SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
เมนูหลัก
เนื่องจากปัจจุบันขันโตกล้านนายังเป็นที่รู้จักในหมู่น้อย และคนรุ่น
ใหม่ไม่ค่อยให้ความสนใจไม่สนใจมรดกทางวัฒนธรรมที่ดีงาม และ
ความซาบซึ้งในเอกลักษณ์ความเป็นล้านนา หากปล่อยปะละเลยให้
เป็นเช่นนั้น ขันโตกจะเลือนหายไป จึงเห็นสมควรจัดทําโครงงาน
เพื่อเป็นการอนุรักษ์ขันโตกล้านนาไว้ ให้รุ่นลูกหลานได้สืบทอดและ
สืบสานต่อไป เพื่อให้เด็ก ตระหนักถึงคุณค่า และชื่นชมความงามใน
ความเป็นเอกลักษณ์ของล้านนาและเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่มีความ
สนใจเกี่ยวกับขันโตกล้านนา เป็นรู้จักใช้และรักษาทรัพยากรที่มี
อยู่ให้เกิดประโยชน์คุณค่าสูงสุด
ที่มาและ
ความสาคัญ
1. เพื่ออนุรักษ์ขันโตกล้านนา
2. เพื่อเผยแพร่วัฒธรรมล้านนาในเรื่องของขันโตก
3. เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจในขันโตกล้านนา
วัตถุประสงค์
ความหมายและประวัติความ
เป็นมาของขันโตก
ประเพณีการเลี้ยงขันโตก เป็นประเพณีของชาวเหนือที่นิยมปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่
โบราณ การเลี้ยงแขกโดยการกินข้าวขันโตก ซึ่งอาจมีหลายชื่อทีใช้เรียก ขานกัน เช่นกิ๋น
ข้าวแลงขันโตก หรือเรียกสั้นๆ ว่า ประเพณี ขันโตก หรือสะโตก
ขันโตกเป็นภาชนะที่ทําด้วยไม้ โดยนํามากลึงให้เป็นลักษณะกลมเหมือน
ถาด ขันโตกขนาดเล็กนั้น จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑๔ นิ้ ว และขนาดใหญ่
จะมีขนาด
อยู่ที่ประมาณ ๒๐ นิ้ ว หรือถ้าเป็น ขันโตกสําหรับ เจ้านายฝ่ายเหนือ หรือคหบดีก็จะ
ดัดแปลงให้หรูหราตามแต่ฐานะ บ้างก็ใช้เงินทําหรือ "ทองกาไหล่" หรือไม่ก็ลงรัก ปิด
ทอง
ในสมัยก่อน ชาวเหนือนิยมรับประทานอาหารกับพื้น เมื่อแม่บ้าน
ทํากับข้าว เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะยกออกมาตั้งโตก โดยในขันโตก
นั้นจะมีกับข้าวพร้อม และเมื่อรับประทานอาหารเรียบร้อยแล้วก็
ยก ไปเก็บทั้งโตก เป็นการประหยัดเวลา ในการจัดและเก็บ ถือ
เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของชาวเหนือที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา ซึ่ง
การเลี้ยงขันโตกก็ยังได้รับความนิยมและใช้เลี้ยงรับรองผู้มาเยือน
อยู่เสมอๆ
จุดมุ่งหมายของการกินข้าว แบบขันโตกที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ก็ได้มีการพัฒนา
มาจากสมัยก่อน โดยถือว่านอกจากจะ เพื่อเป็นการเลี้ยงรับรองแขกที่มาเยือน ให้หรูหรา
สมเกียรติ และเพื่อให้เกิดความอบอุ่นประทับใจใน การต้อนรับแล้วยัง ได้มีการประยุกต์
เอาวิธีการเลี้ยงดูแขกให้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น ด้วยการเพิ่ม สีสันของการจัดงาน ให้
ยิ่งใหญ่ดูวิจิตรพิสดาร เพียบพร้อมไปด้วย บรรยากาศของ เมืองเหนือจริงๆ โดย ประดับ
ประดาเวทีด้วย ดอกไม้ต้นไม้ให้ดูผสมผสานและดู กลมกลืนกันไป การตระเตรียม
ขั้นตอน
การดําเนินงานเลี้ยงขันโตก เพื่อให้พิธีการ หรูหรา ประณีต และงดงาม เหล่านี้ เป็นการ
สร้าง
บรรยากาศเลี้ยงรับรองแขกเหรื่อ เพื่อให้ประทับใจ และถือเป็นการให้ ความยกย่องแขก
ทั้งสิ้น
การกินข้าวขันโตกของชาวเหนือนั้น นอกจากจะมีจุดมุ่งหมายเพื่อ แสดงนํ้าใจ
ในการต้อนรับแขก และเป็นการให้เกียรติแก่ผู้มาเยือนแล้วในปัจจุบัน ก็ยังได้มี
จุดมุ่งหมายที่แฝงอยู่หลายประการ เช่น บาง ท้องถิ่นก็ได้จัดงานเลี้ยง ขันโตก เพื่อเป็น
การอนุรักษ์ และฟื้ นฟูวัฒนธรรมประเพณี ในท้องถิ่นของตนเอง เพื่อฟื้ นฟูการแต่งกาย
แบบพื้นเมือง เพื่อการทําอาหารพื้นเมืองเพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยว ให้ชาวบ้านมี
รายได้มีงานทําด้วย บางแห่งก็มีการจัดงาน เลี้ยงขันโตก เพื่อหารายได้สําหรับ
สร้างสรรค์สิ่งที่เป็นประโยชน์ให้แก่ท้องถิ่น
งานจะเริ่มจากการร่วมแรงร่วมใจกันตระเตรียมสิ่งของ เครื่องใช้ต่างๆ ตลอดไป
จนสถานที่ โดยจะประดับเวที ฉาก และการแสดงบนเวที สําหรับสถานที่นิยม จัดใน
ที่กลางแจ้ง เช่น สนามหญ้าต่างๆ แล้วนําเสื่อมาปู ส่วนมากเป็นเสื่อยาวๆ จะนั่งกัน
ประมาณ ๕ ถึง ๖ คน มีขันโตกตั้งอยู่ตรงกลาง ในขันโตกส่วนมากก็จะมี อาหาร
ประมาณ ๕ อย่าง ตัวอย่างเช่น แกงอ่อม แคบหมู แกงฮังเล นํ้าพริกอ่อง ชิ้นปิ้ ง ผัก
สด และที่ขาดไม่ได้ คือ ข้าวเหนียว หรือที่ชาวเหนือเรียกกันว่า ข้าวนึ่ง
ข้าวนึ่งของชาวเหนือ นั้นจะต้องอาศัยทักษะและ ความรู้ในการทําพอสมควร
คือเริ่มจากนําข้าวไปแช่นํ้า เรียกว่า การหม่าข้าวไว้ ๑ คืน ในหม้อข้าวหม่า (หม้อที่ ใช้
สําหรับแช่ข้าวเหนียว) ซึ่งก่อนที่จะทําการนึ่งต้องซาวข้าวด้วยการใช้ ซ้าหวด (คือ ภาชนะ
ที่สานด้วยไม้ไผ่สําหรับ ใส่ข้าวเหนียวเอาไปล้างนํ้าให้สะอาดก่อน ที่จะนําไปนึ่ง) การนึ่ง
จะต้องใช้ไหข้าวมีฝาปิดมิดชิดให้ข้าวสุกดีขึ้น แล้วยกลงมา นําไปวางในภาชนะที่เรียกว่า
กั๊วะข้าว หรือถาด ต้องคอยคนให้ไอนํ้าในข้าวระเหย ออกไปบ้าง และคอยระวังไม่ให้ข้าว
แฉะ ข้าวแข็ง หรือสุกไม่ทั่วกัน เมื่อข้าวสุก ได้ที่แล้ว ก็นําข้าวไปใส่ กระติ๊บบ้าง หรือที่ทาง
เหนือเรียกว่า แอ๊บ หรือก่องข้าว ซึ่งนิยมสานด้วย
**การนั่งรับประทานอาหารในงานขันโตก จะนั่งกับพื้นบนสาด
เติ้ม (เสื่อไผ่สาน) หรือจะนั่ง รับประทานขันโตกบนพื้นไม้ที่ยก
พื้นขึ้นมาในระดับเวทีก็ได้
สําหรับบรรยากาศที่น่าประทับใจของงาน คือ จะให้แสงสว่างบนเวทีจาก
ไฟ ตะเกียง หรือแสงเทียน บนโตกมีการจุดเทียน ๒ - ๓ เล่ม ให้พอมองเห็นหน้ากัน
บนเวทีมีการตกแต่งประดับประดาให้เข้าบรรยากาศเมืองเหนือ และมีวงดนตรีอยู่ที่ มุม
หนึ่งของเวทีในขณะที่แขกเหรื่อกําลังรับประทานอาหารก็มีการบรรเลงดนตรี ขับกล่อม
ตลอดเวลาสลับกับการแสดงบนเวที และส่วนมากนิยมนําเอาศิลปะการ ฟ้ อนรําแบบ
ชาวเหนือมาแสดงบนเวทีสลับกับการแสดงดนตรีพื้นเมือง เช่น ชุดการแสดงฟ้ อนสาว
ไหม ฟ้ อนตาว (ฟ้ อนดาบ) ฟ้ อนเทียน
การจัดงานประเพณีกินข้าวแลง ที่ทํากันอยู่ในปัจจุบันนี้ ได้มีการนําเอาศิลปะ
วัฒนธรรมของ ชาวเหนือเข้ามาผสมผสานเพื่อให้มีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น เช่น จัดให้ มีการ
ประกวดโคมลอย การประกวดจิบอกไฟ (จุดบอกไฟ) หรือจุดพลุในเวลา กลางคืนให้ดู
สวยงาม เพิ่มสีสันให้แก่งานอย่างมาก
งานประเพณีต้อนรับแขกชาวเหนือ เป็นงานประเพณีที่ถือได้ว่าเป็น
เอกลักษณ์ ของชาวไทยภาคเหนือ เป็นการอนุรักษ์วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ตั้งแต่ดั้งเดิมที่
สืบมา จนถึงทุกวันนี้ ทั้งยังเป็นการสร้างบรรยากาศ ในการต้อนรับให้อบอุ่น และสร้าง
ความประทับใจแก่ผู้มาเยือนยากที่จะลืมเลือน
การใช้งาน
1.ใช้เป็นภาชนะที่วางถ้วยอาหารกับข้าว เมื่อใส่กับข้าวแล้วยกมาตั้งสมาชิกในครอบครัวหรือ
แขกที่มาบ้านจะนั่งล้อมวงกันกินข้าว
2.ใส่ดอกไม้ธูปเทียนแทนขันดอก
3.ใส่เครื่องคํานับเป็นขันตั้ง
4.ใส่ผลหมากรากไม้
**ทั้งนี้ ภาชนะที่วางถ้วยกับข้าวนอกจากจะใช้ขันโตกแล้วยังใช้กระด้งหรือถาดแบน
แทนและเรียกว่า ขันเข้าขันโตกถ้ายังไม่ได้วางถ้วยอาหารเรียกว่า ขันโตก เมื่อวางถ้วยอาหาร
แล้วก็มักจะเรียกว่า ขันเข้า หรือสํารับอาหาร
ประเภทของขันโตก
ขันโตกแบ่งออกเป็น3ขนาด
ดังนี้
1.ขันโตกหลวง หรือ สะโตกหลวง ทําด้วยไม้ขนาดใหญ่
ตัดท่อนมากลึงหรือเคี่ยนเป็นขันโตกมีความกว้าง
ประมาณ 25 - 50 นิ้ ว ตามขนาดของไม้ที่หามาได้และ
นิยมใช้การในราชสํานักในคุ้มในวังของเจ้านายฝ่ายเหนือ
ทั่วไป รวมทั้งใช้ในวัดวาอารามทั่วไปด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้
เหมาะสมกับยศศักดิ์ และความยิ่งใหญ่ของชนชั้น
ผู้ปกครองในการที่จะใช้เลี้ยงแขกบ้านแขกเมืองด้วย
ส่วนวัดนั้นพระสงฆ์เป็นผู้ควรแก่การเคารพนพนอบ
มีประชาชนนําอาหารไปถวายมากดังนั้นประชาชนจึง
นิยมทําขันโตกหลวงไปถวายวัด
2.ขันโตกฮาม หรือ สะโตกทะราม เป็นขันโตก
ขนาดกลางประมาณ 17-24 นิ้ ว (คําว่า ฮาม
หรือ ทะรามนี้ หมายถึงขนาดกลาง) ใช้ไม้
ขนาดกลางมาตัดและเคี่ยนหรือกลึงเหมือน
ขันโตกหลวง ลงรักทาหางอย่างเดียวกัน ผู้ที่ใช้
ขันโตกขนาดนี้ มักได้แก่ครอบครัวขนาดใหญ่
เช่น คหบดี เศรษฐีผู้มีอันจะกิน หรือถ้าเป็นวัด
ผู้ที่ใช้ขันโตกขนาดนี้ คือ พระภิกษุในระดับรอง
สมภาร
3.ขันโตกหน้อย เป็นขันโตกขนาดเล็ก ขนาด
ประมาณ 10 - 15 นิ้ ว วิธีทํามีลักษณะ
เช่นเดียวกับขันโตกหลวงและขันโตกฮาม ใช้ใน
ครอบครัวเล็ก เช่น หญิงชายพึ่งแต่งงานใหม่
หรือ ผู้ที่รับประทานคนเดียว อาหารที่ใส่ก็มี
จํานวนน้อย
ประเพณีแห่
ขบวนขันโตก
แขกที่ได้รับเชิญจะเข้าสู่บริเวณพิธี เจ้าภาพจะนําพวงมาลัยที่จัดเตรียมไว้คล้องคอ
ให้แก่แขกทุกคน จากนั้นเชิญให้เข้ามานั่งในบริเวณที่เลี้ยงขันโตกในราชวัตรคอยชมขบวนแห่
ขันโตก การจัดขบวนแห่ขันโตก จะประกอบไปด้วยพานบายศรี (ถ้ามี) ช่างฟ้ อน กลุ่มดนตรี
กล่องตึ่งโหน่ง(บางทีก็ให้อยู่นอขบวน) ขันโตกเอก ขันโตโทหรือขันโตกรอง กล่องข้าวใหญ่ขันโตก
บริวาร กล่องข้าวเล็ก อาหารหวาน เมื่อดนตรีขึ้นช่างฟ้ อนก็จะฟ้ อนนวยนาดเป็นคู่ ๆนําขบวน
ขันโตก จากนั้นขันโตกเอก ขันโตโทหรือขันโตกรอง กล่องข้าวใหญ่ ก็ถูกหามเดินตามไปพร้อมกับ
ขันโตกเล็ก ๆ ตามไปเป็นแถวอย่างช้า ๆ รั้งท้ายด้วยกลองมองเซิงเข้าสู่บริเวณพิธีแขกผู้มา
ร่วมงานจะปรบมือให้เป็นระยะจนกว่าขันโตกเอกจะถึงแขกผู้เป็นประธานนั่ง
จึงหยุดการฟ้ อน จากนั้นก็จะนําขันโตกไปวางตามจุดที่ตั้งคนโท และกระโถนไว้ เจ้าภาพเชิญ
แขกรับประทานอาหาร ในระหว่างที่แขกกําลังรับประทานอาหาร จะมีการจุดดอกไม้เพลิง
และตะไล มีชุดการแสดงต่าง ๆ ให้แขกได้ดูชม เช่น ฟ้ อนน้อยใจยา-นางแว่นแก้ว ฟ้ อนดาบ
ฟ้ อนสาวไหม ฟ้ อนดาบ ฟ้ อนเจิง เป็นต้นสําหรับวิธีการนั่งในการเลี้ยงขันโตกนั้น ผู้ชายจะ
นั่งขัดสมาธิ ภาคเหนือเรียกว่า“ขดตะหวาย”ส่วนผู้หญิงจะนั่งพับเพียบ ภาคเหนือเรียกว่า “นั่งป้ อ
ละแหม้” ประเพณีการกินขันโตก เป็นประเพณีการเชิญแขกมารับประทานอาหารแบบพื้นเมือง
ล้านนาไทย โดยนําเอาประเพณี การละเล่นต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งเคยเจริญรุ่งเรืองมาก่อนสมัย
อาณาจักรล้านนาไทย มาประยุกต์เข้าด้วยกัน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ของเก่าซึ่งเป็นสิ่งที่ดีงาม
ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน และเพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการศึกษาค้นคว้า
วัฒนธรรมประเพณีล้านนาไทยอย่างกว้างขวางต่อไป
วิธีดาเนินงาน
วิธีทาขันโตกตัดเลื่อยท่อนไม้สักออกเป็นแว่น ความหนาประมาณ
6 เซนติเมตร นํามาเคี่ยน(กลึงปากให้กลม)แล้ว
กลึงเจาะลงด้านในลึกลง 3-4 เซนติเมตร ขอบปาก
หนาประมาณ 2 เซนติเมตรด้านล่างของใบโตก
เจาะรูกลมขนาด 1 เซนติเมตรโดยรอบเป็นวงกลม
อย่างน้อย 6 รูแล้วใช้ไม้กว้าง 2 เซนติเมตร ยาว 20
เซนติเมตรกลึงให้กลม และเป็นรูปทรงลูกมะหวดทําเดือยหัว
ท้ายเดือนมีขนาดใหญ่ 1 เซนติเมตร ในส่วนที่เป็นตีนขันโตก
นั้นให้เอาแว่นไม้ที่มีขนาดเล็กกว่าใบโตกเล็กน้อยมากลึง
ให้กลม เจาะข้างในออกให้เหลือเป็นวงกลมสว่นนอก
ส่วนกว้างของขอบตีนประมาณ 3 เซนติเมตรเจาะรู 6รู ระยะห่างถี่ของรูเท่ากันกับรูปของใบ
โตก ในการประกอบนั้นให้เอาไม้
ตีนที่มีเดือยด้านหนึ่งเสียบเข้ากับรู
ของใบโตก เดือยอีกด้านหนึ่งเสียบ
เข้ากับรูของขอบตีนแล้วจึงใช้เศษ
ถ้วยชายเคลือบที่แตกขูดถูให้เรียบ
จากนั้นทําการแต่งลายขันโตก
วัสดุ-อุปกรณ์
ในการแต่งขันโตก
ก้อนมุก
เครื่องทําเส้นมุก
วานิชคลือบเงา
ไม้ปั้มลาย ถุงพลาสติก
สีนํ้ามันสีแดง
ทองเคลือบ
สีย้อมสีดํา
กาวและกระจก
หลังจากที่ได้ขันโตกมาแล้ว นําวานิชเคลือบเงามาเคลือบขันโตกให้เงา
ปั้นมุกให้มีขนาดพอดีกับรูของเครื่องทําเส้นมุก
ใส่มุกเรียบร้อยทําการปิดฝาให้สนิท
จากนั้นทําการปั้มมุกออกมาเป็นเส้นๆ
ได้เส้นมุกมาแล้ว ให้นํามาตากจนแห้ง
พอแห้งดีแล้ว นํามาปั้มลาย
นําเส้นมุกที่ปั้มลายแล้ว มาแต่งขันโตก
ได้ลายที่ต้องการแล้ว นําสีแดงมาทาทับ
รอสีแดงแห้ง จากนั้นนําทองเคลือบมาเคลือบทับอีกชั้นหนึ่ง
ทากาว และนํากระจกมาติดเพิ่มความสวยงาม
นําสีดํา มาทาเพื่อทําเก่าแล้วรอจนแห้ง
แห้งแล้ว นําวานิชเคลือบเงามาเคลือบ เป็นอันเสร็จสิ้น
แหล่งอ้างอิง
http://xn--12cb1dp3j8d.com/history.html
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8
%B1%E0%B8%99%E0%B9%
82%E0%B8%95%E0%B8%81
http://antypupe.blogspot.com/
http://www.myfirstbrain.com/main_view.aspx?ID=88
636
คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ครูที่ปรึกษา
นางสาวกนกวลี จุ้ยพิทักษ์ ม.6/13 เลขที่35
จัดทาโดย
นางสาวบุษยมาศ บุญเทพ ม.6/13 เลขที่40
ขันโตกล้านนา

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555Kroo Mngschool
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลChanthawan Suwanhitathorn
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปleemeanshun minzstar
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีsoysuwanyuennan
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์Maruko Supertinger
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติKobwit Piriyawat
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูniralai
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 

What's hot (20)

ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 

Similar to ขันโตกล้านนา

Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templateMai Lovelove
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗Boonlert Aroonpiboon
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงSasimapornnan
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
นิทรรศการ ถ่ายทอดสืบสานผ่านวิถีชุมชนไทลื้อ
นิทรรศการ ถ่ายทอดสืบสานผ่านวิถีชุมชนไทลื้อนิทรรศการ ถ่ายทอดสืบสานผ่านวิถีชุมชนไทลื้อ
นิทรรศการ ถ่ายทอดสืบสานผ่านวิถีชุมชนไทลื้อNarumon Wannapringh
 
สำนักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตร
สำนักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตรสำนักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตร
สำนักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตรPirachaya Chatanan
 
ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผ...
ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผ...ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผ...
ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผ...kawla2012
 
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยnasaporn
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราnungruthai2513
 
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติคู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติBoonlert Aroonpiboon
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒Boonlert Aroonpiboon
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 

Similar to ขันโตกล้านนา (20)

Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-template
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทง
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
นิทรรศการ ถ่ายทอดสืบสานผ่านวิถีชุมชนไทลื้อ
นิทรรศการ ถ่ายทอดสืบสานผ่านวิถีชุมชนไทลื้อนิทรรศการ ถ่ายทอดสืบสานผ่านวิถีชุมชนไทลื้อ
นิทรรศการ ถ่ายทอดสืบสานผ่านวิถีชุมชนไทลื้อ
 
Pipit
PipitPipit
Pipit
 
สำนักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตร
สำนักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตรสำนักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตร
สำนักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตร
 
ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผ...
ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผ...ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผ...
ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผ...
 
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
 
บทที่ 1.docx
บทที่ 1.docxบทที่ 1.docx
บทที่ 1.docx
 
Brochure
BrochureBrochure
Brochure
 
Brochure1
Brochure1Brochure1
Brochure1
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
 
Act6
Act6Act6
Act6
 
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติคู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 

More from Rujruj

อาหารพื้นเมือง
อาหารพื้นเมืองอาหารพื้นเมือง
อาหารพื้นเมืองRujruj
 
โครงงานท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานท่องเที่ยวในอาเซียนRujruj
 
เสือดาวหิมะ
เสือดาวหิมะเสือดาวหิมะ
เสือดาวหิมะRujruj
 
โครงงานไม้แกะสลักไทย
โครงงานไม้แกะสลักไทยโครงงานไม้แกะสลักไทย
โครงงานไม้แกะสลักไทยRujruj
 
Com_11
Com_11Com_11
Com_11Rujruj
 
เสือดาวหิมะ
เสือดาวหิมะเสือดาวหิมะ
เสือดาวหิมะRujruj
 
Com_21
Com_21Com_21
Com_21Rujruj
 
งานงานโครง
งานงานโครงงานงานโครง
งานงานโครงRujruj
 
การงาน
การงานการงาน
การงานRujruj
 
การงาน1
การงาน1การงาน1
การงาน1Rujruj
 
วิทยาศาตร์
วิทยาศาตร์วิทยาศาตร์
วิทยาศาตร์Rujruj
 
วิทยาศาตร์1
วิทยาศาตร์1วิทยาศาตร์1
วิทยาศาตร์1Rujruj
 
คณิตศาสตร์1
คณิตศาสตร์1คณิตศาสตร์1
คณิตศาสตร์1Rujruj
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์Rujruj
 
อังกฤษ1
อังกฤษ1อังกฤษ1
อังกฤษ1Rujruj
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษRujruj
 
สังคม1
สังคม1สังคม1
สังคม1Rujruj
 

More from Rujruj (20)

อาหารพื้นเมือง
อาหารพื้นเมืองอาหารพื้นเมือง
อาหารพื้นเมือง
 
โครงงานท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานท่องเที่ยวในอาเซียน
 
เสือดาวหิมะ
เสือดาวหิมะเสือดาวหิมะ
เสือดาวหิมะ
 
โครงงานไม้แกะสลักไทย
โครงงานไม้แกะสลักไทยโครงงานไม้แกะสลักไทย
โครงงานไม้แกะสลักไทย
 
AEC.
AEC.AEC.
AEC.
 
Com_11
Com_11Com_11
Com_11
 
เสือดาวหิมะ
เสือดาวหิมะเสือดาวหิมะ
เสือดาวหิมะ
 
Com_21
Com_21Com_21
Com_21
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
งานงานโครง
งานงานโครงงานงานโครง
งานงานโครง
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
การงาน
การงานการงาน
การงาน
 
การงาน1
การงาน1การงาน1
การงาน1
 
วิทยาศาตร์
วิทยาศาตร์วิทยาศาตร์
วิทยาศาตร์
 
วิทยาศาตร์1
วิทยาศาตร์1วิทยาศาตร์1
วิทยาศาตร์1
 
คณิตศาสตร์1
คณิตศาสตร์1คณิตศาสตร์1
คณิตศาสตร์1
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
อังกฤษ1
อังกฤษ1อังกฤษ1
อังกฤษ1
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษ
 
สังคม1
สังคม1สังคม1
สังคม1
 

ขันโตกล้านนา