SlideShare a Scribd company logo
1 of 179
Download to read offline
1
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2
มหาชีวาลัยอีสาน
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล นายสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์
ที่อยู่ 34 หมู่ 2 บ้านปากช่อง ตาบลสนามชัย
อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์31150
โทรศัพท์ 08-6460-4775
วัน/เดือน/ปีเกิด 21 กุมภาพันธ์ 2491
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
เป็นนักวิจัยชาวบ้านด้านการเกษตร นักพัฒนาในการถ่ายทอดความรู้และ สร้างแนวคิดการ
พึ่งตนเองและพึ่งพากันเองให้กับเกษตรกร การจัดการด้านการแปรรูป และธุรกิจชุมชน มีการวิจัยและ
พัฒนาด้านการเกษตรกรรมพึ่งตนเอง ด้านอุตสาหกรรมชุมชนและด้านธุรกิจชุมช นรวมทั้งการปฏิรูป
การศึกษา และมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม
ประสบการณ์
นายสุทธินันท์ทาการเกษตร คือปลูกปอ ถั่วลิสง นุ่น ข้าวฟ่าง ข้าวโพด มันสาปะหลัง และทานา
ปี 2522 พบว่าการปลูกพืชเชิงเดี่ยวตามกระแส นั้นมีความเสี่ยงสูง จึงได้กลับมายึดคาสอนของ
พระพุทธเจ้าเรื่อง “อัตตาหิ อัตตาโน นาโถ” และหลักธรรมของท่านพุทธทาสคือ “การทางานเพื่อเงิน
นั้นต้องรอจนกว่าได้เงินเสียก่อนจึงจะรู้สึกพอใจและมีความสุข แต่การทางานเพื่องาน พอลงมือทา
ก็พอใจแล้วและจะเป็นสุขในทันที ส่วนเงินนั้นก็จะไปไหนเสีย” โดยพยายามหาทิศทางการเกษตรเพื่อ
เลี้ยงปากเลี้ยงท้องของคนอีสาน โดยดาเนินกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น งานด้านปศุสัตว์ งานด้านการ
ปลูกไม้ยืนต้น เกิดการพึ่งตนเองได้ ลดความเสี่ยง ลดรายจ่าย ลดหนี้สิน เพิ่มการออมในหลายรูปแบบ
เช่น ออมความอุดมสมบูรณ์ของ ดิน ออมน้า ออมต้นไม้ใหญ่ เป็นการเพิ่มรายได้ในที่สุดเกิดบานาญชีวิต
จากไม้ยืนต้นทั้งผัก ผลไม้ และไม้ใช้สอยที่หลากหลายนับหมื่นนับแสนต้น มีสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ดี
ทาให้ระบบนิเวศดีขึ้น ปลอดภัยจากสารเคมี ช่วยให้จิตใจสงบมีความรักมนุษย์และสิ่งแวดล้อม พึ่งพา
ภายนอกน้อยลง มีภูมิคุ้มกันส่วนบุคคลและของชุมชน ยิ่งทายิ่งมั่นใจและขยายวงกว้างขึ้น และได้ตั้งที่
พานักเป็นกรม เรียกว่า “กรมราษฎรส่งเสริม” โดยมีนโยบายที่ชัดเจน ทาได้และได้ทาแล้วว่า “ต้นไม้จะ
คืนสู่ไร่นา ปูปลาจะคืนสู่หนองน้า อิสระเสรีจะคืนสู่ประชาชน สมัชชาคนจนจะคืนถิ่น”
3
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
- รางวัลเกษตรกรที่มีผลงานด้านการสร้างเสริมสิ่งแวดล้อม จากองค์การอาหารและเกษตรแห่ง
สหประชาชาติ
- รางวัลเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ สาขาปลูกสร้างสวนป่า ในพระราชพิธีจรดพระนัง คัล
แรกนาขวัญ
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 34 หมู่ 2 บ้านปากช่อง ตาบลสนามชัย อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์31150
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
ปี 2537 ได้ร่วมกับสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนาและสภาการศึกษาแห่งชาติ สถาบันราชภัฎ
บุรีรัมย์ และมูลนิธิซาซากาว่า จากประเทศญี่ปุ่น ตั้งโรงเรียนชุมชนอีสาน เพื่อให้คนไทยพึ่งตนเองและ
พึ่งพากันเองเจริญตามรอยพระยุคลบาทของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช การร่วมมือกับนาย
ผาย สร้อยสระกลาง และนายคาเดื่อง ภาษี ตั้งโรงเรียนชุมชนอีสาน โดยการสนับสนุนของศาสตราจารย์
เสน่ห์ จามริก ทาให้เครือข่ายขยายตัวขึ้นตั้งแต่ปี 2539 เป็นต้นมา และทาให้ภาพ 1 ล้านครอบครัวที่
พึ่งตนเองและพึ่งพากันเองได้ของคนอีสานมิได้เป็นเพียงความฝันอีกต่อไป การดาเนินงานของ
นายสุทธินันท์ยังคงดาเนินอย่างต่อเนื่องภายใต้ศูนย์เรียนรู้มหาชีวาลัยอีสาน ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วม
โครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระหว่าง ปี 2550 - 2552
หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม
หลักสูตร “เศรษฐกิจชุมชนระดับครัวเรือน” เพื่อเรียนรู้ที่แสดงให้เห็นว่าเกษตรกรไทย ถ้าคิดได้
นอกจากการพึ่งตนเองและพึ่งพากันเองได้แล้ว ยังทาให้ความสามาร ถไปพัฒนาเศรษฐกิจในระดับ
มหภาคให้อยู่ในระดับแนวหน้าและยั่งยืนได้
หลักสูตร “การจัดการความรู้แบบธรรมชาติ” หรือ KM (Knowledge Management) ธรรมชาติเพื่อ
ฝึกปฏิบัติ การจัดการความไม่รู้ของฝ่ายนโยบายทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้ง นักปฏิบัติการและ
ผู้สนับสนุนการจัดการความรู้ อันจะนาสังคมไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงโดย
ความร่วมมือของนักจัดการความรู้ในเว็บไซด์ www.gotoknow.org
ความพร้อมของศูนย์ฯ
มีสถานที่ฝึกอบรมเป็นอาคารปูน 2 ชั้น สามารถรองรับผู้เข้าอบรมได้ประมาณ 50-80 คน มีสื่อ
วีดิทัศน์ที่เหมาะสม มีสถานที่พักโดยจะพักบนชั้น 2 ของอาคารฝึกอบรมแยกเป็นสัดส่วน ชาย-หญิง
4
มีห้องน้า/ห้องสุขา จานวน 16 ห้อง แยกชาย-หญิง มีฐานการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมและสอดคล้อง
ตามหลักสูตรการฝึกอบรม
แผนที่มหาชีวาลัยอีสาน
5
ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรผสมผสานบ้านโนนรัง-บูรพา
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล นายจันทร์ที ประทุมภา
ที่อยู่ 138 หมู่ 6 บ้านโนนรัง ตาบลตลาดไทร
อาเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา 30270
โทรศัพท์ 08-9948-4737, 08-1074-2843
วัน/เดือน/ปีเกิด พ.ศ. 2481
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
การทาการเกษตรแบบผสมผสานไร่นาสวนผสม การทาเกษตรอินทรีย์ การขยายพันธุ์พืช
เชี่ยวชาญการปลูกผักหวานป่า ขยายพันธุ์ปลา แนวคิดการเกษตรทฤษฎีใหม่ การแปรรูปผลผลิตและ
การอัดอิฐดินซีเมนต์
ประสบการณ์
ปี 2524 ได้ตั้งโรงสีเล็ก และเลี้ยงหมูแม่พันธุ์ ต่อมาในปี 2525 ได้ประกอบอาชีพ นายหน้าหาคน
ไปทางานต่างประเทศเพราะมีความโลภต้องการรวย แต่ต้องประสบปัญหา โดนโกงเงินค่าประกันวีซ่า
ทาให้ต้องจานองที่นาทั้งหมด และขายทรัพย์สินทุกอย่างที่มีอยู่ในบ้านเพื่อใช้หนี้ ในปี 2529 ได้ไป
ทางานที่ต่างประเทศ เพื่อหาเงินมาไถ่ที่นา แม้ว่าสามารถไถ่ที่นาคืนได้แต่ก็ไม่มีเงินทุนหมุนเวียน จึงได้
เริ่มทดลองอาชีพทานาเพียงอย่างเดียว รายได้จากการทานาในปีแรกพอมีพอใช้ในครอบครัว ปีที่สองจึง
นาเอาหลักทรัพย์ไปจานองสหกรณ์ ได้เงินมาลงทุนและใช้จ่ายในครอบครัว การทานาเพียงอย่างเดียว
ก่อให้เกิดหนี้สินเพิ่มขึ้น ต่อมาได้ไปศึกษาดูงานแปลงเกษตรผสมผสานของพ่อผาย สร้อยสระกลาง และ
ได้นาแนวคิดการทาเกษตรผสมผสานมาเผยแพร่ให้กับ สมาชิกในครอบครัว ซึ่งร่วมกันตัดสินใจเริ่มต้น
ทาเกษตรผสมผสานตั้งแต่ปี 2534 นอกจากนี้ การเข้าร่วมอบรมหลักสูตรวิทยากร กระบวนการเพื่อการ
เปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง “วปอ.ภาคประชาชน” ทาให้เห็นปัญหาของชาติ สาเหตุ
ทางเลือกและ การรวมพลังคนไทยในการร่วมกันแก้ปัญหา
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
- ปี 2550 รางวัลชนะเลิศการประกวดผลงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านเกษตรทฤษฎีใหม่
ครั้งที่ 1
- ปี 2549 ครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 5 ด้านเกษตรกรรม (เทคนิคการปลูกผักหวาน )
จาก กระทรวงศึกษาธิการ
- ปี 2542 รางวัลผลงานพัฒนาชุมชนดีเด่น อาเภอชุมพวง
6
- ปี 2542 ประธานกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ทั้งระดับอาเภอและระดับจังหวัด
- ปี 2538 รางวัลไร่นาสวนผสมดีเด่น ของจังหวัดนครราชสีมา
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 138 หมู่ 6 บ้านโนนรัง ตาบลตลาดไทร อาเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา 30270
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
จากกิจกรรมการฝึกอบรมหลักสูตรในสถานที่ต่างๆ ทาให้เกิดการสร้าง ผู้นารุ่นใหม่ขึ้น ภายใต้
ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรผสมผสานบ้านโนนรัง-บูรพา เกิดกระบวนการเรียนรู้โดยการสร้างองค์ความรู้และ
การจัดการแก้ปัญหาของกลุ่มสมาชิกและทาเศรษฐกิจดีขึ้น มีรายจ่ายต่า เงินออมเพิ่ม หนี้สินหมด และ
รายได้เพิ่มขึ้น มีสิ่งแวดล้อมดีขึ้นในสภาพดินดา น้าชุ่ม ป่าอุดมสมบูรณ์ ปลอดมลภาวะ มีสังคมที่มี
ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง ประเทศชาติมั่นคงและที่สาคัญคือวิถีชีวิตที่พึ่งตนเอง และพึ่งพากันเอง
ได้อย่างสมดุล และมีความสุข สมาชิกในศูนย์เรียนรู้บ้านโนนรัง -บูรพา มีความเข้าใจหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงตามแนวทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เน้นความพอเพียง การพึ่งตนเองและ
พึ่งพากันเอง ทดแทนการพึ่งเงิน พึ่งตลาด พึ่งวัตถุ และพึ่งคนอื่น ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการ
พัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2550
หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม
หลักสูตร “วิทยากรกระบวนการผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งพาตนเองและพึ่งพากันเอง (วปอ.
ภาคประชาชน)” โดยใช้การเกษตรผสมผสานเป็นเครื่องมือหลัก เน้นให้เกิดการออมน้า ออมความอุดม
สมบูรณ์ของดิน การออมสัตว์และออมต้นไม้ยืนต้นทั้งผัก ผลไม้และไม้ใช้สอย การจัดการแปลงเกษตร
ประณีต 1 ไร่ และการนาเกษตรกรที่เข้าอบรมศึกษาดูงานแปลงเกษตรต้นแบบ เพื่อให้เห็นแนวคิด
ที่แตกต่างกันไปของเกษตรกรต้นแบบแต่ละคน
ความพร้อมของศูนย์ฯ
ศูนย์มีอาคารอบรมสามารถรองรับผู้เข้าอบรมได้ประมาณ 60 คน รวมทั้งมีสื่อวีดิทัศน์ที่
เหมาะสม มีโรงเรือนที่พักแยกเป็นเรือนนอนหญิง-ชาย มีห้องครัวและและโรงอาหารแยกเป็นสัดส่วน
ห้องน้า/ห้องสุขาที่เพียงพอต่อจานวนผู้เข้าอบรม
7
แผนที่ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรผสมผสานบ้านโนนรัง-บูรพา
8
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาของชาวบ้านโครงการส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล นายอานาจ หมายยอดกลาง
ที่อยู่ 14 หมู่ 11 บ้านน้าซับ ตาบลวังน้าเขียว
อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา 30370
โทรศัพท์ 0-4424-9107, 08-1966-4247
โทรสาร 0-4424-9107
วัน/เดือน/ปีเกิด 14 พฤศจิกายน 2497
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเกษตรกรรมอินทรีย์ ได้แก่ กสิกรรม
ไร้สารพิษ (ปลูกผักไร้สารพิษ และทานาไร้สารพิษ) พลังงานทดแทน การจัดการเรียนรู้ของชุมชน
ด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ การสร้างวิทยากรแกนนา และกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
ประสบการณ์
มีประสบการณ์ในการทางานร่วมกับกลุ่มเกษตรกร ผู้บริหารระดับจังหวัด และระดับประเทศ
เช่น สหกรณ์การเกษตร คณะทางานจัดทารายละเอียดการดาเนินงานเกี่ยวกับสถาบันวิจัยและพัฒนาการ
เกษตรอินทรีย์แห่งชาติ เป็นอนุกรรมการนโยบายและแผนสินเชื่อการเกษตร กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ปัจจุบันเป็นประธานกลุ่มส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษ “วังน้าเขียว” ในโครงการส่งเสริมกสิกร
รมไร้สารพิษ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ กรรมการเครือข่าย พันธมิตรธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตรจังหวัดนครราชสีมา ผู้อานวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาของชาวบ้านโครงการส่งเสริม
กสิกรรมสารพิษอันเนื่องมาจากพระราชดาริ กรรมการมูลนิธิ กสิกรรมธรรมชาติ คณะกรรมการสถาบัน
เศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
- ประธานมูลนิธิวังน้าเขียว
- ปี 2547 วิทยากรอาสาสมัคร สจส. กิตติมศักดิ์ สถาบันเพื่อพัฒนาการเกษตรและชนบท
จาเนียร สาระนาค
- ปี 2546 ประกาศเกียรติอาสาสมัครทางานเพื่อชุมชน สานักงานกองทุนเพื่อสังค มธนาคาร
ออมสิน
9
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 14 หมู่ 11 บ้านน้าซับ ตาบลวังน้าเขียว อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา 30370
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
นายอานาจ หมายยอดกลาง และเกษตรกร ส่วนหนึ่งของอาเภอวังน้าเขียว ได้เห็นปัญหา
เกิดขึ้นจากการทาการเกษตรเชิงเดี่ยว การบุกรุกตัดไม้ทาลายป่า การใช้สารเคมี สภาพดินเสื่อมโทรม
ผลผลิตทางการเกษตรมีสารพิษตกค้าง ทาให้เกษตรกรได้รับพิษจากการใช้ยาฆ่าแมลง เกิดการเจ็บป่วย
ทั้งผู้ผลิตและบริโภค จึงได้ร่วมกันก่อตั้งกลุ่มส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษวังน้าเขียวขึ้น เมื่อวันที่
27 มกราคม 2541 ปัจจุบันกลุ่มส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษวังน้าเขียว ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ
รับไว้ในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และได้จดทะเบียนจัดตั้งเป็นสหกรณ์กสิกรรมไร้สารพิษ
ในเขตปฏิรูปที่ดินอาเภอวังน้าเขียว จากัด เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2543 และพัฒนาเป็นสถานที่ฝึกอบรม
และสาธิตกิจกรรมการเพาะปลูก โดยไม่พึ่งพาสารเคมีและการดาเนินชีวิตตามแนวทา งพระราชดาริ
เศรษฐกิจแบบพอเพียงให้แก่เกษตรกรที่สนใจ จนได้รับขนานนาม จากวารสารมูลนิธิชัยพัฒนา
ฉบับเดือนเมษายน 2544 ว่า “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาของชาวบ้าน โครงการส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษ
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ” ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่
โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2550
หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม
หลักสูตร “วิถีชีวิตชุมชนด้วยเศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบด้วย ฐานกสิกรรมไร้สารพิษ การทา
นาและปลูกผักไร้สารพิษ ฐานน้าหมักชีวภาพ ปุ๋ ยหมักชีวภาพ ฐานปุ๋ ยปั้นเม็ดอินทรีย์ ฐานน้ายา
เอนกประสงค์ ฐานแปรรูปอาหาร ฐานอิฐดินซีเมนต์ โดยใช้ดินที่สามารถจัดหาได้ในท้องถิ่นเป็นการ
สร้างอาชีพให้กับคนในชนบท ฐานเตาเผา ฐานรีไซเคิลขยะ ฐานสุขภาพ การรักษาสุขภาพด้วยตนเอง
การแพทย์องค์รวม ฐานลูกก้อนมหัศจรรย์นาลูกก้อนมาบาบัดน้าเสียโดยวิธีสารชีวภาพ การเยี่ยมชมวิถี
ชุมชน กิจกรรมปลูกต้นไม้ตามแผนยุทธศาสตร์การปลูกไม้ใช้หนี้เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน และ
โครงการปลูกป่าต้นน้า รวมทั้ง ฐานพลังงานทดแทนพืชน้ามัน
ความพร้อมของศูนย์ฯ
ศูนย์มีอาคารฝึกอบรมของศูนย์สามารรองรับผู้เข้าอบรมได้ประมาณ 80-100 คน และมีสื่อวีดิ
ทัศน์ที่เหมาะสม มีห้องน้าแยกชาย-หญิงมีเพียงพอต่อจานวนผู้เข้าอบรม มีโรงเรือนที่พักแยกหญิง-ชาย
ห้องครัวและโรงอาหารแยกเป็นสัดส่วน
10
แผนที่ศูนย์ ศึกษาการพัฒนาของชาวบ้านโครงการส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ
11
แหล่งเรียนรู้การเกษตรเพื่อการพึ่งตนเองและสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น “สวนลุงโชค”
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล นายโชคดี ปรโลกานนท์
ที่อยู่ 14 หมู่ 6 บ้านคลองทุเรียน ตาบลวังน้าเขียว
อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา 30370
โทรศัพท์ 08-1999-7468, 08-1725-1179
Email address :loongchoke@yahoo.com
วัน/เดือน/ปีเกิด 8 ธันวาคม 2500
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในพื้นที่ต้นน้า กระบวนการ
ฟื้นฟูป่า เกษตรทางเลือกสู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพึ่งพาตนเองในท้องถิ่น การเพาะขยายพันธุ์ไม้
การฟื้นฟูดิน การทาปุ๋ ยชีวภาพ ปุ๋ ยพืชสด น้าหมักชีวภาพ แนวคิดการพึ่งตนเองกับหมอยาพื้นบ้าน
การทาลูกประคบ ยาหม่องไพล และน้าดื่มสมุนไพร เป็นต้น
ประสบการณ์
ปี 2526 หลังจากจบ การศึกษาจากสถาบันการเกษตรแม่โจ้ ได้ประกอบอ าชีพทาไร่ข้าวโพด
แต่ประสบความล้มเหลวจากการทาไร่ขาดทุน และมีหนี้สิน ทาให้ต้องเริ่มคิดทบทวน แนวทางการทา
การเกษตรดังกล่าว ต่อมา ปี 2533 ลุงโชคได้เริ่มทางานกับชุมชนรอบพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ทาให้ได้เรียนรู้และ ได้รับองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมการเกษตรในโครงการพัฒนาชนบทเพื่อการ
อนุรักษ์พื้นที่ชุมชนรอบป่าเขาใหญ่ ปี 2537 – 2544 เป็นหัวหน้าโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ
เขาแผงม้า และปัจจุบันเป็นผู้ประสานงานอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
- รองชนะเลิศลาดับที่ 2 โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ ฯ
- ปราชญ์เกษตร สานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (เครือข่ายเกษตรพอเพียง)
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 14 หมู่ 6 บ้านคลองทุเรียน ตาบลวังน้าเขียว อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา
30370
12
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
“สวนลุงโชค” เดิมเป็นพื้นที่ไร่ข้าวโพด ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ
ป่าต้นน้าตั้งแต่ปี 2508 เป็นต้นมา จากเดิมที่เป็นพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์ เป็นเขตป่าต้นน้าลาพระเพลิงใน
เขตอาเภอวังน้าเขียว สาหรับการทาไร่ข้าวโพด และพืชไร่อื่นๆ ทาให้เกิดการสูญเสียต้นทุนทาง
ธรรมชาติ และเกือบทุกครัวเรือนในภาคเกษตรมีหนี้สินพึ่ง พาตนเองไม่ได้ จนกระทั่งปี 2533 ได้นา
แนวคิด “วนเกษตร” ในการพัฒนาฐานครัวเรือนขยายไปสู่ชุมชนควบคู่ไปกับการปลูกจิตสานึกในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสัตว์ป่า และได้มีการพัฒนาฟื้นฟูป่าต้นน้าลาพระเพลิง ปัจจุบันสวน
ลุงโชค จึงเป็นสถานที่แลกเปลี่ยนและศึกษาดูงานในเรื่องการเกษตรทางเลือกที่สอดคล้องกับแนวคิด
การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน โดยการส่งเสริมแนวทางการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกษตรสู่การพึ่งตนเอง
ลดการพึ่งปัจจัยภายนอก และร่วมกันสร้างกระบวนการเรียนรู้ใหม่ที่จะเอื้อต่อการฟื้นฟูวิถีชุมชนเกษตร
ที่ยั่งยืน ในพื้นที่ต้นน้ามูลตอนบน – ลาพระเพลิง ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตาม
แนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตั้งแต่ปี 2551
หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม
หลักสูตร “เกษตรทางเลือกสู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพึ่งตนเองในท้องถิ่น ” ประกอบด้วย
การฟื้นฟูดิน ปุ๋ ยชีวภาพ ปุ๋ ยพืชสด น้าหมักชีวภาพ กระบวนการทาน้ามันหอมระเหยจากตระไคร้หอม
มะกรูด การทาฮอร์โมนบารุงพืช การปลูกการดูแลไม้กฤษณาและการกลั่นน้ามันกฤษณา การทาเห็ด/
การผลิตก้อนเห็ด การผลิตถ่านด้วยถัง 200 ลิตร และการทาน้าส้มควันไม้ การฝึกอบรมการเพาะขยาย
พรรณไม้แนวคิดการพึ่งตนเองกับหมอยาพื้นบ้าน การทาลูกประคบ ยาหม่องไพล น้าดื่มสมุนไพร การ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในพื้นที่ต้นน้า กระบวนการฟื้นฟูป่าโดย
โครงการปลูกป่า กระบวนการกลุ่มและการสร้างค่ายสื่อความหมายธรรมชาติ
ความพร้อมของศูนย์ฯ
มีศาลาเอนกประสงค์สาหรับฝึกอบรมจานวน1หลัง รองรับผู้ฝึกอบรมได้40–50คน มีเรือนพัก
2 หลัง ประกอบด้วย เรือนริมบ่อ รองรับผู้ร่วมอบรมได้ 30 คน พร้อมลานกลางเต็นท์ เรือนไม้หมาก
รองรับผู้ร่วมอบรมได้ 10 คน มีห้องน้าจานวน 10 ห้อง อุปกรณ์และวัสดุสานักงาน รวมทั้ง
มีฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการฝึกอบรม
13
แผนที่ แหล่งเรียนรู้การเกษตรเพื่อการพึ่งตนเองและสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น “สวนลุงโชค”
N
S
N
S
โรงพยาบาลวังน้าเขียว
กม.76
ที่ว่าการอาเภอวังน้าเขียว
กม.79
ศาลเจ้าพ่อ
ไปจังหวัดปราจีนบุรี
ไปจังหวัดนครราชสีมา
อาเภอปกธงชัย
เขาแผงม้า
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน(สวนลุงโชค)
ทางเข้าบ้านคลองทุเรียน
หมู่ที่ 6 ตาบลวังน้าเขียว
14
สถาบันฟื้นฟูภูมิปัญญาไท
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล นายคาเดื่อง ภาษี
ที่อยู่ 40 หมู่ 8 บ้านโนนเขวา ตาบลหัวฝาย
กิ่งอาเภอแคนดง จังหวัดบุรีรัมย์31150
โทรศัพท์ 08-1876-5906, 08-9949-6554,
08-6005-3748, 08-5777-7533
วัน/เดือน/ปีเกิด 15 พฤศจิกายน 2495
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
เกษตรธรรมชาติ การสร้างทรัพยากรธรรมชาติที่เกื้อหนุนกันเพื่อให้เกิดกลไกการ ดารงอยู่
ตามธรรมชาติ การทาเกษตรประณีตที่เป็นรูปแบบการจัดการพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การจัดการ
เกษตรในพื้นที่ลุ่ม การวางแผนการผลิต และการปลูกไม้ยืนต้น รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางความคิด
สู่การปฏิบัติเพื่อการพึ่งพาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ประสบการณ์
ภายหลังจากได้กู้เงินมาทาการเกษตรจนเป็นหนี้สินและหันหาอบายมุข นายคาเดื่องได้เรียนรู้ที่
จะแก้ปัญหาชีวิตด้วยการย้อนไปมองอดีต กลับไปมองดูเหตุแห่งความผิดพลาดตั้งแต่เริ่มต้น โดยเริ่ม
ลดปริมาณการใช้ปุ๋ ย และพบว่าปริมาณผลผลิตคงเดิมและค่าใช้จ่ายลดลง จากนั้นได้เริ่ม ปฏิบัติธรรม
กินอาหารมังสวิรัติ และดาเนินชีวิตอย่างสมถะ สุดท้ายก็สามารถปลดหนี้ได้ จึงหันกลับมาสู่การทานา
แบบเดิม อันมีเคล็ดลับอยู่ที่ “ฟางเส้นเดียว” โดยได้ทดลองทานาตามธรรมชาติ ด้วยการไม่ไถแต่ใช้การ
หว่านข้าวแล้วเอาฟางคลุม ในช่วงของการทดลองทานาเช่นนี้ได้อ่านพบบทความในวารสารอโศก
เล่าถึงการทานาตามธรรมชาติของมาซาโนบุ ฟูกูโอกะ เกษตรกรชาวญี่ปุ่น จึงได้ทดลองทานาตาม
แนวทางดังกล่าวเป็นเวลา 3 ปี ก็ประสบความสาเร็จจากวิถีทางเกษตรกรรมธรรมชาติ วิถีทางที่คนและ
สัตว์อยู่ร่วมกัน โดยไม่จาเป็นต้องใช้ยาปราบศัตรูพืช เพราะแมลงศัตรูพืชแต่ละชนิด ธรรมชาติได้จัดสรร
ให้ทาลายกันเองอยู่แล้ว ซากพืชและฟางคือสิ่งวิเศษที่ธรรมชาติให้มา รักษาดินที่ทรุดโทรมให้คืนดี
ดังเดิมโดยไม่ต้องใช้สารเคมี การทานาของนายคาเดื่องไม่ไถ ไม่ใส่ปุ๋ ย ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ไม่กาจัดวัชพืช
ก็กลับให้ผลผลิตดีกว่าเดิม เมื่อประสบความสาเร็จตามแนวทางดังกล่าว นายคาเดื่องได้ถ่ายทอดความรู้
และประสปการณ์ให้กับผู้สนใจอย่างต่อเนื่อง
15
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
- พ.ศ. 2547 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดิเรกคุณาภรณ์ (อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งชั้นเหรียญเงิน)
- พ.ศ. 2544 ครูภูมิปัญญา รุ่นที่1 ด้านเกษตรกรรม (เกษตรธรรมชาติ) สานักนายกรัฐมนตรี
- พ.ศ. 2544 รางวัลดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ศิลป์ ศาสตร์ สาขาพัฒนาชุมชน จากมหาวิทยาลัย
ราชภัฎบุรีรัมย์
- พ.ศ. 2535 รางวัลคนดีศรีสังคม จากมูลนิธิหมู่บ้าน
- พ.ศ. 2534 รางวัลผู้นาอาชีพก้าวหน้าดีเด่น
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 40 หมู่ 8 บ้านโนนเขวา ตาบลหัวฝาย กิ่ง อาเภอแคนดง จังหวัดบุรีรัมย์31150
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
ปี 2539 ได้ ตั้งศูนย์การถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้สนใจเกษตรธรรมชาติขึ้น จากนั้น กองทุน
สิ่งแวดล้อมเห็นความสาคัญของการทาเกษตรธรรมชาติ จึงส่งเสริมและสนับสนุนให้สร้างโรงเรียน
ชุมชน โดยใช้บ้านและแปลงนาของ นายคาเดื่องเป็นโรงเรียนชุมชนอีสานสาหรับการถ่ายทอดแนวคิด
และความรู้ในเรื่องการทาเกษตรธรรมชาติให้แก่กลุ่มเกษตรกร ในปี 2541 ศูนย์ร่วมกับมูลนิธิพัฒนา
ชุมชนอย่างยั่งยืนเพื่อคุณภาพชีวิตดีจังหวัดขอนแก่น เพื่อรวมเครือข่ายการเรียนรู้ในลักษณะเดียวกับ
โรงเรียนชุมชนอีสานมาเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ ภายใต้ชื่อ “เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านและพหุภาคีภาค
อีสาน” และในปี 2543 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานกองทุนเพื่อสังคมให้จัดสร้างศูนย์
เรียนรู้ขึ้นและเป็นจุดเรียนรู้สืบต่อมาจนปัจจุบัน ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตาม
แนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตั้งแต่ปี 2550
หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม
หลักสูตรวิทยากรกระบวนการผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเอง (วปอ. เพื่อประชาชน)
โดยการอบรมเกษตรกร ให้เข้าใจถึงแนวทางการทาการเกษตร โดยเน้นการเกษตรธรรมชาติ เพื่อให้เกิด
การพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน ด้วยการนาแนวคิดเกษตร ธรรมชาติไปปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่
รวมทั้งการนา หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต เน้นในเรื่องของความ
ประหยัด ละเว้นอบายมุข และการมีชีวิตที่เรียบง่าย และการนาเกษตรกรที่เข้าอบรมไปศึกษาดูงานแปลง
เกษตรต้นแบบต่างๆ เพื่อให้เห็นแนวคิดที่แตกต่างกันไปของเกษตรกรต้นแบบ
16
ความพร้อมของศูนย์ฯ
ศูนย์มีศักยภาพในการจัดการฝึกอบรม โดยมีศาลาจัดอบรมเป็นศาลาปูน 1 หลัง สร้างอยู่กลาง
สระน้าที่สามารถรองรับผู้อบรมได้80-100 คน รวมทั้งมีสื่อ วิดีทัศน์ และเครื่องขยายเสียง โรงเรือน
ที่พักชาย-หญิงแยกเป็นสัดส่วน ห้องน้าแยกชาย-หญิง จานวน 12-14 ห้อง มีฐานการเรียนรู้ที่เหมาะสม
และมีการศึกษาดูงานภายนอกศูนย์
แผนที่ สถาบันฟื้นฟูภูมิปัญญาไท
17
ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนกลุ่มอีโต้น้อย
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล นายผาย สร้อยสระกลาง
ที่อยู่ 158 หมู่ 4 ตาบลโคกล่าม
อาเภอลาปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์31130
โทรศัพท์ 08-9582-7325, 08-0149-5708
วัน/เดือน/ปีเกิด 3 สิงหาคม 2473
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
การทาเกษตรผสมผสาน การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม การเลี้ยงปลา การทามาหากินบนพื้นฐาน
การพึ่งพาตนเองและพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันในชุมชน โดยการค้นหาวิธีการแก้จนร่วมกันพัฒนาต่อ
ยอดด้านการเกษตรด้วยการสร้างแหล่งน้าในพื้นที่ทากิน
ประสบการณ์
หลังจากจบการศึกษาชั้นประถมปีที่ 4 ได้บวชเป็นสามเณรเพื่อศึกษาพระธรรม ต่อมา
ปี พ.ศ. 2508 สมัครเป็นผู้ใหญ่บ้านบ้านสระคูณ โดยรวมกลุ่มชาวบ้านในการเรียนรู้และจัดการชุมชน
ให้มีกิน รวมถึงการการ ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม เพื่อเสริมรายได้ ในปี 2525 สภาพอากาศแล้ง มาก
จึงตัดสินใจกู้ ธ.ก.ส. เพื่อปลูกข้าวโพด แต่ไม่ประสบผลสาเร็จ จึงทบทวนว่ามาผิดทาง เกิดความตั้งใจ
ที่จะออมน้าบนผืนแผ่นดินทากินของตนเพื่อให้มีข้าว นก ปลา ต้นไม้ที่หลากหลาย มาอาศัย เมื่อได้รับ
ข่าวสารจาก วิทยุว่าจังหวัดขอนแก่นมีการสอนเรื่องการเพาะพันธุ์ปลา และการผสมอาหารทาเอง
จึงไปเรียนรู้และลงมือทาจนประสบความสาเร็จ และขยายความรู้ให้กับเกษตรกรข้างเคียงและเครือข่าย
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
- พ.ศ. 2553 ปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน สาขาเศรษฐกิจพอเพียง จากกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์
- พ.ศ. 2550 เกียรติคุณครอบครัวร่มเย็น จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์
- พ.ศ. 2546 ครูภูมิปัญญา รุ่นที่3 ด้านเกษตรกรรม (เกษตรธรรมชาติ ) จากสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี
- พ.ศ. 2533 ปริญญาพัฒนบริหารบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐประศาสนศาสตร์ จากสถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
- พ.ศ. 2532 รางวัลคนดีศรีสังคม จากมูลนิธิหมู่บ้าน
18
- พ.ศ. 2532 รางวัลผู้ใหญ่บ้านยอดเยี่ยม จากกระทรวงมหาดไทย
- พ.ศ. 2526 รางวัลผู้ใหญ่บ้านยอดเยี่ยม จากกระทรวงมหาดไทย
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 158 หมู่ 4 บ้านสระคูณ ตาบลโคกล่าม อาเภอลาปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์31130
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
กลุ่มอีโต้น้อย ตั้งขึ้นปี 2531 เป็นการรวมกลุ่มของคนทาการเกษตรแบบผสมผสานบ้านสระคูณ
โดยมีนายผาย สร้อยสระกลาง เป็นผู้นาเพื่อเป็นการร่วมมือกันทางานระดมทุนแก้ปัญหาของหมู่บ้าน
ในปี 2534 ได้ร่วมกับมูลนิธิหมู่บ้านเพื่อพัฒนาภาคอีสานภายใต้กรอบการดาเนินงาน “การพัฒนาที่ผ่าน
มาไม่สามารถตอบสนองการแก้ปัญหาของอีสานได้อย่างมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม มีแต่ลากไปตาม
กระแส รังแต่จะทาให้จมน้าตาย และสาเหตุหนึ่งคือองค์กรชาวบ้านไม่มีการรวมตัวกัน ” ต่อมาปี 2539
ได้เข้าร่วมงานกับ ศาสตราจารย์เสน่ห์ จามริก ในโครงการโรงเรียนชุมชนอีสานภายใต้การนาของกลุ่ม
ผู้นาชุมชนในจังหวัดบุรีรัมย์เพื่อทาหน้าที่ประสานงานเครือข่าย การเรียนรู้ของชุมชนในท้องถิ่นอีสาน
และเมื่อ ปี 2541 ร่วมกับมูลนิธิพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนเพื่อคุณภาพชีวิตดีจังหวัดขอนแก่น เพื่อรวม
เครือข่ายการเรียนรู้ในลักษณะเดียวกับโรงเรียนชุมชนอีสานมาเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ภายใต้ชื่อ
“เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านและพหุภาคีภาคอีสาน ” และปี 2545 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก
สานักงานกองทุนเพื่อสังคม ให้จัดสร้างศูนย์เรียนรู้ภายใต้ชื่อ “ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนกลุ่มอีโต้น้อย ” ทั้งนี้
ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2550
หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม
หลักสูตร “วิทยากรกระบวนการผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง
(วปอ.ภาคประชาชน)” ถ่ายทอดให้ผู้เข้าอบรมได้เข้าใจถึงปัญหาหนี้สินที่เกิดขึ้น และแนวทางของการ
แก้ปัญหา รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เรื่องการเกษตร โดยให้มีการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของ
สมาชิกในกระบวนการพัฒนาชนบท เป็นศูนย์เรียนรู้ที่เน้นการพึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง และการนา
เกษตรกรที่เข้าอบรมศึกษาดูงานแปลงเกษตรต้นแบบต่างๆ เพื่อให้เห็นแนวคิดที่แตกต่างกันไปของ
เกษตรกรต้นแบบแต่ละคน
19
ความพร้อมของศูนย์ฯ
ศูนย์ฯมีอาคารฝึกอบรม 1 หลัง ที่สามารถรองรับผู้อบรมได้80-100 คน รวมทั้งมีสื่อวีดิทัศน์
ที่เหมาะสม มีรงเรือนที่พักผู้ชายจะใช้อาคารอบรมและผู้หญิงจะพักที่โรงเรือน มีห้องน้าแยกชาย-หญิง
จานวน 10-12 ห้อง มีฐานการเรียนรู้ที่เหมาะสมภายในศูนย์และมีการศึกษาดูงานในพื้นที่ต้นแบบที่
ประสบความสาเร็จในการทาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่
แผนที่ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนกลุ่มอีโต้น้อย
20
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล นายไพรัตน์ ชื่นศรี
ที่อยู่ 99 หมู่ 7 ตาบลสนามชัย
อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์31150
โทรศัพท์ 08-1966-4317, 08-4471-4344
วัน/เดือน/ปีเกิด 23 พฤศจิกายน 2503
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
เกษตรธรรมชาติ เกษตรผสมผสาน การทาเกษตรอินทรีย์ การทาไร่นาป่าผสม การเลี้ยง
ไส้เดือน การเลี้ยงมดแดง และการปรับแนวความคิดเพื่อพึ่งพาตนเองและพึ่งพากันเองในชุมชน
ประสบการณ์
จากการที่ได้ศึกษาดูงานและเรียนรู้ร่วมกับ เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านและพหุภาคีอีสาน จึงได้นา
แนวคิดมาปรับใช้ในแปลงเกษตรของตนเอง และถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกรที่สนใจเข้ามาเรียนรู้
ปัจจุบันเป็นผู้อานวยการศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์ เครือข่ายนวัตกรรมชาวบ้าน โดยได้รับการ
สนับสนุนจากสถาบันไทรูรัลเนต มูลนิธิบูรณชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้เป็น
แหล่งศึกษาดูงานของปราชญ์ชาวบ้าน ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
- ปี 2553 รางวัลชมเชย การประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งที่ 2
ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 99 หมู่ 7 ตาบลสนามชัย อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์31150
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
ศูนฯย์การเรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์ ตั้งขึ้นเมื่อปี 2543 โดยได้รับการสนับสนุนจากสถาบัน
ไทรูรัลเนต มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถานที่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชาวบ้าน ครู นักเรียน และบุคคลอื่นๆ
ที่สนใจในการทาการเกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดาริของ พระเจ้าอยู่หัว เดิมใช้ชื่อว่า “ฐานการ
เรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์ ” และเปลี่ยนเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์ในปี 2548 โดยน้อมนา
21
พระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง การทาเกษตรทฤษฎีใหม่ขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นหัวใจ
ในการดาเนินกิจกรรมของศูนย์ ฯ การใช้แปลงเรียนรู้เป็นสถานที่วิจัยการทาเกษตรผสมผสาน
เป็นเวทีเสวนาของสมาชิกให้ความรู้เกษตรกร เรื่องการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพโดยการ
ผสมผสานภูมิปัญญาดั้งเดิมที่มีอยู่กับการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นตัวอย่างในการดาเนินกิจกรรม
การเกษตร ปลูกป่าตามหัวไร่ปลายนา เป็นป่าชุมชนในรูปแบบที่สามารถให้ความรู้แก่เกษตรกรได้อย่าง
ต่อเนื่อง ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2551
หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม
วิทยากรกระบวนการเพื่อการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองภาคประชาชน (วปอ. ภาค
ประชาชน) ประกอบด้วย การทาเกษตรอินทรีย์ การทาเกษตรปราณีต 1 งาน การเลี้ยงไส้เดือน การเลี้ยง
ปลาแบบผสมผสานการก่อสร้างบ้านดินการสร้างเตาถ่านขนาดครอบครัวจากถังน้ามัน 200 ลิตร (เตาอีวาเตะ)
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับภูมิปัญญาชาวบ้าน เรื่องพลังงานทดแทน สู่การพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน การปลูก
สร้างสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง จักรยานน้าเพื่อการเกษตร เครื่องสีข้าวกล้องแบบภูมิปัญญาชาวบ้าน
ปุ๋ ยชีวภาพและจุลินทรีย์ท้องถิ่น เลี้ยงหมูพันธุ์พื้นเมืองประยุกต์แบบหมูหลุม และการดูแปลงเกษตร
ธรรมชาติบนพื้นฐานแนวคิดเกษตรอินทรีย์จากเกษตรกรต้นแบบ
ความพร้อมของศูนย์ฯ
ศูนย์มีอาคารฝึกอบรมที่สามารถรองรับผู้เข้ารับการอบรมได้รุ่นละ 100 คน อาคารที่พักรองรับ
ผู้เข้ารับการอบรมได้รุ่นละ 100 คน มีอาคารเอนกประสงค์ ห้องน้า โรงครัว แปลงสาธิตการเรียนรู้
ฐานงานอาชีพเสริม และวัสดุอุปกรณ์ที่พร้อมให้การฝึกอบรมเกษตรกร
22
แผนที่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์
23
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านหนองกราด
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล นายนวล อินทสุข
ที่อยู่ 18 บ้านหนองกราด หมู่ที่ 6 ตาบลหนองตะครอง
อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ 31170
โทรศัพท์ 08-6245-9095
วัน/เดือน/ปีเกิด 13 พฤศจิกายน 2493
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
โรงปุ๋ ยอินทรีย์อัดเม็ดคุณภาพสูง ร้านค้าชุมชน เตาถ่านไม้เศรษฐกิจ บ่อปลาน้าตื้น
การปลูกผักปลอดสารพิษ การผลิตปุ๋ ยอินทรีย์น้า หมูหลุม และการผลิตของใช้ในครัวเรือน
ประสบการณ์
เมื่อปี 2513 นายนวล อินทสุข ได้ทางานที่ภาคใต้และได้เรียนรู้เกี่ยวกับการปลูก เพาะพันธุ์ และ
ขยายต้นกล้ายางพารา การดูแลรักษาเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดี และการซ่อมแซมเครื่องมือทางการเกษตร
จากการที่มีนายจ้างที่เป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง ไม่ฟุ้งเฟ้อ มีความรอบคอบ และ
รอบรู้ ส่งผลให้นายนวลมีแรงบันดาลใจในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง โดยใฝ่หาความรู้ทั้งด้านการ
ทางานและการดาเนินชีวิต และกลับมาจับจองที่ทากินภายใต้โครงการอีสานเขียวเมื่อปี 2530
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
- ปี 2553 รางวัลเกียรติบัตรการประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงครั้งที่ 2
ประเภท ประชาชนในพื้นที่ห่างไกลและกันดาร
- ปี 2550 รางวัล “คนดีศรีแผ่นดินประจาปี 2550” เนื่องในโอกาสปีมหามงคลเฉลิมพระ
ชนมพรรษา 80 พรรษา
- ปี 2549 ชนะเลิศอันดับ 1 ชมรมผู้สูงอายุดีเด่นระดับจังหวัด ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ปี 2549 การยกย่องเชิดชูเกียรติ “ผู้ทาประโยชน์เพื่อชุมชน”
- ปี 2549 ประกาศเกียรติคุณ “ผู้ทาประโยชน์เพื่อแผ่นดินประจาปี 2549” เนื่องในโอกาส
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี
- ปี 2548 การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กลุ่มปลูกผัก
ปลอดสารพิษ
24
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 203 บ้านหนองกราดหมู่ที่ 6 ตาบลหนองตะครองอาเภอละหานทรายจังหวัดบุรีรัมย์ 31170
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ครอบครัวของนายนวลได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจ อย่างมาก
เนื่องมาจากการลงทุนที่มากเกินไปและทาในสิ่งที่เกินกาลังที่จะควบคุมได้ ทาให้นายนวลต้องกลับมา
มองดูตนเอง และได้ปรับปรุงตนเองและครอบครัวให้มีชีวิตความเป็นอยู่อย่างพอเพียง ต่อมาในปี 2541
ได้สมัครเข้าไปเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านหนองกราด จังหวัดบุรีรัมย์ มีการเก็บออม
เงิน และให้คาแนะนากับสมาชิกให้ ตระหนักถึงความสาคัญของการออม เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน รวมถึง
ปลูกพืชผัก โดยมุ่งเน้นเพื่อการบริโภคก่อนที่เหลือจากการบริโภคจึงนาไปขาย ทั้งนี้ ศูนย์ฯได้เข้าร่วม
โครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2552
หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม
หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพึ่งตนเอง
ประกอบด้วย กิจกรรมรวมใจเป็นหนึ่ง กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ กิจกรรมการจัดการทุน
ของชุมชน การจัดทาแผนชุมชน กิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่กับวิถีชีวิตที่พอเพียง การเลี้ยงปลาดุกในบ่อ
ดิน การทาข้าวอินทรีย์การทาน้ายาล้างจาน ล้างห้องน้า กิจกรรมการทาอาหารปลาและอาหารหมูใช้เอง
กิจกรรมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การทาปุ๋ ยอินทรีย์น้า ปุ๋ ยอินทรีย์อัดเม็ด การทาบัญชีครัวเรือน
และบัญชีฟาร์มแบบชาวบ้าน
ความพร้อมของศูนย์ฯ
ศูนย์มีอาคารฝึกอบรมที่สามารถรองรับผู้เข้าฝึกอบรมได้ 40-50 คน โดยจัดที่พักให้ผู้หญิงพักที่
บ้านของปราชญ์ฯ ส่วนผู้ชายจะพักโรงเรือนและห้องที่กั้นแยกภายในอาคารฝึกอบรม มีห้องสุขา 5 ห้อง
และห้องอาบน้า มี แปลงสาธิตและฐานการ เรียนรู้ ที่เหมาะสม และมีความพร้อมด้าน วัสดุอุปกรณ์
เพียงพอสาหรับการฝึกอบรมเกษตรกร
25
แผนที่ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านหนองกราด
26
กลุ่มฟื้นฟูการเกษตรตาบลยาง
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล นายเชียง ไทยดี
ที่อยู่ 59 หมู่ 2 บ้านอนันต์ ตาบลยาง
อาเภอศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 32110
โทรศัพท์ 08-4833-3710, 0-4456-0266
วัน/เดือน/ปีเกิด 2 มีนาคม 2469
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
เกษตรกรรมพึ่งตนเอง การออมน้า ออมความอุดมสมบูรณ์ของดิน การออมต้นไม้ยืนต้น และ
การออมสัตว์ การปลูกไม้ 4 ระดับ การใช้พื้นที่อย่างมีศักยภาพ และการวิจัยของชาวบ้าน โดยเน้น
ให้แนวคิดในเรื่องการพึ่งตนเองและพึ่งพากันในชุมชน
ประสบการณ์
เดิมมีอาชีพทานาและปลูกพืชเชิงเดี่ยว และพบว่าการทาการเกษตรเชิงเดี่ยวไม่สามารถแก้ปัญหา
ได้ไม่มีหลักประกัน และไม่มีบานาญชีวิต จึงเลือกที่จะปลูกพืชหลายชนิด โดยเฉพาะพืชยืนต้น ร่วมกับ
การเลี้ยงปลา และเลี้ยงสัตว์ ทาให้มีอยู่มีกินครบทุกอย่าง มีต้นไม้ใหญ่เป็นหลักประกันและบานาญชีวิต
ได้เริ่มต้นโดยการขุดบ่อ เพื่อออมน้า และตั้งใจจะกักเก็บน้า ไว้ทาการปลูกพืช และเลี้ยงปลา เมื่อมีน้าจึง
ปลูกต้นมะพร้าว และต้นไม้หลากหลายชนิดพร้อมทดลอง เลี้ยงปลา เลี้ยงกุ้งก้ามกราม นอกจากนั้น
นายเชียงยังได้ทดลองนาเอาต้นมะนาวไปต่อยอดต้นกระสังซึ่งเป็นไม้พื้นบ้านที่ทนโรคทนแล้งได้ดี
ความใฝ่รู้ ร่วมกับอิทธิบาท 4 ประการ ทาให้ที่ดินเต็มไปด้วยต้นไม้ ซึ่งมีถึง 4 ระดับทั้งระดับสูงที่สุด
คือ ระดับที่ 4 เช่น ต้นหมาก ต้นมะพร้าว ระดับรองลงมาคือ ระดับ 3 เช่น มะม่วง ส้มโอ ชมพู่ กระท้อน
ขนุน กระถิน สะเดา ผักกระโดน ผักติ้ว ต้นแต้ ต้นประดู่ ระดับที่ 2 เช่น ละมุด มะนาว ฝรั่ง ทับทิม
น้อยหน่า มะละกอ กล้วย ผักเม็ก และระดับต่าสุด ขิง ข่า ตะไคร้ พริก ผักอีตู ต้นกระเจียว เป็นต้น
ศูนย์มีความหลากหลายของพันธุ์ไม้และยังมีปลาในบ่อเป็ดไก่กบและหมูซึ่งอยู่กันอย่างสมดุล
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
- เกียรติบัตรเป็นเครือข่ายศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน “เพื่อนเรียนรู้สู่เศรษฐกิจพอเพียง”
- ปี 2545 ครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 2 สาขาเกษตรกรรมอินทรีย์
- ปี 2544 เกียรติบัตรยกย่องเป็นเกษตรตัวอย่าง(ไร่นาสวนผสม) ของอาเภอศีขรภูมิ
- ปี 2539 ปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากสถาบันราชภัฏสุรินทร์
- ปี 2534 รางวัล “ผู้นาอาชีพก้าวหน้าระดับจังหวัด” จังหวัดสุรินทร์
27
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 59 หมู่ 2 บ้านอนันต์ ตาบลยาง อาเภอศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 32110
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
นายเชียงได้ขยายแนวคิดการพึ่งตนเองและพึ่งพากันเองพร้อมแสดงรูปธรรมจากสวนของ
ตนเอง และในปี 2533 พ่อเชียงได้ชักชวนชาวบ้านในละแวกใกล้เคียงมารวมกลุ่ม เพื่อคิดและวิเคราะห์
แนวทางนี้ แต่ถูกต่อว่าหาว่ าอยากดังจึงเลิกไป ต่อมาในปี 2539 ได้ตั้งกลุ่มฟื้นฟูการเกษตรร่วมกับ
ความคิดและความเชื่อมั่นในการพึ่งตนเอง ทาให้สมาชิกมีการระดมสมองกันอย่างสม่าเสมอ มีการรวม
เงินทุนในกลุ่มสมาชิกเพื่อเป็นเงินทุนค่ารถค่าน้ามันพาเกษตรกรไปศึกษาดูงานจนได้ความคิดแล ะ
รูปธรรมการพึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง นอกจากนั้น นายเชียงยังได้เพาะพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ทั้งแจกและ
จาหน่ายแก่สมาชิกในราคาถูก ระดมทุนในการขุดบ่อน้า แก้ปัญหาขาดแคลนน้า เพื่อการเกษตรแก่
สมาชิก ทาให้สมาชิกเกิดการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองได้ ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการ
เกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2550
หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม
หลักสูตรวิทยากรกระบวนการผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองและพึ่งพา (วปอ.ภาค
ประชาชน) การทาปุ๋ ยอินทรีย์ น้าหมัก การขยายพันธุ์พืช การทาเกษตรประณีต และการนาเกษตรกรที่
เข้าอบรมศึกษาดูงานแปลงเกษตรต้นแบบต่างๆ เพื่อให้เห็นแนวคิดที่แตกต่างกันของเกษตรกรต้นแบบ
ความพร้อมของศูนย์ฯ
ศูนย์มีอาคารฝึกอบรมที่สามารถรองรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ 60-80 คน มีที่พักแบบ
โฮมสเตย์บริเวณใกล้เคียง มีห้องน้าแยกชาย-หญิง จานวน 8 ห้อง มีฐานการเรียนรู้ที่เหมาะสมตาม
หลักสูตรการฝึกอบรม และมีอุปกรณ์การเรียนการสอนที่พร้อมสาหรับการฝึกอบรม
28
แผนที่ กลุ่มฟื้นฟูการเกษตรตาบลยาง
เข้าเมืองสุรินทร์ถ.สุรินทร์-ร้อยเอ็ด
ถ.เลียงเมืองไป อ.ศรีขรภูมิ
เข้าเมืองสุรินทร์
ปั้ม ปตท.
ถนนสุรินทร์-ศรีขรภูมิ
รพ.ศรีขรภูมิ
วิทยาลัยการ
อาชีพศรีขรภูมิ
โรงเรียนบ้าน
อนันต์
ศูนย์เรียนรู้ปราชญ์
ชาวบ้าน (นายเชียง
ไทยดี)
29
ชุมชนบุญนิยมสุรินทร์อโศก
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล จ.ส.อ. วิชาพร พินธุรักษ์
เป็นผู้ประสานงานลักษณะการทางาน
ที่อยู่ 22 หมู่ 8 บ้านตะโก ตาบลตะแสง
อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000
โทรศัพท์ 08-1333-8001, 0-4472-5432 , 08-9508-8287
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
ด้านกสิกรรมไร้สารพิษ และด้านพุทธศาสนากับการดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
หลักการของการเป็นชุมชนเข้มแข็งและชุมชนพึ่งตนเอง โดยมีส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมชุมชนที่
ผู้เข้าอบรมต้องถือปฏิบัติ คือ การถือศีล 5 การลด ละ เลิกอบายมุขทุกชนิด การไม่บริโภคเนื้อสัตว์
ทุกชนิด รับประทานอาหารวันละ 2 มื้อ และการไม่ใส่รองเท้า
ประสบการณ์
ชุมชนสุรินทร์อโศกดาเนินชีวิตอยู่ด้วยความเรียบง่าย ทากสิกรรมไร้สารพิษ และเครื่องอุปโภค
บริโภคใช้เอง กินและใช้สิ่งที่เราปลูก และปลูกสิ่งที่เรากิน-ใช้ นั้น เมื่อเหลือก็นาออกแจกจ่าย ทาทาน
เป็นสถานที่ให้ความรู้ที่มีแก่บุคคลภายนอกอย่างต่อเนื่อง
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
-
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 161 หมู่ 11 ตาบลสลักได อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
ชุมชนสุรินทร์อโศกตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2546 เกิดจากการรวมตัวของกลุ่มญาติธรรม ที่ถือศีล 5
เลิกอบายมุข กินมังสวิรัติ เป็นชุมชนที่พัฒนาด้วยความมั่นคงจนเป็นที่ศึกษาดูงานและอบรมให้ความรู้
กับผู้ที่สนใจอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2551
30
หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม
หลักสูตร “กสิกรรมไร้สารพิษเศรษฐกิจพอเพียง ” เน้นการปลูกฝังแนวคิดด้านการนาศีลธรรม
มาใช้ในการดาเนินชีวิต ด้วยการยึดหลักศีล 5 เรียนรู้การทากสิกรรมไร้สารพิษและพัฒนาอาชีพพื้นฐาน
ที่จาเป็นในการดารงชีพ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนและดาเนินชีวิตที่พึ่งตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง รวมทั้งการเสริมสร้างความรู้ในการดูแลสุขภาพ โดยยึดหลัก 7 อ. 5 ส.
ความพร้อมของศูนย์ฯ
ศูนย์มีอาคารส่วนกลางสาหรับการฝึกอบรม ได้จานวน 200 คน มีที่พักผู้เข้าฝึกอบรมแยกชาย-
หญิง จานวน 150 คน มีห้องน้าแยกชาย-หญิง จานวน 20 ห้อง มีโรงครัวกลาง มีฐานงานวิชาชีพต่างๆ
เช่น แปรรูปอาหาร สมุนไพร ปุ๋ ยอินทรีย์อัดเม็ด น้าหมักชีวภาพ การทาดินระเบิดชีวภาพ น้ายาล้างจาน
การคัดพันธุ์ข้าว เป็นต้น มีแปลงสาธิตทางการเกษตร สาหรับฝึกปฏิบัติ และมีอุปกรณ์การเรียนการสอน
ที่พร้อมสาหรับการฝึกอบรม
แผนที่ ชุมชนบุญนิยมสุรินทร์อโศก
อ.สังขะ
ร้อยเอ็ด
สุรินทร์
อ.ปราสาท
โรงสีทวี
ผล
ร้านค้า
คกร.
สุรินทร์
สุรินทร์อโศก
IQกม. 7
31
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงสินสุวรรณ
ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน
ชื่อ-สกุล นายนิยม จิตระดิษฐ์
ที่อยู่ 4 หมู่ 2 บ้านทัพกระบือ ตาบลสาโรง
อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000
โทรศัพท์ 08-1301-6730
วัน/เดือน/ปีเกิด 17 สิงหาคม 2487
ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ
เกษตรผสมผสาน การติดตา ทาบกิ่ง และขยายพันธุ์ไม้ผลตระกูลส้มบนต้นกระสัง
ประสบการณ์
ปี 2518 - 2535 ได้มีโอกาสเข้าเรียนรู้วิถีเกษตรผสมผสานจากไต้หวัน เมื่อกลับมาได้ตั้งชมรม
เกษตรผสมผสานจังหวัดสุรินทร์ มีผลงานที่โดดเด่น คือ การนากระสังมาเป็นต้นตอของส้มทุกชนิด
ซึ่งเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของศูนย์เรียนรู้ แต่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
- คนค้าคนคูณจังหวัดสุรินทร์
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ
ที่ตั้ง 4 หมู่ 2 บ้านทัพกระบือ ตาบลสาโรง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000
ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ
เมื่อได้เข้ารับการอบรม วปอ.ภาคประชาชน ประกอบกับประสบการณ์เดิมจากวิถีเกษตร
ที่เรียนรู้ด้วยตนเองมาอย่างต่อเนื่องจึงได้สร้างศูนย์อบรมชาวบ้านขึ้นเพื่อถ่ายทอด ความรู้และ เทคนิค
วิธีการทางการเกษตร และต้องการช่วยเหลือชาวบ้านให้มีความรู้ ความเข้าใจในการประกอบอาชีพ ทั้งนี้
ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ ปี 2551
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

More Related Content

What's hot

2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดSiriluk Singka
 
ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60gel2onimal
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์yahapop
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านMo Taengmo
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ผ้าบาติก
ผ้าบาติกผ้าบาติก
ผ้าบาติกNupla
 
เมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ
เมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะเมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ
เมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานDuonghthai Thaigun
 

What's hot (18)

โครงงานกลุ่มที่ 2.doc
โครงงานกลุ่มที่ 2.docโครงงานกลุ่มที่ 2.doc
โครงงานกลุ่มที่ 2.doc
 
โครงงานกลุ่มที่ 1.doc
โครงงานกลุ่มที่ 1.docโครงงานกลุ่มที่ 1.doc
โครงงานกลุ่มที่ 1.doc
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานกลุ่มที่ 3.doc
โครงงานกลุ่มที่ 3.docโครงงานกลุ่มที่ 3.doc
โครงงานกลุ่มที่ 3.doc
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
 
วิจัยสิทธิ์ ใกล้เสด
วิจัยสิทธิ์ ใกล้เสดวิจัยสิทธิ์ ใกล้เสด
วิจัยสิทธิ์ ใกล้เสด
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
 
ผ้าบาติก
ผ้าบาติกผ้าบาติก
ผ้าบาติก
 
เมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ
เมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะเมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ
เมืองแม่มอก : สร้าง Care Giver เตรียมความพร้อมสู่เมืองสุขภาวะ
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 

Similar to บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Jitty Chanprasit
 
กศน ตำบล
กศน  ตำบลกศน  ตำบล
กศน ตำบลkruteerapol
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวเครือข่าย ปฐมภูมิ
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55Montree Jareeyanuwat
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2Apichaya Savetvijit
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53Wee Boon
 

Similar to บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (20)

Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn
 
กศน ตำบล
กศน  ตำบลกศน  ตำบล
กศน ตำบล
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
 
ดร.เจษฎา ชาตรี
ดร.เจษฎา  ชาตรีดร.เจษฎา  ชาตรี
ดร.เจษฎา ชาตรี
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
 
จุดเน้นที่ 2
จุดเน้นที่  2จุดเน้นที่  2
จุดเน้นที่ 2
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
 
Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53
 

More from นางสาวอัมพร แสงมณี

More from นางสาวอัมพร แสงมณี (20)

คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9
 
คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8
 
คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7
 
คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6
 
คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5
 
คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4
 
คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3
 
คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 

บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

  • 2. 2 มหาชีวาลัยอีสาน ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล นายสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์ ที่อยู่ 34 หมู่ 2 บ้านปากช่อง ตาบลสนามชัย อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์31150 โทรศัพท์ 08-6460-4775 วัน/เดือน/ปีเกิด 21 กุมภาพันธ์ 2491 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ เป็นนักวิจัยชาวบ้านด้านการเกษตร นักพัฒนาในการถ่ายทอดความรู้และ สร้างแนวคิดการ พึ่งตนเองและพึ่งพากันเองให้กับเกษตรกร การจัดการด้านการแปรรูป และธุรกิจชุมชน มีการวิจัยและ พัฒนาด้านการเกษตรกรรมพึ่งตนเอง ด้านอุตสาหกรรมชุมชนและด้านธุรกิจชุมช นรวมทั้งการปฏิรูป การศึกษา และมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม ประสบการณ์ นายสุทธินันท์ทาการเกษตร คือปลูกปอ ถั่วลิสง นุ่น ข้าวฟ่าง ข้าวโพด มันสาปะหลัง และทานา ปี 2522 พบว่าการปลูกพืชเชิงเดี่ยวตามกระแส นั้นมีความเสี่ยงสูง จึงได้กลับมายึดคาสอนของ พระพุทธเจ้าเรื่อง “อัตตาหิ อัตตาโน นาโถ” และหลักธรรมของท่านพุทธทาสคือ “การทางานเพื่อเงิน นั้นต้องรอจนกว่าได้เงินเสียก่อนจึงจะรู้สึกพอใจและมีความสุข แต่การทางานเพื่องาน พอลงมือทา ก็พอใจแล้วและจะเป็นสุขในทันที ส่วนเงินนั้นก็จะไปไหนเสีย” โดยพยายามหาทิศทางการเกษตรเพื่อ เลี้ยงปากเลี้ยงท้องของคนอีสาน โดยดาเนินกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น งานด้านปศุสัตว์ งานด้านการ ปลูกไม้ยืนต้น เกิดการพึ่งตนเองได้ ลดความเสี่ยง ลดรายจ่าย ลดหนี้สิน เพิ่มการออมในหลายรูปแบบ เช่น ออมความอุดมสมบูรณ์ของ ดิน ออมน้า ออมต้นไม้ใหญ่ เป็นการเพิ่มรายได้ในที่สุดเกิดบานาญชีวิต จากไม้ยืนต้นทั้งผัก ผลไม้ และไม้ใช้สอยที่หลากหลายนับหมื่นนับแสนต้น มีสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ดี ทาให้ระบบนิเวศดีขึ้น ปลอดภัยจากสารเคมี ช่วยให้จิตใจสงบมีความรักมนุษย์และสิ่งแวดล้อม พึ่งพา ภายนอกน้อยลง มีภูมิคุ้มกันส่วนบุคคลและของชุมชน ยิ่งทายิ่งมั่นใจและขยายวงกว้างขึ้น และได้ตั้งที่ พานักเป็นกรม เรียกว่า “กรมราษฎรส่งเสริม” โดยมีนโยบายที่ชัดเจน ทาได้และได้ทาแล้วว่า “ต้นไม้จะ คืนสู่ไร่นา ปูปลาจะคืนสู่หนองน้า อิสระเสรีจะคืนสู่ประชาชน สมัชชาคนจนจะคืนถิ่น”
  • 3. 3 รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - รางวัลเกษตรกรที่มีผลงานด้านการสร้างเสริมสิ่งแวดล้อม จากองค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ - รางวัลเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ สาขาปลูกสร้างสวนป่า ในพระราชพิธีจรดพระนัง คัล แรกนาขวัญ ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 34 หมู่ 2 บ้านปากช่อง ตาบลสนามชัย อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์31150 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ ปี 2537 ได้ร่วมกับสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนาและสภาการศึกษาแห่งชาติ สถาบันราชภัฎ บุรีรัมย์ และมูลนิธิซาซากาว่า จากประเทศญี่ปุ่น ตั้งโรงเรียนชุมชนอีสาน เพื่อให้คนไทยพึ่งตนเองและ พึ่งพากันเองเจริญตามรอยพระยุคลบาทของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช การร่วมมือกับนาย ผาย สร้อยสระกลาง และนายคาเดื่อง ภาษี ตั้งโรงเรียนชุมชนอีสาน โดยการสนับสนุนของศาสตราจารย์ เสน่ห์ จามริก ทาให้เครือข่ายขยายตัวขึ้นตั้งแต่ปี 2539 เป็นต้นมา และทาให้ภาพ 1 ล้านครอบครัวที่ พึ่งตนเองและพึ่งพากันเองได้ของคนอีสานมิได้เป็นเพียงความฝันอีกต่อไป การดาเนินงานของ นายสุทธินันท์ยังคงดาเนินอย่างต่อเนื่องภายใต้ศูนย์เรียนรู้มหาชีวาลัยอีสาน ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วม โครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระหว่าง ปี 2550 - 2552 หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม หลักสูตร “เศรษฐกิจชุมชนระดับครัวเรือน” เพื่อเรียนรู้ที่แสดงให้เห็นว่าเกษตรกรไทย ถ้าคิดได้ นอกจากการพึ่งตนเองและพึ่งพากันเองได้แล้ว ยังทาให้ความสามาร ถไปพัฒนาเศรษฐกิจในระดับ มหภาคให้อยู่ในระดับแนวหน้าและยั่งยืนได้ หลักสูตร “การจัดการความรู้แบบธรรมชาติ” หรือ KM (Knowledge Management) ธรรมชาติเพื่อ ฝึกปฏิบัติ การจัดการความไม่รู้ของฝ่ายนโยบายทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้ง นักปฏิบัติการและ ผู้สนับสนุนการจัดการความรู้ อันจะนาสังคมไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงโดย ความร่วมมือของนักจัดการความรู้ในเว็บไซด์ www.gotoknow.org ความพร้อมของศูนย์ฯ มีสถานที่ฝึกอบรมเป็นอาคารปูน 2 ชั้น สามารถรองรับผู้เข้าอบรมได้ประมาณ 50-80 คน มีสื่อ วีดิทัศน์ที่เหมาะสม มีสถานที่พักโดยจะพักบนชั้น 2 ของอาคารฝึกอบรมแยกเป็นสัดส่วน ชาย-หญิง
  • 4. 4 มีห้องน้า/ห้องสุขา จานวน 16 ห้อง แยกชาย-หญิง มีฐานการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมและสอดคล้อง ตามหลักสูตรการฝึกอบรม แผนที่มหาชีวาลัยอีสาน
  • 5. 5 ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรผสมผสานบ้านโนนรัง-บูรพา ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล นายจันทร์ที ประทุมภา ที่อยู่ 138 หมู่ 6 บ้านโนนรัง ตาบลตลาดไทร อาเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา 30270 โทรศัพท์ 08-9948-4737, 08-1074-2843 วัน/เดือน/ปีเกิด พ.ศ. 2481 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ การทาการเกษตรแบบผสมผสานไร่นาสวนผสม การทาเกษตรอินทรีย์ การขยายพันธุ์พืช เชี่ยวชาญการปลูกผักหวานป่า ขยายพันธุ์ปลา แนวคิดการเกษตรทฤษฎีใหม่ การแปรรูปผลผลิตและ การอัดอิฐดินซีเมนต์ ประสบการณ์ ปี 2524 ได้ตั้งโรงสีเล็ก และเลี้ยงหมูแม่พันธุ์ ต่อมาในปี 2525 ได้ประกอบอาชีพ นายหน้าหาคน ไปทางานต่างประเทศเพราะมีความโลภต้องการรวย แต่ต้องประสบปัญหา โดนโกงเงินค่าประกันวีซ่า ทาให้ต้องจานองที่นาทั้งหมด และขายทรัพย์สินทุกอย่างที่มีอยู่ในบ้านเพื่อใช้หนี้ ในปี 2529 ได้ไป ทางานที่ต่างประเทศ เพื่อหาเงินมาไถ่ที่นา แม้ว่าสามารถไถ่ที่นาคืนได้แต่ก็ไม่มีเงินทุนหมุนเวียน จึงได้ เริ่มทดลองอาชีพทานาเพียงอย่างเดียว รายได้จากการทานาในปีแรกพอมีพอใช้ในครอบครัว ปีที่สองจึง นาเอาหลักทรัพย์ไปจานองสหกรณ์ ได้เงินมาลงทุนและใช้จ่ายในครอบครัว การทานาเพียงอย่างเดียว ก่อให้เกิดหนี้สินเพิ่มขึ้น ต่อมาได้ไปศึกษาดูงานแปลงเกษตรผสมผสานของพ่อผาย สร้อยสระกลาง และ ได้นาแนวคิดการทาเกษตรผสมผสานมาเผยแพร่ให้กับ สมาชิกในครอบครัว ซึ่งร่วมกันตัดสินใจเริ่มต้น ทาเกษตรผสมผสานตั้งแต่ปี 2534 นอกจากนี้ การเข้าร่วมอบรมหลักสูตรวิทยากร กระบวนการเพื่อการ เปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง “วปอ.ภาคประชาชน” ทาให้เห็นปัญหาของชาติ สาเหตุ ทางเลือกและ การรวมพลังคนไทยในการร่วมกันแก้ปัญหา รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - ปี 2550 รางวัลชนะเลิศการประกวดผลงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ ครั้งที่ 1 - ปี 2549 ครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 5 ด้านเกษตรกรรม (เทคนิคการปลูกผักหวาน ) จาก กระทรวงศึกษาธิการ - ปี 2542 รางวัลผลงานพัฒนาชุมชนดีเด่น อาเภอชุมพวง
  • 6. 6 - ปี 2542 ประธานกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ทั้งระดับอาเภอและระดับจังหวัด - ปี 2538 รางวัลไร่นาสวนผสมดีเด่น ของจังหวัดนครราชสีมา ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 138 หมู่ 6 บ้านโนนรัง ตาบลตลาดไทร อาเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา 30270 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ จากกิจกรรมการฝึกอบรมหลักสูตรในสถานที่ต่างๆ ทาให้เกิดการสร้าง ผู้นารุ่นใหม่ขึ้น ภายใต้ ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรผสมผสานบ้านโนนรัง-บูรพา เกิดกระบวนการเรียนรู้โดยการสร้างองค์ความรู้และ การจัดการแก้ปัญหาของกลุ่มสมาชิกและทาเศรษฐกิจดีขึ้น มีรายจ่ายต่า เงินออมเพิ่ม หนี้สินหมด และ รายได้เพิ่มขึ้น มีสิ่งแวดล้อมดีขึ้นในสภาพดินดา น้าชุ่ม ป่าอุดมสมบูรณ์ ปลอดมลภาวะ มีสังคมที่มี ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง ประเทศชาติมั่นคงและที่สาคัญคือวิถีชีวิตที่พึ่งตนเอง และพึ่งพากันเอง ได้อย่างสมดุล และมีความสุข สมาชิกในศูนย์เรียนรู้บ้านโนนรัง -บูรพา มีความเข้าใจหลักเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เน้นความพอเพียง การพึ่งตนเองและ พึ่งพากันเอง ทดแทนการพึ่งเงิน พึ่งตลาด พึ่งวัตถุ และพึ่งคนอื่น ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการ พัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2550 หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม หลักสูตร “วิทยากรกระบวนการผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งพาตนเองและพึ่งพากันเอง (วปอ. ภาคประชาชน)” โดยใช้การเกษตรผสมผสานเป็นเครื่องมือหลัก เน้นให้เกิดการออมน้า ออมความอุดม สมบูรณ์ของดิน การออมสัตว์และออมต้นไม้ยืนต้นทั้งผัก ผลไม้และไม้ใช้สอย การจัดการแปลงเกษตร ประณีต 1 ไร่ และการนาเกษตรกรที่เข้าอบรมศึกษาดูงานแปลงเกษตรต้นแบบ เพื่อให้เห็นแนวคิด ที่แตกต่างกันไปของเกษตรกรต้นแบบแต่ละคน ความพร้อมของศูนย์ฯ ศูนย์มีอาคารอบรมสามารถรองรับผู้เข้าอบรมได้ประมาณ 60 คน รวมทั้งมีสื่อวีดิทัศน์ที่ เหมาะสม มีโรงเรือนที่พักแยกเป็นเรือนนอนหญิง-ชาย มีห้องครัวและและโรงอาหารแยกเป็นสัดส่วน ห้องน้า/ห้องสุขาที่เพียงพอต่อจานวนผู้เข้าอบรม
  • 8. 8 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาของชาวบ้านโครงการส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล นายอานาจ หมายยอดกลาง ที่อยู่ 14 หมู่ 11 บ้านน้าซับ ตาบลวังน้าเขียว อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา 30370 โทรศัพท์ 0-4424-9107, 08-1966-4247 โทรสาร 0-4424-9107 วัน/เดือน/ปีเกิด 14 พฤศจิกายน 2497 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเกษตรกรรมอินทรีย์ ได้แก่ กสิกรรม ไร้สารพิษ (ปลูกผักไร้สารพิษ และทานาไร้สารพิษ) พลังงานทดแทน การจัดการเรียนรู้ของชุมชน ด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ การสร้างวิทยากรแกนนา และกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็ง ประสบการณ์ มีประสบการณ์ในการทางานร่วมกับกลุ่มเกษตรกร ผู้บริหารระดับจังหวัด และระดับประเทศ เช่น สหกรณ์การเกษตร คณะทางานจัดทารายละเอียดการดาเนินงานเกี่ยวกับสถาบันวิจัยและพัฒนาการ เกษตรอินทรีย์แห่งชาติ เป็นอนุกรรมการนโยบายและแผนสินเชื่อการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ปัจจุบันเป็นประธานกลุ่มส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษ “วังน้าเขียว” ในโครงการส่งเสริมกสิกร รมไร้สารพิษ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ กรรมการเครือข่าย พันธมิตรธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตรจังหวัดนครราชสีมา ผู้อานวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาของชาวบ้านโครงการส่งเสริม กสิกรรมสารพิษอันเนื่องมาจากพระราชดาริ กรรมการมูลนิธิ กสิกรรมธรรมชาติ คณะกรรมการสถาบัน เศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - ประธานมูลนิธิวังน้าเขียว - ปี 2547 วิทยากรอาสาสมัคร สจส. กิตติมศักดิ์ สถาบันเพื่อพัฒนาการเกษตรและชนบท จาเนียร สาระนาค - ปี 2546 ประกาศเกียรติอาสาสมัครทางานเพื่อชุมชน สานักงานกองทุนเพื่อสังค มธนาคาร ออมสิน
  • 9. 9 ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 14 หมู่ 11 บ้านน้าซับ ตาบลวังน้าเขียว อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา 30370 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ นายอานาจ หมายยอดกลาง และเกษตรกร ส่วนหนึ่งของอาเภอวังน้าเขียว ได้เห็นปัญหา เกิดขึ้นจากการทาการเกษตรเชิงเดี่ยว การบุกรุกตัดไม้ทาลายป่า การใช้สารเคมี สภาพดินเสื่อมโทรม ผลผลิตทางการเกษตรมีสารพิษตกค้าง ทาให้เกษตรกรได้รับพิษจากการใช้ยาฆ่าแมลง เกิดการเจ็บป่วย ทั้งผู้ผลิตและบริโภค จึงได้ร่วมกันก่อตั้งกลุ่มส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษวังน้าเขียวขึ้น เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2541 ปัจจุบันกลุ่มส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษวังน้าเขียว ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ รับไว้ในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และได้จดทะเบียนจัดตั้งเป็นสหกรณ์กสิกรรมไร้สารพิษ ในเขตปฏิรูปที่ดินอาเภอวังน้าเขียว จากัด เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2543 และพัฒนาเป็นสถานที่ฝึกอบรม และสาธิตกิจกรรมการเพาะปลูก โดยไม่พึ่งพาสารเคมีและการดาเนินชีวิตตามแนวทา งพระราชดาริ เศรษฐกิจแบบพอเพียงให้แก่เกษตรกรที่สนใจ จนได้รับขนานนาม จากวารสารมูลนิธิชัยพัฒนา ฉบับเดือนเมษายน 2544 ว่า “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาของชาวบ้าน โครงการส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ” ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2550 หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม หลักสูตร “วิถีชีวิตชุมชนด้วยเศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบด้วย ฐานกสิกรรมไร้สารพิษ การทา นาและปลูกผักไร้สารพิษ ฐานน้าหมักชีวภาพ ปุ๋ ยหมักชีวภาพ ฐานปุ๋ ยปั้นเม็ดอินทรีย์ ฐานน้ายา เอนกประสงค์ ฐานแปรรูปอาหาร ฐานอิฐดินซีเมนต์ โดยใช้ดินที่สามารถจัดหาได้ในท้องถิ่นเป็นการ สร้างอาชีพให้กับคนในชนบท ฐานเตาเผา ฐานรีไซเคิลขยะ ฐานสุขภาพ การรักษาสุขภาพด้วยตนเอง การแพทย์องค์รวม ฐานลูกก้อนมหัศจรรย์นาลูกก้อนมาบาบัดน้าเสียโดยวิธีสารชีวภาพ การเยี่ยมชมวิถี ชุมชน กิจกรรมปลูกต้นไม้ตามแผนยุทธศาสตร์การปลูกไม้ใช้หนี้เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน และ โครงการปลูกป่าต้นน้า รวมทั้ง ฐานพลังงานทดแทนพืชน้ามัน ความพร้อมของศูนย์ฯ ศูนย์มีอาคารฝึกอบรมของศูนย์สามารรองรับผู้เข้าอบรมได้ประมาณ 80-100 คน และมีสื่อวีดิ ทัศน์ที่เหมาะสม มีห้องน้าแยกชาย-หญิงมีเพียงพอต่อจานวนผู้เข้าอบรม มีโรงเรือนที่พักแยกหญิง-ชาย ห้องครัวและโรงอาหารแยกเป็นสัดส่วน
  • 11. 11 แหล่งเรียนรู้การเกษตรเพื่อการพึ่งตนเองและสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น “สวนลุงโชค” ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล นายโชคดี ปรโลกานนท์ ที่อยู่ 14 หมู่ 6 บ้านคลองทุเรียน ตาบลวังน้าเขียว อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา 30370 โทรศัพท์ 08-1999-7468, 08-1725-1179 Email address :loongchoke@yahoo.com วัน/เดือน/ปีเกิด 8 ธันวาคม 2500 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในพื้นที่ต้นน้า กระบวนการ ฟื้นฟูป่า เกษตรทางเลือกสู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพึ่งพาตนเองในท้องถิ่น การเพาะขยายพันธุ์ไม้ การฟื้นฟูดิน การทาปุ๋ ยชีวภาพ ปุ๋ ยพืชสด น้าหมักชีวภาพ แนวคิดการพึ่งตนเองกับหมอยาพื้นบ้าน การทาลูกประคบ ยาหม่องไพล และน้าดื่มสมุนไพร เป็นต้น ประสบการณ์ ปี 2526 หลังจากจบ การศึกษาจากสถาบันการเกษตรแม่โจ้ ได้ประกอบอ าชีพทาไร่ข้าวโพด แต่ประสบความล้มเหลวจากการทาไร่ขาดทุน และมีหนี้สิน ทาให้ต้องเริ่มคิดทบทวน แนวทางการทา การเกษตรดังกล่าว ต่อมา ปี 2533 ลุงโชคได้เริ่มทางานกับชุมชนรอบพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทาให้ได้เรียนรู้และ ได้รับองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมการเกษตรในโครงการพัฒนาชนบทเพื่อการ อนุรักษ์พื้นที่ชุมชนรอบป่าเขาใหญ่ ปี 2537 – 2544 เป็นหัวหน้าโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ เขาแผงม้า และปัจจุบันเป็นผู้ประสานงานอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - รองชนะเลิศลาดับที่ 2 โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ ฯ - ปราชญ์เกษตร สานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (เครือข่ายเกษตรพอเพียง) ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 14 หมู่ 6 บ้านคลองทุเรียน ตาบลวังน้าเขียว อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา 30370
  • 12. 12 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ “สวนลุงโชค” เดิมเป็นพื้นที่ไร่ข้าวโพด ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ ป่าต้นน้าตั้งแต่ปี 2508 เป็นต้นมา จากเดิมที่เป็นพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์ เป็นเขตป่าต้นน้าลาพระเพลิงใน เขตอาเภอวังน้าเขียว สาหรับการทาไร่ข้าวโพด และพืชไร่อื่นๆ ทาให้เกิดการสูญเสียต้นทุนทาง ธรรมชาติ และเกือบทุกครัวเรือนในภาคเกษตรมีหนี้สินพึ่ง พาตนเองไม่ได้ จนกระทั่งปี 2533 ได้นา แนวคิด “วนเกษตร” ในการพัฒนาฐานครัวเรือนขยายไปสู่ชุมชนควบคู่ไปกับการปลูกจิตสานึกในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสัตว์ป่า และได้มีการพัฒนาฟื้นฟูป่าต้นน้าลาพระเพลิง ปัจจุบันสวน ลุงโชค จึงเป็นสถานที่แลกเปลี่ยนและศึกษาดูงานในเรื่องการเกษตรทางเลือกที่สอดคล้องกับแนวคิด การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน โดยการส่งเสริมแนวทางการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกษตรสู่การพึ่งตนเอง ลดการพึ่งปัจจัยภายนอก และร่วมกันสร้างกระบวนการเรียนรู้ใหม่ที่จะเอื้อต่อการฟื้นฟูวิถีชุมชนเกษตร ที่ยั่งยืน ในพื้นที่ต้นน้ามูลตอนบน – ลาพระเพลิง ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตาม แนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2551 หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม หลักสูตร “เกษตรทางเลือกสู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพึ่งตนเองในท้องถิ่น ” ประกอบด้วย การฟื้นฟูดิน ปุ๋ ยชีวภาพ ปุ๋ ยพืชสด น้าหมักชีวภาพ กระบวนการทาน้ามันหอมระเหยจากตระไคร้หอม มะกรูด การทาฮอร์โมนบารุงพืช การปลูกการดูแลไม้กฤษณาและการกลั่นน้ามันกฤษณา การทาเห็ด/ การผลิตก้อนเห็ด การผลิตถ่านด้วยถัง 200 ลิตร และการทาน้าส้มควันไม้ การฝึกอบรมการเพาะขยาย พรรณไม้แนวคิดการพึ่งตนเองกับหมอยาพื้นบ้าน การทาลูกประคบ ยาหม่องไพล น้าดื่มสมุนไพร การ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในพื้นที่ต้นน้า กระบวนการฟื้นฟูป่าโดย โครงการปลูกป่า กระบวนการกลุ่มและการสร้างค่ายสื่อความหมายธรรมชาติ ความพร้อมของศูนย์ฯ มีศาลาเอนกประสงค์สาหรับฝึกอบรมจานวน1หลัง รองรับผู้ฝึกอบรมได้40–50คน มีเรือนพัก 2 หลัง ประกอบด้วย เรือนริมบ่อ รองรับผู้ร่วมอบรมได้ 30 คน พร้อมลานกลางเต็นท์ เรือนไม้หมาก รองรับผู้ร่วมอบรมได้ 10 คน มีห้องน้าจานวน 10 ห้อง อุปกรณ์และวัสดุสานักงาน รวมทั้ง มีฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการฝึกอบรม
  • 13. 13 แผนที่ แหล่งเรียนรู้การเกษตรเพื่อการพึ่งตนเองและสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น “สวนลุงโชค” N S N S โรงพยาบาลวังน้าเขียว กม.76 ที่ว่าการอาเภอวังน้าเขียว กม.79 ศาลเจ้าพ่อ ไปจังหวัดปราจีนบุรี ไปจังหวัดนครราชสีมา อาเภอปกธงชัย เขาแผงม้า ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน(สวนลุงโชค) ทางเข้าบ้านคลองทุเรียน หมู่ที่ 6 ตาบลวังน้าเขียว
  • 14. 14 สถาบันฟื้นฟูภูมิปัญญาไท ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล นายคาเดื่อง ภาษี ที่อยู่ 40 หมู่ 8 บ้านโนนเขวา ตาบลหัวฝาย กิ่งอาเภอแคนดง จังหวัดบุรีรัมย์31150 โทรศัพท์ 08-1876-5906, 08-9949-6554, 08-6005-3748, 08-5777-7533 วัน/เดือน/ปีเกิด 15 พฤศจิกายน 2495 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ เกษตรธรรมชาติ การสร้างทรัพยากรธรรมชาติที่เกื้อหนุนกันเพื่อให้เกิดกลไกการ ดารงอยู่ ตามธรรมชาติ การทาเกษตรประณีตที่เป็นรูปแบบการจัดการพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การจัดการ เกษตรในพื้นที่ลุ่ม การวางแผนการผลิต และการปลูกไม้ยืนต้น รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางความคิด สู่การปฏิบัติเพื่อการพึ่งพาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ประสบการณ์ ภายหลังจากได้กู้เงินมาทาการเกษตรจนเป็นหนี้สินและหันหาอบายมุข นายคาเดื่องได้เรียนรู้ที่ จะแก้ปัญหาชีวิตด้วยการย้อนไปมองอดีต กลับไปมองดูเหตุแห่งความผิดพลาดตั้งแต่เริ่มต้น โดยเริ่ม ลดปริมาณการใช้ปุ๋ ย และพบว่าปริมาณผลผลิตคงเดิมและค่าใช้จ่ายลดลง จากนั้นได้เริ่ม ปฏิบัติธรรม กินอาหารมังสวิรัติ และดาเนินชีวิตอย่างสมถะ สุดท้ายก็สามารถปลดหนี้ได้ จึงหันกลับมาสู่การทานา แบบเดิม อันมีเคล็ดลับอยู่ที่ “ฟางเส้นเดียว” โดยได้ทดลองทานาตามธรรมชาติ ด้วยการไม่ไถแต่ใช้การ หว่านข้าวแล้วเอาฟางคลุม ในช่วงของการทดลองทานาเช่นนี้ได้อ่านพบบทความในวารสารอโศก เล่าถึงการทานาตามธรรมชาติของมาซาโนบุ ฟูกูโอกะ เกษตรกรชาวญี่ปุ่น จึงได้ทดลองทานาตาม แนวทางดังกล่าวเป็นเวลา 3 ปี ก็ประสบความสาเร็จจากวิถีทางเกษตรกรรมธรรมชาติ วิถีทางที่คนและ สัตว์อยู่ร่วมกัน โดยไม่จาเป็นต้องใช้ยาปราบศัตรูพืช เพราะแมลงศัตรูพืชแต่ละชนิด ธรรมชาติได้จัดสรร ให้ทาลายกันเองอยู่แล้ว ซากพืชและฟางคือสิ่งวิเศษที่ธรรมชาติให้มา รักษาดินที่ทรุดโทรมให้คืนดี ดังเดิมโดยไม่ต้องใช้สารเคมี การทานาของนายคาเดื่องไม่ไถ ไม่ใส่ปุ๋ ย ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ไม่กาจัดวัชพืช ก็กลับให้ผลผลิตดีกว่าเดิม เมื่อประสบความสาเร็จตามแนวทางดังกล่าว นายคาเดื่องได้ถ่ายทอดความรู้ และประสปการณ์ให้กับผู้สนใจอย่างต่อเนื่อง
  • 15. 15 รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - พ.ศ. 2547 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดิเรกคุณาภรณ์ (อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งชั้นเหรียญเงิน) - พ.ศ. 2544 ครูภูมิปัญญา รุ่นที่1 ด้านเกษตรกรรม (เกษตรธรรมชาติ) สานักนายกรัฐมนตรี - พ.ศ. 2544 รางวัลดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ศิลป์ ศาสตร์ สาขาพัฒนาชุมชน จากมหาวิทยาลัย ราชภัฎบุรีรัมย์ - พ.ศ. 2535 รางวัลคนดีศรีสังคม จากมูลนิธิหมู่บ้าน - พ.ศ. 2534 รางวัลผู้นาอาชีพก้าวหน้าดีเด่น ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 40 หมู่ 8 บ้านโนนเขวา ตาบลหัวฝาย กิ่ง อาเภอแคนดง จังหวัดบุรีรัมย์31150 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ ปี 2539 ได้ ตั้งศูนย์การถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้สนใจเกษตรธรรมชาติขึ้น จากนั้น กองทุน สิ่งแวดล้อมเห็นความสาคัญของการทาเกษตรธรรมชาติ จึงส่งเสริมและสนับสนุนให้สร้างโรงเรียน ชุมชน โดยใช้บ้านและแปลงนาของ นายคาเดื่องเป็นโรงเรียนชุมชนอีสานสาหรับการถ่ายทอดแนวคิด และความรู้ในเรื่องการทาเกษตรธรรมชาติให้แก่กลุ่มเกษตรกร ในปี 2541 ศูนย์ร่วมกับมูลนิธิพัฒนา ชุมชนอย่างยั่งยืนเพื่อคุณภาพชีวิตดีจังหวัดขอนแก่น เพื่อรวมเครือข่ายการเรียนรู้ในลักษณะเดียวกับ โรงเรียนชุมชนอีสานมาเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ ภายใต้ชื่อ “เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านและพหุภาคีภาค อีสาน” และในปี 2543 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานกองทุนเพื่อสังคมให้จัดสร้างศูนย์ เรียนรู้ขึ้นและเป็นจุดเรียนรู้สืบต่อมาจนปัจจุบัน ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตาม แนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2550 หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม หลักสูตรวิทยากรกระบวนการผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเอง (วปอ. เพื่อประชาชน) โดยการอบรมเกษตรกร ให้เข้าใจถึงแนวทางการทาการเกษตร โดยเน้นการเกษตรธรรมชาติ เพื่อให้เกิด การพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน ด้วยการนาแนวคิดเกษตร ธรรมชาติไปปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่ รวมทั้งการนา หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต เน้นในเรื่องของความ ประหยัด ละเว้นอบายมุข และการมีชีวิตที่เรียบง่าย และการนาเกษตรกรที่เข้าอบรมไปศึกษาดูงานแปลง เกษตรต้นแบบต่างๆ เพื่อให้เห็นแนวคิดที่แตกต่างกันไปของเกษตรกรต้นแบบ
  • 16. 16 ความพร้อมของศูนย์ฯ ศูนย์มีศักยภาพในการจัดการฝึกอบรม โดยมีศาลาจัดอบรมเป็นศาลาปูน 1 หลัง สร้างอยู่กลาง สระน้าที่สามารถรองรับผู้อบรมได้80-100 คน รวมทั้งมีสื่อ วิดีทัศน์ และเครื่องขยายเสียง โรงเรือน ที่พักชาย-หญิงแยกเป็นสัดส่วน ห้องน้าแยกชาย-หญิง จานวน 12-14 ห้อง มีฐานการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมีการศึกษาดูงานภายนอกศูนย์ แผนที่ สถาบันฟื้นฟูภูมิปัญญาไท
  • 17. 17 ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนกลุ่มอีโต้น้อย ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล นายผาย สร้อยสระกลาง ที่อยู่ 158 หมู่ 4 ตาบลโคกล่าม อาเภอลาปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์31130 โทรศัพท์ 08-9582-7325, 08-0149-5708 วัน/เดือน/ปีเกิด 3 สิงหาคม 2473 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ การทาเกษตรผสมผสาน การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม การเลี้ยงปลา การทามาหากินบนพื้นฐาน การพึ่งพาตนเองและพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันในชุมชน โดยการค้นหาวิธีการแก้จนร่วมกันพัฒนาต่อ ยอดด้านการเกษตรด้วยการสร้างแหล่งน้าในพื้นที่ทากิน ประสบการณ์ หลังจากจบการศึกษาชั้นประถมปีที่ 4 ได้บวชเป็นสามเณรเพื่อศึกษาพระธรรม ต่อมา ปี พ.ศ. 2508 สมัครเป็นผู้ใหญ่บ้านบ้านสระคูณ โดยรวมกลุ่มชาวบ้านในการเรียนรู้และจัดการชุมชน ให้มีกิน รวมถึงการการ ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม เพื่อเสริมรายได้ ในปี 2525 สภาพอากาศแล้ง มาก จึงตัดสินใจกู้ ธ.ก.ส. เพื่อปลูกข้าวโพด แต่ไม่ประสบผลสาเร็จ จึงทบทวนว่ามาผิดทาง เกิดความตั้งใจ ที่จะออมน้าบนผืนแผ่นดินทากินของตนเพื่อให้มีข้าว นก ปลา ต้นไม้ที่หลากหลาย มาอาศัย เมื่อได้รับ ข่าวสารจาก วิทยุว่าจังหวัดขอนแก่นมีการสอนเรื่องการเพาะพันธุ์ปลา และการผสมอาหารทาเอง จึงไปเรียนรู้และลงมือทาจนประสบความสาเร็จ และขยายความรู้ให้กับเกษตรกรข้างเคียงและเครือข่าย รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - พ.ศ. 2553 ปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน สาขาเศรษฐกิจพอเพียง จากกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ - พ.ศ. 2550 เกียรติคุณครอบครัวร่มเย็น จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ - พ.ศ. 2546 ครูภูมิปัญญา รุ่นที่3 ด้านเกษตรกรรม (เกษตรธรรมชาติ ) จากสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี - พ.ศ. 2533 ปริญญาพัฒนบริหารบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐประศาสนศาสตร์ จากสถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - พ.ศ. 2532 รางวัลคนดีศรีสังคม จากมูลนิธิหมู่บ้าน
  • 18. 18 - พ.ศ. 2532 รางวัลผู้ใหญ่บ้านยอดเยี่ยม จากกระทรวงมหาดไทย - พ.ศ. 2526 รางวัลผู้ใหญ่บ้านยอดเยี่ยม จากกระทรวงมหาดไทย ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 158 หมู่ 4 บ้านสระคูณ ตาบลโคกล่าม อาเภอลาปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์31130 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ กลุ่มอีโต้น้อย ตั้งขึ้นปี 2531 เป็นการรวมกลุ่มของคนทาการเกษตรแบบผสมผสานบ้านสระคูณ โดยมีนายผาย สร้อยสระกลาง เป็นผู้นาเพื่อเป็นการร่วมมือกันทางานระดมทุนแก้ปัญหาของหมู่บ้าน ในปี 2534 ได้ร่วมกับมูลนิธิหมู่บ้านเพื่อพัฒนาภาคอีสานภายใต้กรอบการดาเนินงาน “การพัฒนาที่ผ่าน มาไม่สามารถตอบสนองการแก้ปัญหาของอีสานได้อย่างมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม มีแต่ลากไปตาม กระแส รังแต่จะทาให้จมน้าตาย และสาเหตุหนึ่งคือองค์กรชาวบ้านไม่มีการรวมตัวกัน ” ต่อมาปี 2539 ได้เข้าร่วมงานกับ ศาสตราจารย์เสน่ห์ จามริก ในโครงการโรงเรียนชุมชนอีสานภายใต้การนาของกลุ่ม ผู้นาชุมชนในจังหวัดบุรีรัมย์เพื่อทาหน้าที่ประสานงานเครือข่าย การเรียนรู้ของชุมชนในท้องถิ่นอีสาน และเมื่อ ปี 2541 ร่วมกับมูลนิธิพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนเพื่อคุณภาพชีวิตดีจังหวัดขอนแก่น เพื่อรวม เครือข่ายการเรียนรู้ในลักษณะเดียวกับโรงเรียนชุมชนอีสานมาเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ภายใต้ชื่อ “เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านและพหุภาคีภาคอีสาน ” และปี 2545 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก สานักงานกองทุนเพื่อสังคม ให้จัดสร้างศูนย์เรียนรู้ภายใต้ชื่อ “ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนกลุ่มอีโต้น้อย ” ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2550 หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม หลักสูตร “วิทยากรกระบวนการผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง (วปอ.ภาคประชาชน)” ถ่ายทอดให้ผู้เข้าอบรมได้เข้าใจถึงปัญหาหนี้สินที่เกิดขึ้น และแนวทางของการ แก้ปัญหา รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เรื่องการเกษตร โดยให้มีการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของ สมาชิกในกระบวนการพัฒนาชนบท เป็นศูนย์เรียนรู้ที่เน้นการพึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง และการนา เกษตรกรที่เข้าอบรมศึกษาดูงานแปลงเกษตรต้นแบบต่างๆ เพื่อให้เห็นแนวคิดที่แตกต่างกันไปของ เกษตรกรต้นแบบแต่ละคน
  • 19. 19 ความพร้อมของศูนย์ฯ ศูนย์ฯมีอาคารฝึกอบรม 1 หลัง ที่สามารถรองรับผู้อบรมได้80-100 คน รวมทั้งมีสื่อวีดิทัศน์ ที่เหมาะสม มีรงเรือนที่พักผู้ชายจะใช้อาคารอบรมและผู้หญิงจะพักที่โรงเรือน มีห้องน้าแยกชาย-หญิง จานวน 10-12 ห้อง มีฐานการเรียนรู้ที่เหมาะสมภายในศูนย์และมีการศึกษาดูงานในพื้นที่ต้นแบบที่ ประสบความสาเร็จในการทาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ แผนที่ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนกลุ่มอีโต้น้อย
  • 20. 20 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์ ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล นายไพรัตน์ ชื่นศรี ที่อยู่ 99 หมู่ 7 ตาบลสนามชัย อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์31150 โทรศัพท์ 08-1966-4317, 08-4471-4344 วัน/เดือน/ปีเกิด 23 พฤศจิกายน 2503 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ เกษตรธรรมชาติ เกษตรผสมผสาน การทาเกษตรอินทรีย์ การทาไร่นาป่าผสม การเลี้ยง ไส้เดือน การเลี้ยงมดแดง และการปรับแนวความคิดเพื่อพึ่งพาตนเองและพึ่งพากันเองในชุมชน ประสบการณ์ จากการที่ได้ศึกษาดูงานและเรียนรู้ร่วมกับ เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านและพหุภาคีอีสาน จึงได้นา แนวคิดมาปรับใช้ในแปลงเกษตรของตนเอง และถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกรที่สนใจเข้ามาเรียนรู้ ปัจจุบันเป็นผู้อานวยการศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์ เครือข่ายนวัตกรรมชาวบ้าน โดยได้รับการ สนับสนุนจากสถาบันไทรูรัลเนต มูลนิธิบูรณชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้เป็น แหล่งศึกษาดูงานของปราชญ์ชาวบ้าน ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - ปี 2553 รางวัลชมเชย การประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งที่ 2 ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 99 หมู่ 7 ตาบลสนามชัย อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์31150 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ ศูนฯย์การเรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์ ตั้งขึ้นเมื่อปี 2543 โดยได้รับการสนับสนุนจากสถาบัน ไทรูรัลเนต มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถานที่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชาวบ้าน ครู นักเรียน และบุคคลอื่นๆ ที่สนใจในการทาการเกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดาริของ พระเจ้าอยู่หัว เดิมใช้ชื่อว่า “ฐานการ เรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์ ” และเปลี่ยนเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์ในปี 2548 โดยน้อมนา
  • 21. 21 พระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง การทาเกษตรทฤษฎีใหม่ขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นหัวใจ ในการดาเนินกิจกรรมของศูนย์ ฯ การใช้แปลงเรียนรู้เป็นสถานที่วิจัยการทาเกษตรผสมผสาน เป็นเวทีเสวนาของสมาชิกให้ความรู้เกษตรกร เรื่องการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพโดยการ ผสมผสานภูมิปัญญาดั้งเดิมที่มีอยู่กับการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นตัวอย่างในการดาเนินกิจกรรม การเกษตร ปลูกป่าตามหัวไร่ปลายนา เป็นป่าชุมชนในรูปแบบที่สามารถให้ความรู้แก่เกษตรกรได้อย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2551 หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม วิทยากรกระบวนการเพื่อการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองภาคประชาชน (วปอ. ภาค ประชาชน) ประกอบด้วย การทาเกษตรอินทรีย์ การทาเกษตรปราณีต 1 งาน การเลี้ยงไส้เดือน การเลี้ยง ปลาแบบผสมผสานการก่อสร้างบ้านดินการสร้างเตาถ่านขนาดครอบครัวจากถังน้ามัน 200 ลิตร (เตาอีวาเตะ) ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับภูมิปัญญาชาวบ้าน เรื่องพลังงานทดแทน สู่การพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน การปลูก สร้างสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง จักรยานน้าเพื่อการเกษตร เครื่องสีข้าวกล้องแบบภูมิปัญญาชาวบ้าน ปุ๋ ยชีวภาพและจุลินทรีย์ท้องถิ่น เลี้ยงหมูพันธุ์พื้นเมืองประยุกต์แบบหมูหลุม และการดูแปลงเกษตร ธรรมชาติบนพื้นฐานแนวคิดเกษตรอินทรีย์จากเกษตรกรต้นแบบ ความพร้อมของศูนย์ฯ ศูนย์มีอาคารฝึกอบรมที่สามารถรองรับผู้เข้ารับการอบรมได้รุ่นละ 100 คน อาคารที่พักรองรับ ผู้เข้ารับการอบรมได้รุ่นละ 100 คน มีอาคารเอนกประสงค์ ห้องน้า โรงครัว แปลงสาธิตการเรียนรู้ ฐานงานอาชีพเสริม และวัสดุอุปกรณ์ที่พร้อมให้การฝึกอบรมเกษตรกร
  • 23. 23 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านหนองกราด ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล นายนวล อินทสุข ที่อยู่ 18 บ้านหนองกราด หมู่ที่ 6 ตาบลหนองตะครอง อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ 31170 โทรศัพท์ 08-6245-9095 วัน/เดือน/ปีเกิด 13 พฤศจิกายน 2493 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ โรงปุ๋ ยอินทรีย์อัดเม็ดคุณภาพสูง ร้านค้าชุมชน เตาถ่านไม้เศรษฐกิจ บ่อปลาน้าตื้น การปลูกผักปลอดสารพิษ การผลิตปุ๋ ยอินทรีย์น้า หมูหลุม และการผลิตของใช้ในครัวเรือน ประสบการณ์ เมื่อปี 2513 นายนวล อินทสุข ได้ทางานที่ภาคใต้และได้เรียนรู้เกี่ยวกับการปลูก เพาะพันธุ์ และ ขยายต้นกล้ายางพารา การดูแลรักษาเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดี และการซ่อมแซมเครื่องมือทางการเกษตร จากการที่มีนายจ้างที่เป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง ไม่ฟุ้งเฟ้อ มีความรอบคอบ และ รอบรู้ ส่งผลให้นายนวลมีแรงบันดาลใจในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง โดยใฝ่หาความรู้ทั้งด้านการ ทางานและการดาเนินชีวิต และกลับมาจับจองที่ทากินภายใต้โครงการอีสานเขียวเมื่อปี 2530 รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - ปี 2553 รางวัลเกียรติบัตรการประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงครั้งที่ 2 ประเภท ประชาชนในพื้นที่ห่างไกลและกันดาร - ปี 2550 รางวัล “คนดีศรีแผ่นดินประจาปี 2550” เนื่องในโอกาสปีมหามงคลเฉลิมพระ ชนมพรรษา 80 พรรษา - ปี 2549 ชนะเลิศอันดับ 1 ชมรมผู้สูงอายุดีเด่นระดับจังหวัด ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น - ปี 2549 การยกย่องเชิดชูเกียรติ “ผู้ทาประโยชน์เพื่อชุมชน” - ปี 2549 ประกาศเกียรติคุณ “ผู้ทาประโยชน์เพื่อแผ่นดินประจาปี 2549” เนื่องในโอกาส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี - ปี 2548 การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กลุ่มปลูกผัก ปลอดสารพิษ
  • 24. 24 ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 203 บ้านหนองกราดหมู่ที่ 6 ตาบลหนองตะครองอาเภอละหานทรายจังหวัดบุรีรัมย์ 31170 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ครอบครัวของนายนวลได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจ อย่างมาก เนื่องมาจากการลงทุนที่มากเกินไปและทาในสิ่งที่เกินกาลังที่จะควบคุมได้ ทาให้นายนวลต้องกลับมา มองดูตนเอง และได้ปรับปรุงตนเองและครอบครัวให้มีชีวิตความเป็นอยู่อย่างพอเพียง ต่อมาในปี 2541 ได้สมัครเข้าไปเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านหนองกราด จังหวัดบุรีรัมย์ มีการเก็บออม เงิน และให้คาแนะนากับสมาชิกให้ ตระหนักถึงความสาคัญของการออม เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน รวมถึง ปลูกพืชผัก โดยมุ่งเน้นเพื่อการบริโภคก่อนที่เหลือจากการบริโภคจึงนาไปขาย ทั้งนี้ ศูนย์ฯได้เข้าร่วม โครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2552 หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพึ่งตนเอง ประกอบด้วย กิจกรรมรวมใจเป็นหนึ่ง กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ กิจกรรมการจัดการทุน ของชุมชน การจัดทาแผนชุมชน กิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่กับวิถีชีวิตที่พอเพียง การเลี้ยงปลาดุกในบ่อ ดิน การทาข้าวอินทรีย์การทาน้ายาล้างจาน ล้างห้องน้า กิจกรรมการทาอาหารปลาและอาหารหมูใช้เอง กิจกรรมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การทาปุ๋ ยอินทรีย์น้า ปุ๋ ยอินทรีย์อัดเม็ด การทาบัญชีครัวเรือน และบัญชีฟาร์มแบบชาวบ้าน ความพร้อมของศูนย์ฯ ศูนย์มีอาคารฝึกอบรมที่สามารถรองรับผู้เข้าฝึกอบรมได้ 40-50 คน โดยจัดที่พักให้ผู้หญิงพักที่ บ้านของปราชญ์ฯ ส่วนผู้ชายจะพักโรงเรือนและห้องที่กั้นแยกภายในอาคารฝึกอบรม มีห้องสุขา 5 ห้อง และห้องอาบน้า มี แปลงสาธิตและฐานการ เรียนรู้ ที่เหมาะสม และมีความพร้อมด้าน วัสดุอุปกรณ์ เพียงพอสาหรับการฝึกอบรมเกษตรกร
  • 26. 26 กลุ่มฟื้นฟูการเกษตรตาบลยาง ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล นายเชียง ไทยดี ที่อยู่ 59 หมู่ 2 บ้านอนันต์ ตาบลยาง อาเภอศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 32110 โทรศัพท์ 08-4833-3710, 0-4456-0266 วัน/เดือน/ปีเกิด 2 มีนาคม 2469 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ เกษตรกรรมพึ่งตนเอง การออมน้า ออมความอุดมสมบูรณ์ของดิน การออมต้นไม้ยืนต้น และ การออมสัตว์ การปลูกไม้ 4 ระดับ การใช้พื้นที่อย่างมีศักยภาพ และการวิจัยของชาวบ้าน โดยเน้น ให้แนวคิดในเรื่องการพึ่งตนเองและพึ่งพากันในชุมชน ประสบการณ์ เดิมมีอาชีพทานาและปลูกพืชเชิงเดี่ยว และพบว่าการทาการเกษตรเชิงเดี่ยวไม่สามารถแก้ปัญหา ได้ไม่มีหลักประกัน และไม่มีบานาญชีวิต จึงเลือกที่จะปลูกพืชหลายชนิด โดยเฉพาะพืชยืนต้น ร่วมกับ การเลี้ยงปลา และเลี้ยงสัตว์ ทาให้มีอยู่มีกินครบทุกอย่าง มีต้นไม้ใหญ่เป็นหลักประกันและบานาญชีวิต ได้เริ่มต้นโดยการขุดบ่อ เพื่อออมน้า และตั้งใจจะกักเก็บน้า ไว้ทาการปลูกพืช และเลี้ยงปลา เมื่อมีน้าจึง ปลูกต้นมะพร้าว และต้นไม้หลากหลายชนิดพร้อมทดลอง เลี้ยงปลา เลี้ยงกุ้งก้ามกราม นอกจากนั้น นายเชียงยังได้ทดลองนาเอาต้นมะนาวไปต่อยอดต้นกระสังซึ่งเป็นไม้พื้นบ้านที่ทนโรคทนแล้งได้ดี ความใฝ่รู้ ร่วมกับอิทธิบาท 4 ประการ ทาให้ที่ดินเต็มไปด้วยต้นไม้ ซึ่งมีถึง 4 ระดับทั้งระดับสูงที่สุด คือ ระดับที่ 4 เช่น ต้นหมาก ต้นมะพร้าว ระดับรองลงมาคือ ระดับ 3 เช่น มะม่วง ส้มโอ ชมพู่ กระท้อน ขนุน กระถิน สะเดา ผักกระโดน ผักติ้ว ต้นแต้ ต้นประดู่ ระดับที่ 2 เช่น ละมุด มะนาว ฝรั่ง ทับทิม น้อยหน่า มะละกอ กล้วย ผักเม็ก และระดับต่าสุด ขิง ข่า ตะไคร้ พริก ผักอีตู ต้นกระเจียว เป็นต้น ศูนย์มีความหลากหลายของพันธุ์ไม้และยังมีปลาในบ่อเป็ดไก่กบและหมูซึ่งอยู่กันอย่างสมดุล รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - เกียรติบัตรเป็นเครือข่ายศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน “เพื่อนเรียนรู้สู่เศรษฐกิจพอเพียง” - ปี 2545 ครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 2 สาขาเกษตรกรรมอินทรีย์ - ปี 2544 เกียรติบัตรยกย่องเป็นเกษตรตัวอย่าง(ไร่นาสวนผสม) ของอาเภอศีขรภูมิ - ปี 2539 ปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากสถาบันราชภัฏสุรินทร์ - ปี 2534 รางวัล “ผู้นาอาชีพก้าวหน้าระดับจังหวัด” จังหวัดสุรินทร์
  • 27. 27 ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 59 หมู่ 2 บ้านอนันต์ ตาบลยาง อาเภอศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 32110 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ นายเชียงได้ขยายแนวคิดการพึ่งตนเองและพึ่งพากันเองพร้อมแสดงรูปธรรมจากสวนของ ตนเอง และในปี 2533 พ่อเชียงได้ชักชวนชาวบ้านในละแวกใกล้เคียงมารวมกลุ่ม เพื่อคิดและวิเคราะห์ แนวทางนี้ แต่ถูกต่อว่าหาว่ าอยากดังจึงเลิกไป ต่อมาในปี 2539 ได้ตั้งกลุ่มฟื้นฟูการเกษตรร่วมกับ ความคิดและความเชื่อมั่นในการพึ่งตนเอง ทาให้สมาชิกมีการระดมสมองกันอย่างสม่าเสมอ มีการรวม เงินทุนในกลุ่มสมาชิกเพื่อเป็นเงินทุนค่ารถค่าน้ามันพาเกษตรกรไปศึกษาดูงานจนได้ความคิดแล ะ รูปธรรมการพึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง นอกจากนั้น นายเชียงยังได้เพาะพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ทั้งแจกและ จาหน่ายแก่สมาชิกในราคาถูก ระดมทุนในการขุดบ่อน้า แก้ปัญหาขาดแคลนน้า เพื่อการเกษตรแก่ สมาชิก ทาให้สมาชิกเกิดการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองได้ ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการ เกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2550 หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม หลักสูตรวิทยากรกระบวนการผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองและพึ่งพา (วปอ.ภาค ประชาชน) การทาปุ๋ ยอินทรีย์ น้าหมัก การขยายพันธุ์พืช การทาเกษตรประณีต และการนาเกษตรกรที่ เข้าอบรมศึกษาดูงานแปลงเกษตรต้นแบบต่างๆ เพื่อให้เห็นแนวคิดที่แตกต่างกันของเกษตรกรต้นแบบ ความพร้อมของศูนย์ฯ ศูนย์มีอาคารฝึกอบรมที่สามารถรองรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ 60-80 คน มีที่พักแบบ โฮมสเตย์บริเวณใกล้เคียง มีห้องน้าแยกชาย-หญิง จานวน 8 ห้อง มีฐานการเรียนรู้ที่เหมาะสมตาม หลักสูตรการฝึกอบรม และมีอุปกรณ์การเรียนการสอนที่พร้อมสาหรับการฝึกอบรม
  • 28. 28 แผนที่ กลุ่มฟื้นฟูการเกษตรตาบลยาง เข้าเมืองสุรินทร์ถ.สุรินทร์-ร้อยเอ็ด ถ.เลียงเมืองไป อ.ศรีขรภูมิ เข้าเมืองสุรินทร์ ปั้ม ปตท. ถนนสุรินทร์-ศรีขรภูมิ รพ.ศรีขรภูมิ วิทยาลัยการ อาชีพศรีขรภูมิ โรงเรียนบ้าน อนันต์ ศูนย์เรียนรู้ปราชญ์ ชาวบ้าน (นายเชียง ไทยดี)
  • 29. 29 ชุมชนบุญนิยมสุรินทร์อโศก ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล จ.ส.อ. วิชาพร พินธุรักษ์ เป็นผู้ประสานงานลักษณะการทางาน ที่อยู่ 22 หมู่ 8 บ้านตะโก ตาบลตะแสง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 โทรศัพท์ 08-1333-8001, 0-4472-5432 , 08-9508-8287 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ ด้านกสิกรรมไร้สารพิษ และด้านพุทธศาสนากับการดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง หลักการของการเป็นชุมชนเข้มแข็งและชุมชนพึ่งตนเอง โดยมีส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมชุมชนที่ ผู้เข้าอบรมต้องถือปฏิบัติ คือ การถือศีล 5 การลด ละ เลิกอบายมุขทุกชนิด การไม่บริโภคเนื้อสัตว์ ทุกชนิด รับประทานอาหารวันละ 2 มื้อ และการไม่ใส่รองเท้า ประสบการณ์ ชุมชนสุรินทร์อโศกดาเนินชีวิตอยู่ด้วยความเรียบง่าย ทากสิกรรมไร้สารพิษ และเครื่องอุปโภค บริโภคใช้เอง กินและใช้สิ่งที่เราปลูก และปลูกสิ่งที่เรากิน-ใช้ นั้น เมื่อเหลือก็นาออกแจกจ่าย ทาทาน เป็นสถานที่ให้ความรู้ที่มีแก่บุคคลภายนอกอย่างต่อเนื่อง รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 161 หมู่ 11 ตาบลสลักได อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ ชุมชนสุรินทร์อโศกตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2546 เกิดจากการรวมตัวของกลุ่มญาติธรรม ที่ถือศีล 5 เลิกอบายมุข กินมังสวิรัติ เป็นชุมชนที่พัฒนาด้วยความมั่นคงจนเป็นที่ศึกษาดูงานและอบรมให้ความรู้ กับผู้ที่สนใจอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2551
  • 30. 30 หลักสูตรที่จัดฝึกอบรม หลักสูตร “กสิกรรมไร้สารพิษเศรษฐกิจพอเพียง ” เน้นการปลูกฝังแนวคิดด้านการนาศีลธรรม มาใช้ในการดาเนินชีวิต ด้วยการยึดหลักศีล 5 เรียนรู้การทากสิกรรมไร้สารพิษและพัฒนาอาชีพพื้นฐาน ที่จาเป็นในการดารงชีพ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนและดาเนินชีวิตที่พึ่งตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง รวมทั้งการเสริมสร้างความรู้ในการดูแลสุขภาพ โดยยึดหลัก 7 อ. 5 ส. ความพร้อมของศูนย์ฯ ศูนย์มีอาคารส่วนกลางสาหรับการฝึกอบรม ได้จานวน 200 คน มีที่พักผู้เข้าฝึกอบรมแยกชาย- หญิง จานวน 150 คน มีห้องน้าแยกชาย-หญิง จานวน 20 ห้อง มีโรงครัวกลาง มีฐานงานวิชาชีพต่างๆ เช่น แปรรูปอาหาร สมุนไพร ปุ๋ ยอินทรีย์อัดเม็ด น้าหมักชีวภาพ การทาดินระเบิดชีวภาพ น้ายาล้างจาน การคัดพันธุ์ข้าว เป็นต้น มีแปลงสาธิตทางการเกษตร สาหรับฝึกปฏิบัติ และมีอุปกรณ์การเรียนการสอน ที่พร้อมสาหรับการฝึกอบรม แผนที่ ชุมชนบุญนิยมสุรินทร์อโศก อ.สังขะ ร้อยเอ็ด สุรินทร์ อ.ปราสาท โรงสีทวี ผล ร้านค้า คกร. สุรินทร์ สุรินทร์อโศก IQกม. 7
  • 31. 31 ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงสินสุวรรณ ข้อมูลทั่วไปของปราชญ์ชาวบ้าน ชื่อ-สกุล นายนิยม จิตระดิษฐ์ ที่อยู่ 4 หมู่ 2 บ้านทัพกระบือ ตาบลสาโรง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 โทรศัพท์ 08-1301-6730 วัน/เดือน/ปีเกิด 17 สิงหาคม 2487 ความชานาญพิเศษ/จุดเด่นของศูนย์ฯ เกษตรผสมผสาน การติดตา ทาบกิ่ง และขยายพันธุ์ไม้ผลตระกูลส้มบนต้นกระสัง ประสบการณ์ ปี 2518 - 2535 ได้มีโอกาสเข้าเรียนรู้วิถีเกษตรผสมผสานจากไต้หวัน เมื่อกลับมาได้ตั้งชมรม เกษตรผสมผสานจังหวัดสุรินทร์ มีผลงานที่โดดเด่น คือ การนากระสังมาเป็นต้นตอของส้มทุกชนิด ซึ่งเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของศูนย์เรียนรู้ แต่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ - คนค้าคนคูณจังหวัดสุรินทร์ ข้อมูลทั่วไปของศูนย์ฯ ที่ตั้ง 4 หมู่ 2 บ้านทัพกระบือ ตาบลสาโรง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 ประวัติการก่อตั้งและความเป็นมาของศูนย์ฯ เมื่อได้เข้ารับการอบรม วปอ.ภาคประชาชน ประกอบกับประสบการณ์เดิมจากวิถีเกษตร ที่เรียนรู้ด้วยตนเองมาอย่างต่อเนื่องจึงได้สร้างศูนย์อบรมชาวบ้านขึ้นเพื่อถ่ายทอด ความรู้และ เทคนิค วิธีการทางการเกษตร และต้องการช่วยเหลือชาวบ้านให้มีความรู้ ความเข้าใจในการประกอบอาชีพ ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งแต่ ปี 2551