SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
(Topographic Map and Geologic Map)
บทนา
แผนที่ถูกสร้างขึ้นมาใช้งานตั้งแต่สมัยโบราณ จาก
หลักฐานพบว่าเมื่อประมาณ 1,400 ปีก่อนคริสตกาล
ในยุคบาบิโลเนียน (Babylonian) ได้มีการจัดทาเป็น
แผนที่เพื่อแสดงที่ตั้งของแม่น้าระหว่างสองเนินเขา
ช่วงเวลาต่อมามนุษย์ได้มีการสร้างแผนที่ที่มี
รายละเอียดมากขึ้นเพื่อให้สามารถนามาประยุกต์ใช้
ในการดารงชีวิต เช่น การระบุแหล่งล่าสัตว์ ตกปลา
และมีการพัฒนาการทาแผนที่มาอย่างต่อเนื่องจนถึง
ปัจจุบัน
สาหรับประเทศไทยได้เริ่มมีการทาแผนที่แบบสากลในสมัยรัชกาลที่ 5 เพื่อแสดงอาณาเขตของประเทศ
ในปัจจุบันได้มีการสร้างแผนที่ขึ้นมาหลายประเภทเพื่อจุดประสงค์การใช้งานที่แตกต่างกัน ซึ่งแผนที่
ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาเป็นแผนที่หนึ่งที่สาคัญ เพราะ นามาใช้ในการวางแผนการจัดการและ
ใช้ประโยชน์จากพื้นที่
แผนที่สารบาญประเทศสยาม
แสดงงานวางหมุดหลักฐาน
เมื่อ พ.ศ.2456
แผนที่ธรณีวิทยา
ประเทศไทย
1. องค์ประกอบของแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
ในแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยามีองค์ประกอบ หลายส่วน แต่เมื่อ
พิจารณาในภาพรวมแล้วแผนที่ทั้งสองชนิดมีองค์ประกอบสาคัญเหมือน กันที่
นักเรียนจาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐาน ได้แก่
1) ระวาง (sheet)
2) มาตราส่วน (scale)
3) ระบบพิกัด (coordinate system)
4) สัญลักษณ์ (symbol) และคาอธิบาย (legend)
ระวาง
แผนที่แต่ละระวางจะมีหมายเลขระวาง (map sheet number) กากับและกาหนดชื่อ
ระวางตามชื่อสถานที่ที่อยู่ภายในระวาง เช่น ชื่อจังหวัด ชื่ออาเภอ ชื่อหมู่บ้าน
ระวาง ชื่อระวาง หมายเลขระวาง
มาตราส่วน
แผนที่ทุกประเภทจาเป็ นต้องมีการระบุมาตราส่วนไว้บนแผนที่ เพื่อแสดงข้อมูล
อัตราส่วนของระยะทางบนแผนที่กับระยะทางจริง เนื่องจากขนาดพื้นที่ที่ปรากฏใน
พื้นที่ แผนที่ เป็นการย่อขนาดของพื้นที่จริงลงบนแผนที่ซึ่งมีพื้นที่จากัด ดังนั้นมาตรา
ส่วนบนแผนที่จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถประมาณระยะทาง หรือขนาดของพื้นที่จริงได้
เช่น แผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 หมายความว่า ระยะทาง 1 เซนติเมตร ของแผนที่มี
ระยะทางเท่ากับ 50,000 เซนติเมตร ของภูมิประเทศจริง
มาตราส่วน
ระบบพิกัด
ระบบพิกัด ตาแหน่งบนพื้นผิวโลกมีพิกัดที่แตกต่างกัน
จึงต้องมีการกาหนดระบบพิกัดบนแผนที่ เพื่อระบุ
ตาแหน่งให้ตรงกับตาแหน่งจริงบนโลก โดยแสดงด้วย
เส้นอ้างอิงในแนวตั้งและแนวนอนที่ตัดกัน ระบบพิกัดมี
2 ระบบ คือ ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (geographic
coordinate system) และ ระบบพิกัดยูทีเอ็ม (Universal
Transverse Mercator coordinate system: UTM)
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ระบบพิกัดยูทีเอ็ม
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (geographic coordinate system) เป็นระบบที่ระบุพิกัดด้วย
ละติจูดและลองจิจูด โดยเส้นละติจูดเกิดจากรอยตัดระหว่างผิวโลกกับพื้นราบที่ตั้งฉาก
กับแกนขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ รอยตัดจึงเป็นวงกลมที่ขนานกับเส้นศูนย์สูตร ในแต่
ละซีกโลกมีเส้นละติจูด จานวน 90 เส้น ส่วนลองจิจูดเกิดจากการแบ่งเส้นแนวตั้ง
ออกเป็น 360 เส้น
ระบบพิกัดยูทีเอ็ม (Universal Transverse Mercator coordinate system: UTM) เป็น
ระบบที่มีตัวเลขกากับเส้นกริด (grid line) ทั้งเส้นแนวตั้งและแนวนอนที่ตัดกันเช่นเดียวกับ
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ โดยเส้นกริดทั้งแนวตั้งและแนวนอน จะแสดงระยะทางในหน่วยเป็น
เมตร เส้นกริดแต่ละเส้นที่ปรากฏในแผนที่ภูมิประเทศของกรมแผนที่ทหาร จะห่างกัน
1,000 เมตร โดยมี ตัวเลขกากับเส้น 2 หลัก ซึ่งอยู่ในหลักหมื่นและหลักพันในหน่วยเมตร
เช่น 598000 m. E จะใช้ตัวเลขกากับเส้นกริดเป็น 98 ดังนั้น เส้นที่ถัดไปอีก 2 เส้น ทางทิศ
ตะวันออก คือ เส้น 600000 m. E จะใช้ตัวเลขเป็น 00
A
B C
จุด A
- อยู่ห่างจากเส้นกริด 556000 m. E ไป
ทางทิศตะวันออกในแนวนอน 1 เส้น
เส้นกริด อ่านได้557000 m. E
- ตัดกับเส้นกริดซึ่งห่างจากเส้นกริด
802000 m. N ไปทางทิศเหนือในแนวตั้ง
2 เส้นกริด อ่านได้804000 m. E
- สามารถระบุตาแหน่งตามพิกัดยูทีเอ็ม
ได้เป็น 557000 m. E 804000 m. E และ
ระบุพิกัดอย่างย่อได้ 570004
A
B C
จุด A
- อยู่ห่างจากเส้นกริด 556000 m. E ไป
ทางทิศตะวันออกในแนวนอน 1 เส้น
เส้นกริด อ่านได้563000 m. E
- ตัดกับเส้นกริดซึ่งห่างจากเส้นกริด
802000 m. N ไปทางทิศเหนือในแนวตั้ง
2 เส้นกริด อ่านได้803000 m. E
- สามารถระบุตาแหน่งตามพิกัดยูทีเอ็ม
ได้เป็น 563000 m. E 803000 m. E และ
ระบุพิกัดอย่างย่อได้ 630004
A
B C
จุด C
พิกัดภูมิศาสตร์ อ่านค่าได้
ประมาณ 7° 25', 99° 51'
สัญลักษณ์และคาอธิบาย
แผนที่จะใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนข้อมูลที่ระบุในแผนที่ โดยสัญลักษณ์ที่ใช้
อาจมีได้หลายรูปแบบ เช่น จุด เส้น สีรูปภาพ แต่อาจแสดงข้อมูลที่แตกต่าง
กันตามประเภทของแผนที่ ดังนั้นจึงต้องมีคาอธิบายสัญลักษณ์
ประกอบด้วย เช่น แผนที่ภูมิประเทศมี สัญลักษณ์และคาอธิบายเกี่ยวกับ
ลักษณะภูมิประเทศ แผนที่ธรณีวิทยามีสัญลักษณ์และคาอธิบายเกี่ยวกับ
ข้อมูลหินรวมทั้งข้อมูลภูมิประเทศบางส่วน
ทั้งนี้ในแผนที่ยังต้องมีการระบุทิศ (direction) ซึ่งอ้างอิงกับทิศเหนือ นิยม
ใช้สัญลักษณ์คล้าย ลูกศร และตัวอักษร N สาหรับกรณีที่ไม่มีสัญลักษณ์
แสดงทิศนิยมกาหนดให้ด้านบนของแผนที่เป็นทิศเหนือ
สัญลักษณ์แสดงทิศในแผนที่ทั่วไป
สัญลักษณ์แสดงทิศในแผนที่
ที่จัดทาโดยกรมแผนที่ทหาร
สาหรับแผนที่ภูมิประเทศของกรมแผนที่ทหารจะมีการบอกทิศ
เหนือเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ ทิศเหนือจริง (true north) หรือทิศเหนือ
ภูมิศาสตร์ (geographic north) เป็นทิศเหนือที่อ้างอิงกับขั้วโลก
เหนือ ใช้กับระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ทิศเหนือแม่เหล็ก (magnetic
north) อ้างอิงกับขั้วแม่เหล็กโลก โดยแสดงทิศตามทิศเหนือของเข็ม
ทิศและทิศเหนือกริด (grid north) ใช้ในแผนที่ระบบพิกัดกริด โดยมี
สัญลักษณ์แสดงทิศเหนือที่ชี้ไปในแนวขนานกับเส้นกริดแนวตั้ง
2.ข้อมูลในแผนที่ภูมิประเทศ
พื้นผิวโลกมีลักษณะทางกายภาพที่แตกต่างกัน
ซึ่งมีทั้งลักษณะทางกายภาพที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ เช่น แม่น้า ธารน้า บึง ทะเล และ
ลักษณะทางกายภาพที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ถนน
ทางรถไฟ อาคารบ้านเรือน อ่างเก็บน้า ดังนั้น
มนุษย์จึงได้รวบรวมข้อมูลเหล่านี้จัดทาเป็นแผน
ที่ภูมิประเทศ ซึ่ง มีสัญลักษณ์ต่าง ๆ แสดงขนาด
รูปร่าง ความสูงต่าของพื้นที่รวมถึงสิ่งปลูกสร้าง
ต่าง ๆ
ตัวอย่างบางส่วนของแผนที่ภูมิประเทศ มาตรา
ส่วน 1:50,000 ระวางอาเภอสัตหีบ (51342 II)
จัดทาโดยกรมแผนที่ทหาร
เส้นชั้นความสูง (contour line)
เส้นชั้นความสูง (Contour Line) คือ เส้นที่แสดงลักษณะความสูงต่าของพื้นที่ เป็นเส้น
จินตนาการของระดับที่คงที่บนพื้นผิวภูมิประเทศที่มีค่าระดับเท่ากัน
เส้นชั้นความสูงสสามารถแปลง
เป็นลักษณะภูมิประเทศได้ จาก
การสร้างภาคตัดขวาง หากสร้าง
ภาคตัดขวางในแนวที่แตกต่าง
กันจะได้ ภาคตัดขวางภูมิ
ประเทศที่ไม่เหมือนกัน
3. ข้อมูลในแผนที่ธรณีวิทยา
แผนที่ธรณีวิทยาเป็ นแผนที่แสดงข้อมูล
หินและโครงสร้างทางธรณีที่พบในแต่ละ
พื้นที่ ซึ่งข้อมูลหินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
ข้อมูลหินตะกอนและหินแปร และ ข้อมูล
หินอัคนี โดยใช้สัญลักษณ์ที่แตกต่างกัน
แสดงอายุและชนิดหิน เช่น ตัวอักษร สี
ส่วน โครงสร้างทางธรณี ใช้เส้นลักษณะ
ต่าง ๆ เป็นสัญลักษณ์
ตัวอย่างแผนที่ธรณีวิทยา จังหวัดอุดรธานี
นักธรณีวิทยาได้สารวจหินโผล่และโครงสร้างทางธรณี เพื่อรวบรวมข้อมูลทางธรณีวิทยา
ของหน่วยหินในพื้นที่ และบันทึกลงในแผนที่ธรณีวิทยา โดยใช้สัญลักษณ์ควบคู่กับ
คาอธิบายข้อมูลทางธรณีวิทยา ได้แก่
สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงข้อมูลของหิน
สัญลักษณ์แสดงโครงสร้างทางธรณี
3.1 สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงข้อมูลของหิน
สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงข้อมูลของหิน ประกอบด้วย
3.1.1 สัญลักษณ์แสดงอายุหิน
3.1.2 สัญลักษณ์แสดงหน่วยหิน
3.1.1 สัญลักษณ์แสดงอายุหิน มี
ลักษณะคล้ายตัวอักษรภาษาอังกฤษ
ตัวพิมพ์ใหญ่ ใช้แทน อายุในช่วงเวลาทาง
ธรณีวิทยาตามมาตราธรณีกาล ทั้งมหายุค
(Era) และยุค (Period) ซึ่งนิยมใช้สีร่วม
ด้วย แต่สีที่ใช้ในแผนที่ธรณีวิทยาของแต่
ละประเทศอาจแตกต่างกัน
3.1.2 สัญลักษณ์แสดงหน่วยหินและชนิดของหิน แผนที่ธรณีวิทยา
ที่จัดทาโดยกรมทรัพยากรธรณี จะแสดงข้อมูลหน่วยหินของหินตะกอนและ
หินแปรโดยใช้อักษรที่แตกต่างกันตาม ชื่อหน่วยหิน เช่น
สัญลักษณ์ Ju โดย J หมายถึงหินที่มีอายุอยู่ในยุคจูแรสซิก และ u หมายถึง
กลุ่มหินอุ้มผาง ซึ่งเป็ นกลุ่มหินที่พบในบริเวณอาเภออุ้มผาง จังหวัดตาก
ประกอบด้วยหินชนิดต่าง ๆ ได้แก่ หินโคลน หินทรายแป้ง หินทราย และ
หินปูน
สาหรับหินอัคนี ใช้อักษรย่อแสดงชนิดของหิน เช่น gr โดย
หมายถึง หินที่เกิดในยุคไทรแอสซิก ส่วน gr แทน หินแกรนิต และใช้
โทนสีต่างกันตามชนิดของหินอัคนี ได้แก่ หินอัคนีพุใช้โทนสีแดง ส่วน
หินอัคนีแทรกซอนใช้โทนสีชมพู นอกจากนี้แผนที่ธรณีวิทยายังแสดง
ข้อมูลลักษณะการสะสมตัวของตะกอนในช่วงที่ตะกอน ยังไม่แข็งตัวเป็น
หิน เช่น Qa โดย Q หมายถึง ตะกอนที่สะสมตัวในยุคควอเทอร์นารี และ
a หมายถึง ตะกอนธารน้าพา (alluvial deposit)
3.2 สัญลักษณ์แสดงโครงสร้างทางธรณี
โครงสร้างทางธรณีเป็ นข้อมูลสาคัญที่แสดงให้เห็นว่าบริเวณต่าง ๆ เคยมีการเปลี่ยนแปลงทาง
ธรณีวิทยาเกิดขึ้น เช่น ชั้นหินคดโค้ง รอยเลื่อน ซึ่งทาให้ทราบว่าพื้นที่บริเวณนี้เคยได้รับผลจาก
การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกมาก่อน สัญลักษณ์ที่ใช้บอกโครงสร้างทางธรณีส่วนใหญ่แสดงด้วย
เส้นลักษณะต่าง ๆ
4. การใช้ประโยชน์จากข้อมูลของแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ทางธรณีวิทยา
การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแผนที่ภูมิประเทศและ/หรือแผนที่ธรณีวิทยา ประกอบกับ
ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจะช่วยให้นักเรียนสามารถวางแผนการใช้ประโยชน์ของพื้นที่หลาย ๆ
ด้าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น
1) เป็นพื้นฐานในการศึกษาและวิจัยด้านธรณีวิทยา เช่น การศึกษาชนิดหินและการ
กระจายตัวของหิน โครงสร้างทางธรณีวิทยา เพื่อนาไปสู่การประเมินศักยภาพพื้นที่ในการหา
แหล่งทรัพยากรธรณีต่าง ๆ
2) ใช้ในการวางแผนสารวจและนาทรัพยากรธรณีมาใช้ประโยชน์ เช่น การทาเหมือง
แร่ การทาเหมืองหิน การทาเหมืองถ่านหิน การขุดเจาะปิโตรเลียม รวมถึงการใช้ข้อมูลแผนที่
ในการจัดการแหล่งทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ทรัพยากรน้า ทรัพยากรป่ าไม้
3) เป็ นข้อมูลทางภูมิศาสตร์และข้อมูลทางธรณีที่นามาใช้ในการวางผังเมือง การ
วางแผนการก่อสร้างถนน ทางรถไฟ เขื่อน รวมถึงการวางแผนเพื่อลดหรือเฝ้าระวังผลกระทบ
จากภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับตนเองหรือชุมชน
4. การใช้ประโยชน์จากข้อมูลของแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ทางธรณีวิทยา
บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
(Topographic Map and Geologic Map)

More Related Content

What's hot

หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 

What's hot (20)

หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 

More from soysuwanyuennan

บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานsoysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกsoysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกsoysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1soysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติsoysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกsoysuwanyuennan
 

More from soysuwanyuennan (10)

บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา