SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ฟ้อนเจิงและตบมะผาบ
ภาคเหนือ
จังหวัดเชียงราย
พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม:	 เทศบาลตำ�บลแม่จัน	
				 จังหวัดเชียงราย
ที่มาของกิจกรรม
	 อาณาจักรล้านนา มีประวัติความเป็นมาอัน
ยาวนานที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีต รวมทั้ง
ความเป็นเอกลักษณ์ของศิลปวัฒนธรรมล้านนาที่
งดงามสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่นจนถึงปัจจุบัน ที่แสดง
ให้เห็นถึงวิธีการดำ�รงชีวิตของชาวล้านนาที่สอดคล้อง
เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์และ
ความงดงามของศิลปวัฒนธรรมการแสดงที่มีอัตตลักษณ์
ไม่แพ้ภูมิภาคใดๆ ในประเทศ
	 ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นล้านนา เป็น
วัฒนธรรมที่สวยงามและมีการสืบทอดจากอดีตจนถึง
ปัจจุบันซึ่งศิลปวัฒนธรรมการแสดงในแต่ละท้องถิ่น
ก็ยังมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกัน สำ�หรับจังหวัดเชียงราย
แล้ว มีรูปแบบวัฒนธรรมการแสดงซึ่งเป็นศาสตร์
การแสดงที่นำ�องค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมา
แสดงออก โดยการพลิกแพลงท่าทางการแสดงเพื่อ
ให้เข้ากับสถานการณ์ สถานที่ และเสียงเพลงได้อย่าง
เหมาะสมอีกทั้งยังมีความอ่อนช้อยสวยงามด้วย ซึ่งถึง
แม้จะมีการสืบทอดกันมานานแต่ด้วยสภาพความเจริญ
และสภาพสังคมที่แปรเปลี่ยนไปจึงทำ�ให้ศิลปวัฒนธรรม
เหล่านี้นับวันจะเลือนหายไปจากคนในยุคปัจจุบัน
	 จากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เทศบาลตำ�บลแม่จันได้
พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ในชุมชน มีปัญหาโรคปวด
กล้ามเนื้อ ปวดข้อและโรคเรื้อรังที่ไม่ได้เกิดจากการ
ติดต่อ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพราะเกิด
จากการไม่ได้ออกกำ�ลังกายสม่ำ�เสมอ ดังนั้นการสร้าง
เสริมสุขภาพด้วยการออกกำ�ลังกายจึงมีความสำ�คัญ
มากขึ้น จากการสังเกตุทุกท่า และท่วงทีของการแสดง
วัฒนธรรมการแสดงของท้องถิ่น ได้แก่ การตบมะผาบ
ฟ้อนเจิง ตีกลองสะบัดชัย ซึ่งเป็นศิลปวัฒนธรรมท้อง
ถิ่นของจังหวัดเชียงรายแล้วนั้น เป็นการแสดงที่มีการ
เคลื่อนไหวอวัยวะทุกส่วนอย่างสอดคล้องทั้งแขน ขา
มือ เท้า เอว และสะโพก ทำ�ให้ร่างกายได้ออกกำ�ลัง
ทุกส่วน เป็นการฝึกกล้ามเนื้อและเพิ่มความยืดหยุ่นให้
แก่ร่างกาย รวมถึงเกิดความเพลิดเพลินสามารถคลาย
ความเครียดได้เป็นอย่างดี เทศบาลตำ�บลแม่จัน จึงได้
เห็นความเหมาะสมของการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้อง
ถิ่นและการสร้างเสริมสุขภาพที่หลอมรวมเข้าด้วยกันได้
เป็นอย่างดีของทั้งสองกิจกรรม จึงได้จัดทำ�โครงการส่ง
เสริมการออกกำ�ลังกายเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี
ท้องถิ่น โดยส่งเสริมแนวคิดของการนำ�เอาท่าของศิลปะ
การแสดงตบมะผาบเป็นการตบส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ให้เกิดเสียงดังเป็นการอบอุ่นร่างกาย และเป็นการ
ข่มขวัญคู่ต่อสู้ด้วย การฟ้อนเจิงเป็นการร่ายรำ�แสดง
ถึงศิลปะการต่อสู้ของชาย เป็นการฟ้อนประกอบอาวุธ
หรือไม่มีอาวุธก็ได้ และตีกลองสะบัดชัย มาดัดแปลง
หรือประยุกต์เป็นท่าในการออกกำ�ลังกายที่ทำ�ให้ง่าย
ต่อการปฏิบัติและเหมาะสมกับทุกเพศ ทุกวัย และ
ยังเป็นกิจกรรมออกกำ�ลังกายที่ผสมผสานดนตรี
ท้องถิ่นที่แปลกใหม่ที่ให้ทั้งชีวิตชีวา เรื่องราวและความ
บันเทิง พร้อม ๆ ไปกับการสร้างความสัมพันธ์ให้เกิด
แก่คนในชุมชนและสร้างความอบอุ่นในครอบครัว
ต่อยอดเป็นนวัตกรรมใหม่ในการออกกำ�ลังกายที่
ทุกคนได้มีร่างกายที่แข็งแรง และยังควบคู่ไปกับการ
อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นด้วย
แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม
	 ด้วยต้องการให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมใน
การจัดกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพอันเป็นประโยชน์
และสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น คณะ
ผู้ดำ�เนินโครงการจึงได้เริ่มขับเคลื่อนกิจกรรมในช่วง
แรกโดยการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการ
ฝึกปฏิบัติศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น การตีกลอง
สะบัดชัย,การตบมะผาบ และการฟ้อนเจิงให้มีความ
พร้อมก่อนที่จะปฏิบัติกิจกรรม
	 จากนั้นเริ่มค้นหาวิทยากรเพื่อทำ�การฝึกอบรม
การตบมะผา, ฟ้อนเจิง, ตีกลองสะบัดชัย จากดินแดน
ล้านนา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสวยงามและถูกต้องตาม
ประเพณีที่เคยปฏิบัติกันมา หลังจากได้วิทยากรแล้วก็
เริ่มดำ�เนินการจัดอบรมแกนนำ�ให้กับทุกชุมชน เพื่อเป็น
วิทยากรต้นแบบ โดยทดลองปฏิบัติ พัฒนาท่ารำ�/การ
แสดง ฝึกปฏิบัติและปรับประยุกต์ท่าทางให้เหมาะสม
กับกลุ่มแกนนำ�จนได้ท่าต้นแบบ
ฟ้อนเจิง และตบมะผาบ
ทั้งนี้คณะดำ�เนินกิจกรรมโครงการยังได้มีการเชิญ
ผู้เชี่ยวชาญมาตรวจสอบท่ารำ� การแสดง เพื่อเป็นการ
ยืนยันความเหมาะสม ถูกต้องตามหลักประเพณี และ
หลังจากได้ข้อเสนอแนะ คณะแกนนำ�จะทำ�การปรับและ
พัฒนากระทั่งได้ข้อสรุปสุดท้ายที่เป็นต้นแบบที่สามารถ
นำ�ไปเผยแพร่และออกกำ�ลังกายร่วมกับประชาชนใน
พื้นที่ได้ และในที่สุดจึงได้มีการจัดมหกรรมสุขภาพเชิง
วัฒนธรรมเพื่อเป็นการนำ�เสนอผลการออกกำ�ลังกาย
และผลงานการฝึกฝนของแต่ละชุมชนให้สาธารณชน
ได้รับทราบ
เป้าหมาย
	 1.	เพื่อนำ�เอาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยุกต์
ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านสุขภาพ
	 2.	เพื่อให้เกิดการกระตุ้นเผยแพร่การออกกำ�ลัง
กายแนวใหม่สู่ชุมชน
	 3.	เพื่อให้เกิดการยอมรับ ความร่วมมือ ความ
สามัคคีของคนในชุมชนและสามารถนำ�ไปใช้ได้อย่าง
ยั่งยืน
	 4.	จัดให้มีกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพที่เป็น
ประโยชน์และสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณี
ท้องถิ่น
ประโยชน์
	 1.	ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
	 2.	เกิดการถ่ายทอดและการออกกำ�ลังกายแนวใหม่
ของท้องถิ่น
	 3.	ประชาชนมีการจัดกิจกรรมด้านส่งเสริม
สุขภาพและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ด้านสุขภาพที่
สอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ตลอดจนมี
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น
ระยะเวลาที่ใช้ : ประมาณ 20 นาที
คุณสมบัติของผู้เล่น :	 เยาวชน ประชาชนทั่วไป
			 และผู้สูงอายุ
จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน
กติกา : -
อุปกรณ์ที่ใช้ : เพลงประกอบการรำ� และเต้นแอโรบิค
ขั้นตอนการออกกำ�ลังกาย
	 1.	การอบอุ่นร่างกาย เพื่อเป็นการวอร์มร่างกาย
ให้พร้อมก่อนการออกกำ�ลังกายซึ่งเป็นท่าฟ้อนเจิง
ร่ายรำ�ประกอบเพลง
	 2.	ออกกำ�ลังกายต่อเนื่อง เป็นท่าออกกำ�ลัง
กายประกอบเพลง โดยการนำ�ท่าฟ้อนเจิง และตบมะ
ผาบ มาประยุกต์เป็นท่าเต้นออกกำ�ลังกาย (แอโรบิค)
ซึ่งมีทั้งหมด 9 ท่า
	 1. ท่าตบมือ ย่ำ�เท้าอยู่กับที่
	
2.	 ท่าสางหลวง ขาขวาก้าวไปข้างหน้า ข้างซ้ายย่อ
มือกางดังรูป ส่ายไหล่ไปซ้าย-ขวา ลดแขนทั้งสองข้าง
ลงไว้ระดับเอวด้านหลัง
	
3.	 ท่าตบขนาบ ตบมือ 2 จังหวะ (รูปที่ 3.1) มือ
ไหว้ตบหน้าอก 2 จังหวะ (รูปที่ 3.2) ตบมือ 2 จังหวะ
ตบหน้าแข้ง 2 จังหวะ (รูปที่ 3.3)
3.1
49
3.2
3.3
	 4.	ท่ายกขา กางมือออกข้างลำ�ตัว จีบแล้วหงาย
มือ ยกเข่าขวา-ซ้าย ขึ้น-ลง
	 5.	ท่าหลดศอก ตบมือ 1 ครั้ง ฟันศอกขวาไป
ข้างหน้า 1 ครั้ง เท้าขวาก้าวไปข้างหน้า ปฏิบัติ 8
ครั้ง แล้วเปลี่ยนเป็นข้างซ้าย
	 6.	ท่าตบมะผาบ ยกเข่าขวา มือซ้ายตบเข่าขวา
มือขวาหงายแบ / ยกเข่าซ้าย มือขวาตบเข่าขวา มือ
ซ้ายหงายแบ ปฏิบัติท่าสลับซ้าย-ขวา
	 7.	ท่าตบใต้ขา ยกขาขวาขึ้นสูง ตบมือใต้ขา
ปฏิบัติสลับซ้าย-ขวา
50
8.	ท่าชกมวย ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า มือขวา
ปล่อยหมัดชกไปด้านหน้า ปฏิบัติสลับซ้าย-ขวา
	 9.	ท่ายกแขน บิดลำ�ตัวไปทางขวา ยกแขนงอ
ศอก ขย่มตัวขึ้นลง 3 จังหวะ แล้วเปลี่ยนข้าง
	 3.	ผ่อนคลายกล้ามเนื้อให้สู่ปกติ เป็นท่าวอร์มหลัง
การออกกำ�ลังกาย เพื่อเป็นการปรับสมดุลร่างกายหลัง
จากการออกกำ�ลังกายแล้วซึ่งเป็นท่าฟ้อนเจิง ร่ายรำ�
ประกอบเพลง
51

Act6

  • 2. พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม: เทศบาลตำ�บลแม่จัน จังหวัดเชียงราย ที่มาของกิจกรรม อาณาจักรล้านนา มีประวัติความเป็นมาอัน ยาวนานที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีต รวมทั้ง ความเป็นเอกลักษณ์ของศิลปวัฒนธรรมล้านนาที่ งดงามสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่นจนถึงปัจจุบัน ที่แสดง ให้เห็นถึงวิธีการดำ�รงชีวิตของชาวล้านนาที่สอดคล้อง เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์และ ความงดงามของศิลปวัฒนธรรมการแสดงที่มีอัตตลักษณ์ ไม่แพ้ภูมิภาคใดๆ ในประเทศ ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นล้านนา เป็น วัฒนธรรมที่สวยงามและมีการสืบทอดจากอดีตจนถึง ปัจจุบันซึ่งศิลปวัฒนธรรมการแสดงในแต่ละท้องถิ่น ก็ยังมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกัน สำ�หรับจังหวัดเชียงราย แล้ว มีรูปแบบวัฒนธรรมการแสดงซึ่งเป็นศาสตร์ การแสดงที่นำ�องค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมา แสดงออก โดยการพลิกแพลงท่าทางการแสดงเพื่อ ให้เข้ากับสถานการณ์ สถานที่ และเสียงเพลงได้อย่าง เหมาะสมอีกทั้งยังมีความอ่อนช้อยสวยงามด้วย ซึ่งถึง แม้จะมีการสืบทอดกันมานานแต่ด้วยสภาพความเจริญ และสภาพสังคมที่แปรเปลี่ยนไปจึงทำ�ให้ศิลปวัฒนธรรม เหล่านี้นับวันจะเลือนหายไปจากคนในยุคปัจจุบัน จากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เทศบาลตำ�บลแม่จันได้ พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ในชุมชน มีปัญหาโรคปวด กล้ามเนื้อ ปวดข้อและโรคเรื้อรังที่ไม่ได้เกิดจากการ ติดต่อ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพราะเกิด จากการไม่ได้ออกกำ�ลังกายสม่ำ�เสมอ ดังนั้นการสร้าง เสริมสุขภาพด้วยการออกกำ�ลังกายจึงมีความสำ�คัญ มากขึ้น จากการสังเกตุทุกท่า และท่วงทีของการแสดง วัฒนธรรมการแสดงของท้องถิ่น ได้แก่ การตบมะผาบ ฟ้อนเจิง ตีกลองสะบัดชัย ซึ่งเป็นศิลปวัฒนธรรมท้อง ถิ่นของจังหวัดเชียงรายแล้วนั้น เป็นการแสดงที่มีการ เคลื่อนไหวอวัยวะทุกส่วนอย่างสอดคล้องทั้งแขน ขา มือ เท้า เอว และสะโพก ทำ�ให้ร่างกายได้ออกกำ�ลัง ทุกส่วน เป็นการฝึกกล้ามเนื้อและเพิ่มความยืดหยุ่นให้ แก่ร่างกาย รวมถึงเกิดความเพลิดเพลินสามารถคลาย ความเครียดได้เป็นอย่างดี เทศบาลตำ�บลแม่จัน จึงได้ เห็นความเหมาะสมของการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้อง ถิ่นและการสร้างเสริมสุขภาพที่หลอมรวมเข้าด้วยกันได้ เป็นอย่างดีของทั้งสองกิจกรรม จึงได้จัดทำ�โครงการส่ง เสริมการออกกำ�ลังกายเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น โดยส่งเสริมแนวคิดของการนำ�เอาท่าของศิลปะ การแสดงตบมะผาบเป็นการตบส่วนต่างๆ ของร่างกาย ให้เกิดเสียงดังเป็นการอบอุ่นร่างกาย และเป็นการ ข่มขวัญคู่ต่อสู้ด้วย การฟ้อนเจิงเป็นการร่ายรำ�แสดง ถึงศิลปะการต่อสู้ของชาย เป็นการฟ้อนประกอบอาวุธ หรือไม่มีอาวุธก็ได้ และตีกลองสะบัดชัย มาดัดแปลง หรือประยุกต์เป็นท่าในการออกกำ�ลังกายที่ทำ�ให้ง่าย ต่อการปฏิบัติและเหมาะสมกับทุกเพศ ทุกวัย และ ยังเป็นกิจกรรมออกกำ�ลังกายที่ผสมผสานดนตรี ท้องถิ่นที่แปลกใหม่ที่ให้ทั้งชีวิตชีวา เรื่องราวและความ บันเทิง พร้อม ๆ ไปกับการสร้างความสัมพันธ์ให้เกิด แก่คนในชุมชนและสร้างความอบอุ่นในครอบครัว ต่อยอดเป็นนวัตกรรมใหม่ในการออกกำ�ลังกายที่ ทุกคนได้มีร่างกายที่แข็งแรง และยังควบคู่ไปกับการ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นด้วย แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม ด้วยต้องการให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพอันเป็นประโยชน์ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น คณะ ผู้ดำ�เนินโครงการจึงได้เริ่มขับเคลื่อนกิจกรรมในช่วง แรกโดยการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการ ฝึกปฏิบัติศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น การตีกลอง สะบัดชัย,การตบมะผาบ และการฟ้อนเจิงให้มีความ พร้อมก่อนที่จะปฏิบัติกิจกรรม จากนั้นเริ่มค้นหาวิทยากรเพื่อทำ�การฝึกอบรม การตบมะผา, ฟ้อนเจิง, ตีกลองสะบัดชัย จากดินแดน ล้านนา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสวยงามและถูกต้องตาม ประเพณีที่เคยปฏิบัติกันมา หลังจากได้วิทยากรแล้วก็ เริ่มดำ�เนินการจัดอบรมแกนนำ�ให้กับทุกชุมชน เพื่อเป็น วิทยากรต้นแบบ โดยทดลองปฏิบัติ พัฒนาท่ารำ�/การ แสดง ฝึกปฏิบัติและปรับประยุกต์ท่าทางให้เหมาะสม กับกลุ่มแกนนำ�จนได้ท่าต้นแบบ ฟ้อนเจิง และตบมะผาบ
  • 3. ทั้งนี้คณะดำ�เนินกิจกรรมโครงการยังได้มีการเชิญ ผู้เชี่ยวชาญมาตรวจสอบท่ารำ� การแสดง เพื่อเป็นการ ยืนยันความเหมาะสม ถูกต้องตามหลักประเพณี และ หลังจากได้ข้อเสนอแนะ คณะแกนนำ�จะทำ�การปรับและ พัฒนากระทั่งได้ข้อสรุปสุดท้ายที่เป็นต้นแบบที่สามารถ นำ�ไปเผยแพร่และออกกำ�ลังกายร่วมกับประชาชนใน พื้นที่ได้ และในที่สุดจึงได้มีการจัดมหกรรมสุขภาพเชิง วัฒนธรรมเพื่อเป็นการนำ�เสนอผลการออกกำ�ลังกาย และผลงานการฝึกฝนของแต่ละชุมชนให้สาธารณชน ได้รับทราบ เป้าหมาย 1. เพื่อนำ�เอาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านสุขภาพ 2. เพื่อให้เกิดการกระตุ้นเผยแพร่การออกกำ�ลัง กายแนวใหม่สู่ชุมชน 3. เพื่อให้เกิดการยอมรับ ความร่วมมือ ความ สามัคคีของคนในชุมชนและสามารถนำ�ไปใช้ได้อย่าง ยั่งยืน 4. จัดให้มีกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพที่เป็น ประโยชน์และสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น ประโยชน์ 1. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง 2. เกิดการถ่ายทอดและการออกกำ�ลังกายแนวใหม่ ของท้องถิ่น 3. ประชาชนมีการจัดกิจกรรมด้านส่งเสริม สุขภาพและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ด้านสุขภาพที่ สอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ตลอดจนมี ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ระยะเวลาที่ใช้ : ประมาณ 20 นาที คุณสมบัติของผู้เล่น : เยาวชน ประชาชนทั่วไป และผู้สูงอายุ จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน กติกา : - อุปกรณ์ที่ใช้ : เพลงประกอบการรำ� และเต้นแอโรบิค ขั้นตอนการออกกำ�ลังกาย 1. การอบอุ่นร่างกาย เพื่อเป็นการวอร์มร่างกาย ให้พร้อมก่อนการออกกำ�ลังกายซึ่งเป็นท่าฟ้อนเจิง ร่ายรำ�ประกอบเพลง 2. ออกกำ�ลังกายต่อเนื่อง เป็นท่าออกกำ�ลัง กายประกอบเพลง โดยการนำ�ท่าฟ้อนเจิง และตบมะ ผาบ มาประยุกต์เป็นท่าเต้นออกกำ�ลังกาย (แอโรบิค) ซึ่งมีทั้งหมด 9 ท่า 1. ท่าตบมือ ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ 2. ท่าสางหลวง ขาขวาก้าวไปข้างหน้า ข้างซ้ายย่อ มือกางดังรูป ส่ายไหล่ไปซ้าย-ขวา ลดแขนทั้งสองข้าง ลงไว้ระดับเอวด้านหลัง 3. ท่าตบขนาบ ตบมือ 2 จังหวะ (รูปที่ 3.1) มือ ไหว้ตบหน้าอก 2 จังหวะ (รูปที่ 3.2) ตบมือ 2 จังหวะ ตบหน้าแข้ง 2 จังหวะ (รูปที่ 3.3) 3.1 49
  • 4. 3.2 3.3 4. ท่ายกขา กางมือออกข้างลำ�ตัว จีบแล้วหงาย มือ ยกเข่าขวา-ซ้าย ขึ้น-ลง 5. ท่าหลดศอก ตบมือ 1 ครั้ง ฟันศอกขวาไป ข้างหน้า 1 ครั้ง เท้าขวาก้าวไปข้างหน้า ปฏิบัติ 8 ครั้ง แล้วเปลี่ยนเป็นข้างซ้าย 6. ท่าตบมะผาบ ยกเข่าขวา มือซ้ายตบเข่าขวา มือขวาหงายแบ / ยกเข่าซ้าย มือขวาตบเข่าขวา มือ ซ้ายหงายแบ ปฏิบัติท่าสลับซ้าย-ขวา 7. ท่าตบใต้ขา ยกขาขวาขึ้นสูง ตบมือใต้ขา ปฏิบัติสลับซ้าย-ขวา 50
  • 5. 8. ท่าชกมวย ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า มือขวา ปล่อยหมัดชกไปด้านหน้า ปฏิบัติสลับซ้าย-ขวา 9. ท่ายกแขน บิดลำ�ตัวไปทางขวา ยกแขนงอ ศอก ขย่มตัวขึ้นลง 3 จังหวะ แล้วเปลี่ยนข้าง 3. ผ่อนคลายกล้ามเนื้อให้สู่ปกติ เป็นท่าวอร์มหลัง การออกกำ�ลังกาย เพื่อเป็นการปรับสมดุลร่างกายหลัง จากการออกกำ�ลังกายแล้วซึ่งเป็นท่าฟ้อนเจิง ร่ายรำ� ประกอบเพลง 51