดตรงจุด 3. ใชเปนเครื่องมือประเมินผลการเรียนของนักเรียน ทําใหครูทราบขแบกพรองจุดออนที่ จะแกไขของนักเรียนแตละคนในแตละเรื่อง แตละตอนและสามารถคิดหาแนวทางชวยเหลือแกไข ไดทันทวงที และชวยใหนักเรียนทราบจุดออนขอบกพรองของตนเอง เพื่อหาทางปรับปรุงแกไข เชนกัน 4.ชวยกระตุนใหนักเรียนอยากทําชุดการฝก 5. ชวยใหนักเรียนไดฝกฝนทักษะไดอยางเต็มที และตรงจุดที่ตองการฝกหัด 6. ชวยใหนักเรียนเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง คิดอยางมีเหตุผล แสดงความคิดออกมา อยางมีระเบียบชัดเจนและรัดกุม 7. เปนการประหยัดเงินและเวลา
  • 15. 15 3.3 หลักในการฝกทักษะการสะกดคํา ชูชาติ เชิงฉลาด(2521 : 41) ไดกลาวถึงหลักในการฝกทักษะไวดังนี้ 1. การฝกเปนสิ่งที่สําคัญของการเรียน 2. การฝกไมควรใหซ้ําซากจนนาเบื่อ ควรจะฝกใหเกิดทักษะหรือความชํานาญ 3. การที่กระตุนนักเรียนใหฝกดวยแบบเดียวกันตลอดเวลานักเรียนก็จะสนองตอบเปน แบบเดียวกัน 4. การฝกจะใหไดผลดีตองเปนรายบุคคล 5. การที่จะฝกใหทําแบบฝกหัดนั้นควรจะฝกเฉพาะเรื่องและใหจบในเรื่องนั้นๆ กอนจึง จะ ฝกเรื่องตอไป 6. ควรจะใหฝกหลาย ๆ ครั้ง ในแตละทักษะ 7. ควรจะใหคะแนนในการทําแบบฝกหัดแตละครั้ง เพื่อวัดความกาวหนา 8. แบบฝกหัดควรจะมีมาตรฐาน และจัดใหเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการ (2534 : 2-3) ไดกลาวถึงหลักในการฝกทักษะคิดคํานวณมีสิ่งที่ควร คํานึงถึงดังตอไปนี้ 1. การฝกทักษะควรทําหลังจากนักเรียนมีความรูความเขาใจในเรื่องตางๆ แลว 2. การฝกควรฝกในชวงเวลาไมมากนัก แตควรทําบอยๆ 3. ควรใชกิจกรรมฝกหลายๆ แบบ 4. การฝกควรเริ่มจากงายไปยาก 5. การฝกควรใหนาสนใจและทาทายความสามารถ 6. การฝกควรใหเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนแตละคน ดังนี้นนักเรียนทุกคน ไมจําเปนตองไดรับการฝกแบบเดียวกัน จอหนสัน และไรซิง (พรทิพย พรหมสาขา ณ สกลนคร. 2527: 24-25;อางจาก Johnson and Rising.1969 : 91) ไดกลาววาในการสอนทักษะใหไดผลดีนั้น ครูควรคํานึงถึงวิธีการสอน และไดเสนอหลักเบื้องตันในการฝกทักษะไวัดังนี้ 1. ฝกทักษะตามความตองการของผูเรียน ใหผูเรียนเห็นคุณคาและประโยชนในการฝก 2. ฝกโดยใหติดตามและจัดแบบฝกหัดในการใหคิดมากกวาทําซ้ํา 3. ใหฝกหลังใจมโนมติ ในสิ่งที่เรียนแลว 4. ฝกทําแบบฝกหัดที่มีคําตอบถูกตองและใหคําตอบกับผูเรียนไดตรวจสอบ 5. เนนการฝกเปนรายบุคคล 6. ใชเวลาในการฝกทักษะพอสมควร ไมมากหรือนอยเกินไป ฝกทักษะเฉพระเรื่องที่เปน ประโยชนจริงๆ
  • 16. 16 7. ใหผูเรียนไดรูโครงสรางทั้งหมดของการฝก และเปนทักษะที่สามารถนําไปประยุกตใช ได 8. ฝกหลักการวิชาการทั่วๆ ไป มากกวาทําวิธีลัด 9. ใหผูเรียนไดรูวิธีการฝก และเรียนรูดวยตนเอง 10. จัดกิจกรรมหลายๆ แบบในหารฝก เชน เกม การแขงขันทําแบบฝกหัด จําเนียร ชวงโชติ และคณะ(2521 : 61) ไดกลาวถึงกฎแหงการฝกของธอรนไดด (Thorndike) ไวดังนี้ 1. การเชื่อมโยงจะกระชับมั่นคงยิ่งขึ้นเมื่อมีการใชและจะออนลงเมื่อไดไดใช 2. สิ่งใดที่คนทําบอยๆ หรือมีการฝกเสมอๆ คนยอมกระทําสิ่งนั้นไดดี สิ่งใดที่คนไมไดทํา นานๆ คนยอมทําสิ่งนั้นไมไดเหมือนเดิม 3. ยิ่งไดกระทําซ้ําในการกระทําอยางใดอยางหนึ่ง ยิ่งทําใหการกระทํานั้นแนนนอน สมบูรณขึ้นหากวางเวนจากการฝกกระทําบอยๆ การกระทํานั้นๆ จะคอยๆ ลบเลือนไปถากระทํา พฤติกรรมใดๆ ซ้ําๆ อยูเสมอ จะมีผลทําใหพฤติกรรมนั้นถูกตองสมบูรณยิ่งขึ้น 3.4 หลักในการสรางชุดการฝกทักษะการสะกดคํา การสรางชุดการฝกเปนสิ่งจําเปนในการสอนเพราะการฝกฝนบอย ๆ และหลาย ๆ ครั้ง ยอม ทําใหเกิดความชํานาญคลองแคลว มีผูเสนอแนะวิธีการในการสรางชุดฝกไวดังนี้ รัชนี ศรีไพรวรรณ (2517 : 412 – 413) ไดกลาวถึงหลักในการทําชุดการฝกสําหรับ นักเรียนไว ดังนี้ 1. ใหสอดคลองกับหลักจิตวิทยาและพัฒนาการของเด็กและลําดับขั้นการเรียนรูชุดการฝก ตองอาศัยรูปภาพจูงใจนักเรียน และเปนไปตามลําดับความยากงาย เพื่อใหนักเรียนมีกําลังใจทํา 2. มีจุดมุงหมายวา จะฝกหัดในดานได แลวจัดเนื้อหาใหตรงกับความมุงหมายที่วางไว 3. ตองคํานึงถึงความแตกตางของนักเรียน ถาสามารถแบงนักเรียนตามคามสามารถแลว จัดทําชุดการฝก เพื่อสงเสริมนักเรียนแตละกลุมไดก็ยิ่งดี 4. ในชุดการฝกตองมีคําชี้แจงงาย ๆ สั้น ๆ เพื่อใหนักเรียนเขาใจ ถาเด็กยังอานไมไดครูตอง ชี้แจงดวยคําพูดที่ใชภาษางาย ๆ ใหเด็กสามารถทําตามคําสั่งได 5. ชุดการฝกตองมีความถูกตองครูตองพิจารณาดูใหถวนถี่อยาใหมีขอผิดพลาด 6. การใหนักเรียนทําชุดการฝกในแตละครั้ง ตองใหเหมาะสมกับเวลาและความสนใจของ นักเรียน 7. ควรทําชุดการฝกหลาย ๆ แบบ เพื่อใหนักเรียนรูอยางกวางขวาง และสิ่งเสริมใหเกิด ความคิด
  • 17. 17 วรนาถ พวงสุวรรณ (2518 : 34 – 37) ไดสรุปหลักการสรางชุดการฝกไวดังนี้ 1. ตั้งวัตถุประสงค 2. ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหา 3. ขั้นตาง ๆ ในการสรางชุดการฝก - ศึกษาปญหาในการเรียนการสอน - ศึกษาจิตวิทยาวัยรุนและจิตวิทยาการเรียนการสอน - ศึกษาเนื้อหาวิชา - ศึกษาลักษณะของชุดการฝก - วางโครงเรื่องและกําหนดรูปแบบของชุดการฝกใหสัมพันธกับโครงเรื่อง - เลือกเนื้อหาตาง ๆ ที่เหมาะสมมาบรรจุไวในชุดการฝกใหครบตามที่กําหนด ยุพิน พิพิธกุล(2524 : 34 – 35) ไดเสนอเทคนิคในการใหนักเรียนทําชุดการฝกไววา 1. ครูตองแนใจวานักเรียนเขาใจวิธีการที่เขาทําซ้ํา ๆ กัน 2. ครูตองคอยใหคําแนะนําอยางใกลชิด และแกไขขอผิดพลาดเสียกอนที่จะติดเปนนิสัย และทําไปชา ๆ ในระยะเริ่มแรกของการสรางนิสัย 3. ครูตองแนใจวานักเรียนจะไมลืมวิธีการที่ทําเปนครั้งสุดทาย 4. ควรสรางทักษะหนึ่งใหเกงเสียกอนที่จะสรางทักษะอื่น 5. ทําความเขาใจเมื้อหาที่สําคัญเปนประการแรก 6. ครูจะตองติดตามผลการทําชุดการฝกของนักเรียน 7. อยาใหนักเรียนทําชุดการฝกในหัวขอที่ยากและนักเรียนไมทราบวิธี 8. การใหชุดการฝกควรคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล 9. การฝกนั้นควรจะฝกหลาย ๆ ดาน การใหชุดการฝกควรจะใหทีละนอยแตบอยครั้ง 10. ชุดการฝกควรลําดับความยากงาย ฉวีวรรณ กีรติกร (2537 : 11 – 12) ไดกลาวถึงหลักในการสรางแบบฝกไวดังนี้ 1. แบบฝกหัดที่สรางขึ้นนั้น สอดคลองกับจิตวิทยาพัฒนาการและลําดับขั้นตอนการเรียนรู ของผูเรียน เด็กที่เริ่มมีประสบการณนอยจะตองสรางแบบฝกหัดที่นาสนใจและจูงใจผูเรียนดวยการ เริ่มจากขอที่งายไปหายาก เพื่อใหผูเรียนมีกําลังใจทําแบบฝกหัด 2. ใหแบบฝกหัดที่ตรงกับจุดประสงคที่ตองการฝก และตองมีเวลาเตรียมการไวลวงหนาอยู เสมอ 3. แบบฝกหัดควรมุงสงเสริมนักเรียนแตละกลุมตามความสามารถที่แตกตางกันของผู เรียน 4. แบบฝกหัดแตละชุดควรมีคําชี้แจงงาย ๆ สั้น ๆ เพื่อใหผูเรียนเขาใจหรือมีตัวอยาง
  • 18. 18 แสดงวิธีทําจะชวยใหเขาใจไดดียิ่งขึ้น 5. แบบฝกหัดจะตองถูกตอง ครูจะตองพิจารณาใหดีอยาใหมีขอผิดพลาดได 6. แบบฝกหัดควรมีหลาย ๆ แบบ เพื่อใหผูเรียนไดแนวคิดที่กวางไกล วรรณ แกวแพรก (2526 : 81) ไดกลาวถึงหลักในการสรางแบบฝกหัดไววา 1. มีความมุงหมายในการสรางแนนอน 2. สรางจากงายไปหายาก คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล 3. ตองจัดทําแบบฝกหัดเสริมทักษะไวลวงหนา โดยทําไวเปนรายเนื้อหาทําเปนบท ๆ ตามบทเรียนพรอมทําเฉลยไวดวย 4. ตองจัดทําหลังจากสอนบทเรียนหรือเนื้อหานั้น ๆ แลว นอกจากนี้ วิชัย เพ็ชรเรื่อง (2531 : 77) ยังไดกลาวถึงหลักในการจัดทําแบบฝกวาควรมี ลักษณะดังนี้ 1. แบบฝกตองมีเอกภาพ และสมบูรณในตัว 2. เกิดจากความตองการของผูเรียนและสังคม 3. ครอบคลุมเนื้อหาหลายวิชา โดยบูรณาการใหเขากับการอาน 4. ใชแนวคิดใหมในการจัดกิจกรรม 5. สนองความสนใจ ใครรู และความสามารถของผูเรียนและสงเสริมใหผูเรียนมีสวนรวม ในการเรียนเต็มที่ 6. คํานึงถึงพัฒนาการและวุฒิภาวะของผูเรียน 7. เนนการแกปญหา 8. ครูและนักเรียนไดมีโอกาสวางแผนรวมมือกัน 9. แบบฝกควรเปนสิ่งที่นาสนใจ มีความแปลกใหมสามารถปรับและรับเขาสูโครงสราง ทางความคิดของเด็กได จากหลักการสรางชุดการฝกที่กลาวมา สรุปไดวา หลักสําคัญในการสรางชุดการฝกคือตอง กําหนดวัตถุประสงคที่จะฝาากใหแนนอนวาจะฝกเรื่องอะไร แลวจัดเนื้อหาใหสอดคลองกับ วัตถุประสงค ทั้งนี้จะตองสรางชุดการฝกใหเหมาะสมกับวัยและระดับความสามารถของผูเรียนและ ชุดการฝกควรมีหลายรูปแบบ พรอมทั้งเปดโอกาสใหเด็กไดแสดงความคิดเห็นไดอยางกวางขวาง 4. สาระสําคัญที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนรูตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ กระแสการเปลี่ยนแปลงในโลกและการเกิดวิกฤตการณทางการศึกษาไทย กอใหเกิด ความสนใจในการศึกษาที่มีคุณภาพ และกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาในประเทศไทย ครั้งสําคัญขึ้นมาโดยใหมีการประกาศใช พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มีผล บังคับใชเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2542 พระราชบัญญัติดังกลาว ถือวาเปนกฎหมายแมบททาง
  • 19. 19 การศึกษาฉบับแรกของประเทศไทย กอใหเกิดการตื่นตัวในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขึ้นอยาง กวางขวางทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งกระแสการตื่นตัวของครู ในการปฏิรูปการเรียนรูใหเปนไป ตามพระราชบัญญัติที่ไดกําหนดไวในมาตราตาง ๆ ซึ่งกําหนดใหการจัดการเรีนการสอนมุงเนนให ผูเรียนดํารงชีวิตอยูในสังคมอยางมีคุณภาพ เนนความรูคูคุณธรรม มุงปลูกฝงจิตสํานึกดานการเมือง สงเสริมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข รูจักภาคภูมิใจในความเปนไทย และ สงเสริมวัฒนธรรมไทย ตามบทพระราชบัญญัติในหมวด ๔ ซึ่งถือวาเปนหมวดที่สําคัญที่สุดสําหรับ ครูและผูบริหารการศึกษาในโรงเรียน ไดกําหนดการจัดการกระบวนการเรียนรูประกอบดวยมาตรา ตาง ๆ ไดแก มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนา ตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความ เหมาะสมของแตละระดับการศึกษาในเรื่องตอไปนี้ (๑) ความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแกครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรูเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของสังคมไทยและระบบ การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข (๒) ความรูเรื่องทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งความรูความเขาใจและ ประสบการณเรื่องการจัดการ กรบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมอยางสมดุลยั่งยืน (๓) ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทยและการประยุกตใช ภูมิปญญา (๔) ความรู และทักษะดานคณิตศาสตร และดานภาษา เนนการใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง (๕) ความรู และทักษะในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตอยางมีความสุข มาตราที่ ๒๔ การจัดการกระบวนการเรียนรู ใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของ ดําเนินการตอไปนี้ (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียนโดย คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล (๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมา ใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา
  • 20. 20 (๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทํา เปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง (๔) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวน สมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรมคานิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา (๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียนและ อํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปน สวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการ สอนและแหลงวิทยาการประเภทตาง ๆ (๖) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดก มารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ 5. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต1.1 เขาใจกระบวนการอานและการฟง สามารถตีความเรื่องที่ฟงและอาน จากสื่อประเภทตาง ๆ และนํามาใชอยางมีวิจารณญาณ มาตรฐาน ต1.2 มีทักษะในการสื่อสารทางภาษา แลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารและแสดง ความรูสึกโดยใชเทคโนโลยีและการจัดการที่เหมาะสมเพื่อการเรียนรู ตลอดชีวิต มาตรฐาน ต1.3 เขาใจกระบวนการพูด การเขียน และสื่อสาร ขอมูล ความคิดเห็นและ ความคิดรวบยอดไดอยางสรางสรรค มีประสิทธิภาพ และมีสุนทรียภาพ สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต2.1 เขาใจความสัมพันธระหวางภาษาวัฒนธรรมของเจาของภาษาและ ปฏิบัติตนไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต2.2 เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษา และวัฒนธรรมของ เจาของภาษาที่เรียนกับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใชไดดวยเจต คติที่ดี 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ แนงนอย เพียรสุขสวัสดิ์ (2525 : 43) ไดเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การสะกดคําภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่5 ในโรงเรียนวัดบางขุนนนท และโรงเรียนบางเสาธง กรุงเทพมหานคร ระหวางการสอนแบบใชเกมและการสอนแบบธรรมดา กลุมตัวอยางแบงออกเปน
  • 21. 21 กลุมทดลองและกลุมควบคุมกลุมละ 30 คน ผลการวิจัยปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความคงทนในการจําการสะกดคําภาษาไทยของกลุมที่ไดรับการสอนแบบใชเกม และกลุมที่สอน แบบธรรมดาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุมที่รับการสอนแบบใชเกมมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจําการสะกดคําภาษาไทยสูงกวานักเรียนที่ไดรับการ สอนแบบธรรมดา ____________ . ไดศึกษาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธการเขียนสะกดคําที่ไดรับการสอนโดยใช เกมปกติกับเกมคอมพิวเตอร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนคํามวงจรัสวิทย อําเภอคํา มวง จังหวัดกาฬสินธุ โดยกลุมตัวอยางคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนคํามวงจรัสวิทย สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอคํามวง จังหวัดกาฬสินธุ จํานวน 40 คน โดยการสุมอยาง งาย ผลการวิจัยปรากฏวา 1. นักเรียนที่ไรับการสอนโดยใชเกมปกติกับนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชเกมคอมพิวเตอร มีคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังการทดลอง และพบวาคาเฉลี่ยของนักเรียนกลุมที่ไดรับการสอนโดยใชเกม ปกติสูงกวานักเรียนกลุมที่ไดรับการสอนโดยใชเกมคอมพิวเตอร 2. นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชเกมปกติกับนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชเกมคอมพิวเตอร หลังการทดลอง มีผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําภาษาไทยไมแตกตางกัน 3.ผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําภาษาไทยระหวางเพศชายกับเพศหญิงไดรับการสอนโดยเกม ปกติไมแตกตางกัน 4.ผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําภาษาไทย ระหวางเพศชายและเพศหญิงที่ไดรับการสอนโดยใช เกมคอมพิวเตอรแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
  • 22. 22 บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย การศึกษาคนควาครั้งนี้มีวิธีการดําเนินการศึกษาคนควาดังรายละเอียดตามลําดับตอไปนี้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3. การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 4. วิธีการดําเนินการวิจัย 5. สถิติที่ใชการวิเคราะหขอมูล ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 / 4 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 จํานวน 38 คน ไดมาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive ) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. แบบฝกทักษะการเขียนสะกดคําภาษาไทย จํานวน 5 ชุด 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําภาษาไทยกอนและหลังการ ใชแบบฝก (Pretest - Posttest) วิธีการสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. ศึกษาหลักสูตรและผลการเรียนรูที่คาดหวังของวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่1 2. ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการสอนภาษาไทย และการสรางแบบฝก 3. จัดทําแบบฝกทักษะการเขียนสะกดคําภาษาไทย และแบบวัดผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกด คําภาษาไทย ใหสอดคลองกับเนื้อหาในบทเรียน ใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตองดานเนื้อหา ของแผนการสอน และแบบวัดผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําภาษาไทย
  • 23. 23 วิธีการดําเนินการวิจัย 1. ทดสอบกอนเรียน 2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนดวยการใชแบบฝกทักษะการเขียนสะกดคําภาษาไทย 3. ทดสอบหลังเรียน สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. สถิติพื้นฐาน 1.1 คาเฉลี่ย (X) ใชสูตร (ชูศรี วงศรัตนะ, 2541 : 36) เมื่อ X แทน ตัวกลางเลขคณิตหรือคาเฉลี่ย X แทน ผลรวมทั้งหมดของขอมูล N แทน จํานวนขอมูลทั้งหมด 1.2 คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation ) ใชสูตร (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2536 : 64) เมื่อ SD แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน ผลรวมของคะแนน X2 แทน ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกําลังสอง n แทน จํานวนกลุมตัวอยาง    1nn XXn SD 22     N X X 
  • 24. 24 2. สถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐาน 2.1 เปรียบเทียบความแตกตางกอนและหลังไดรับการสอนโดยใชแบบฝกทักษะการเขียน สะกดคําภาษาไทย โดยการหาคา t – test Dependent (ชูศรี วงศรัตนะ. 2537 : 201) เมื่อ t แทน คาสถิติที่ใชพิจารณาใน t – distribution n แทน จํานวนคูของขอมูล D แทน ผลตางของคะแนนแตละคู   1-n DDN D t 22     
  • 25. 25 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล สัญลักษณที่ใชในการ วิเคราะหและแปลผลขอมูล N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง X แทน คะแนนเฉลี่ย SD แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Max แทน คะแนนสูงสุด Min แทน คะแนนต่ําสุด t แทน คาสถิติที่ใชพิจารณา t- test for Dependent Samples * แทน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ** แทน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ตารางที่ 1 คาสถิติพื้นฐานคะแนนผลสัมฤทธิ์การอานและเขียนสะกดคําภาษาไทยโดยใชแบบฝก ทักษะการอานและเขียนสะกดคําภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 จํานวน 38 คน ( N=38) แบบทดสอบ การทดสอบ คะแนนเต็ม Min Max X SD แบบทดสอบการอาน และเขียนสะกดคํา ภาษาไทย กอนเรียน 10 1 5 3.00 0.97 หลังเรียน 10 7 10 8.11 0.98 จากตารางที่ 1 เมื่อพิจารณาจากการทดสอบกอนเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/4 พบวาคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนมีคาเทากับ 3.00 สวนการทดสอบหลังเรียนพบวามีคะแนนเทากับ 8.11 ซึ่งจะเห็นไดวานักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังการใชแบบฝกทักษะการการอาน และเขียนสะกดคําภาษาไทย สูงกวาคะแนนจากการทดสอบกอนเรียน