SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
สามารถ สุวรรณรัตน์
นักวิชาการอิสระ
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
ในบริบทของความเป็นเมืองเก่าที่มีรากฐานทางวัฒนธรรมมากว่า 1,300 ปี และบทบาทของ
เมืองที่เคยเป็นศูนย์กลางของความเจริญและธุรกิจการค้าที่มีมาแต่เดิม ทาให้เรื่องราวของความ
เคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในการพัฒนาจึงมุ่งตรงไปที่ประเด็น การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม และ
การฟื้นฟูย่านเก่าเป็นสาคัญ ความเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมที่เด่นชัด และเป็นพัฒนาการการ
ขับเคลื่อนงานพัฒนาที่เป็นรูปเป็นร่าง สมควรได้รับยกย่องเป็นตัวต้นแบบการทางานของพื้นที่ ได้แก่ 1)
งานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของ “กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก”
งานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก : จุดเริ่มต้น
จุดเริ่มต้นของการอนุรักษ์และบูรณะวิหารพระเจ้าพันองค์ที่วัดปงสนุก เริ่มมาจากความต้องการ
ของตัวแทนชาวปงสนุก กล่าวคือ เมื่อประมาณปลายปี พ.ศ.2547 อาจารย์ อนุกูล ศิริพันธ์ (รูปที่ 1)
ประธานชุมชนปงสนุก (ปี2550) (และลูกศิษย์ของ รศ. ดร.วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์, ผู้วิจัย) ได้ขอความ
ช่วยเหลือจาก รศ.ดร.วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์ (ปัจจุบันดารงตาแหน่งคณบดีคณะวิจิตรศิลป์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,ผู้วิจัย) (รูปที่ 2) ให้ช่วยให้คาแนะนาการบูรณะวิหารพระเจ้าพันองค์ ซึ่งในเวลา
นั้นพบว่าสภาพทางกายภาพของวิหารทรุดโทรมอย่างมาก หากปล่อยทิ้งไปคงจะต้องสูญเสีย
สถาปัตยกรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของประเทศไปในที่สุด” ( วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์,2550) “การทางานเริ่มจาก
ช่วงที่มีเกิดปัญหาการบูรณะวัดเจดีย์หลวง ทางอาจารย์เกรียงไกร (อาจารย์เกรียงไร เกิดศิริ อาจารย์
คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร)ได้เชิญอาจารย์ไปพูดในหัวข้อเรื่อง "สถานการณ์การอนุรักษ์
ในภาคเหนือ" ที่ศิลปากร หนึ่งในผู้ที่มาร่วมฟังคือคุณภารณี สวัสดิวัฒน์ ของอีคอมโมส และต่อมาก็ได้มา
เป็นผู้สนับสนุนเรา เริ่มมีเด็กสนใจและมาลงชื่อเข้าร่วม จึงได้ทาหนังสือขอสมาคมศิษย์เก่าสถาปัตย์
ศิลปากร ขอร่วมสนับสนุนค่าเดินทางรถไฟชั้น 3 ของเด็กๆ ในอีกส่วนหนึ่งมาจากการขายภาพถ่ายของ
พี่แองเจลล่าในงาน Nap และขอความร่วมมือจากชุมชนโดยการทาอาหารมาฮอม เมื่อราชภัฎเชียงราย
ทราบข่าวก็ได้ส่งเด็ก 12 คน มาร่วมด้วย” ” [ รศ. ดร.วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์ (สัมภาษณ์) 15 กุมภาพันธ์
2556 ]
รูปที่ 1 อาจารย์อนุกูล ศิริพันธ์ รูปที่ 2 รศ.ดร.วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์
2
โครงการ : การบูรณะวิหารพระเจ้าพันองค์
การบูรณะวิหารพระเจ้าพันองค์ในขั้นนั้นได้ให้ความสาคัญกับกระบวนการด้านการอนุรักษ์อย่าง
มีส่วนร่วมโดยเน้นไปที่การสร้างความเข้าใจของคนในชุมชนต่อกระบวนการบูรณะ และให้ทุกคนมีส่วน
ร่วมในการทางาน และการตัดสินใจ เริ่มจากการได้ข้อสรุปถึงแนวทางการบูรณะในเรื่องการเสริมความ
มั่นคงของอาคาร และรักษารูปแบบเดิมให้มากที่สุดเป็นเป้าหมายหลัก โดยมีกระบวนการดาเนินการ
อนุรักษ์วิหารพระเจ้าพันองค์ แบ่งได้เป็น 5 รูปแบบซึ่งดาเนินไปพร้อมๆกัน
1. การศึกษาประวัติศาสตร์ และคุณค่าของอาคารและพื้นที่โดยรอบ จากเอกสารทางประวัติ
ศาสตร์ และคาบอกเล่าของผู้รู้และคนในชุมชนนาโดย ผศ.ดร.วรลัญกจ์, ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ
(ปัจจุบันดารงตาแหน่งรองคณบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร,ผู้วิจัย), กลุ่มคนตัวเล็กกับ
การอนุรักษ์ เป็นกาลังหลัก และองค์กรสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย 3 แห่งที่เข้ามาช่วย
หนุนเสริมผ่านกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ ได้แก่ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักสูตรนานาชาติสาขาการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว และคณะมัณฑนศิลป์
จากมหาวิยาลัยศิลปากร และมหาวิทาลัยราชภัฎเชียงราย
2. การสร้างความเข้าใจกับคนในชุมชนปงสนุก ในประเด็นของคุณค่าอาคาร และการค้นหา
แนวทางการดาเนินงานอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วม
3. การระดมทุนทรัพย์ และความร่วมมือเพื่อการร่วมกันบูรณะ
4. การผลิตบุคลากรนักอนุรักษ์ ที่เรียนรู้จากกระบวนการทางานอนุรักษ์ ผ่านโครงการและ
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการอนุรักษ์ เช่น โครงการสารวจรังวัดเก็บข้อมูลวิหารพระเจ้า
พันองค์และม่อนดอยวัดปงสนุกเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการอนุรักษ์, โครงการจัดทาหุ่นจาลอง
วิหารพระเจ้าพันองค์และผังบริเวณเพื่อการวางแผนการอนุรักษ์, โครงการจัดทาคอมพิวเตอร์
สามมิติเพื่อการนาเสนอรูปแบบทางสถาปัตยกรรมอาคารวิหารพระเจ้าพันองค์และม่อนดอยแก่
ชุมชนวัดปงสนุก, โครงการจัดทาภาพยนตร์ animation วิหารพระเจ้าพันองค์และผังบริเวณ,
โครงการทาความสะอาดและอนุรักษ์พระพุทธรูปไม้ที่เก็บรักษาไว้ในเรือนยอดวิหารพระเจ้าพัน
องค์(ร่วมกับสานักศิลปากรที่ 4 จังหวัดน่าน,โครงการศึกษาเพื่อการอนุรักษ์พระพุทธรูปไม้ใน
วิหารพระเจ้าพันองค์
5. การบูรณะอาคาร และการรักษาวัตถุโบราณ ที่พบภายในวิหารการวางแนวคิดการบูรณะ
อาคาร อาศัยการอภิปรายกลุ่มร่วมกับชุมชน จนได้เป็นแนวความคิดที่ว่า การดาเนินการบูรณะ
ควรให้ความเคารพคุณค่ากับความจริงแท้ของตัวอาคารให้มากที่สุด ด้วยการคงสภาพอาคาร
เดิมไว้ และเปลี่ยน ชิ้นส่วนที่ชารุดบางแห่งด้วยวัสดุแบบเก่า แต่ทว่าข้อสรุปดังกล่าวก็ไม่ตายตัว
เสมอไป (บุณยกร วชิระเธียรชัย, 2550) ในบางกรณี เช่น รายละเอียดสถาปัตยกรรมบางอย่างที่
ปรากฏบนตัววิหาร ซึ่งศึกษาแล้วพบว่าเป็นรูปแบบศิลปะที่มิใช่รูปแบบล้านนา ประเด็นเช่นนี้
ต้องอาศัยการอภิปรายอย่างลึกซึ้งว่าควรมีการจัดการและดาเนินการอย่างไร เป็นต้น
3
งบประมาณ
สาหรับที่มาของแหล่งทุนการระดมทุนจากผู้คนที่มีความสนใจเรื่องการอนุรักษ์และเห็นคุณค่า
ความสาคัญของวิหารพระเจ้าพันองค์ ซึ่งมีทั้งนักวิชาการ และกลุ่มคนทั่วไป การระดมทุนจากการขาย
ภาพถ่าย (ภาพถ่ายโดย คุณแอนเจล่า ศรีสมวงศ์วัฒนา) และหนังสือภาพวิหารพระเจ้าพันองค์ รวมถึง
ทุนการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยทั้ง 3 แห่ง ที่ช่วยให้นักศึกษาและคณาจารย์สามารถเข้าร่วมการอบรม
เชิงปฏิบัติการ และแหล่งทุนสนับสนุนจากวัดปงสนุก และชุมชนปงสนุก จากการทอดผ้าป่า และการ
ทาบุญร่วมกันในการซ่อมวิหาร
ความสาเร็จของโครงการ
ผลลัพธ์ที่เกิดจาการดาเนินโครงการอนุรักษ์และบูรณะวิหารพระเจ้าพันองค์นอกจากตัววิหารจะ
ได้รับการซ่อมแซม และอนุรักษ์ด้วยวิธีการอันเหมาะสมแล้ว การศึกษาประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม
ของตัววิหารและการตั้งวัด กับชุมชนยังทาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ด้านประวัติศาสตร์ คติพจน์การตั้งวัด
และศิลปะสถาปัตยกรรมล้านนา และถูกต่อยอดจากความร่วมมือของชุมชนทาให้เกิดพิพิธภัณฑ์วัดปง
สนุก เป็นแหล่งเก็บรักษาโบราณวัตถุ และเป็นแหล่งเรียนรู้และสื่อสารการทางานอนุรักษ์ที่เกิดขึ้นใน
พื้นที่ และเกิดกลุ่มบุคลากรที่มีองค์ความรู้ด้านการดาเนินการอนุรักษ์ เช่น คณาจารย์นักศึกษา และ
ชาวบ้าน รวมถึงผลการทางานด้านการอนุรักษ์ของชุมชน และกลุ่มนักวิชาได้รับผลรับรางวัล “Award of
Merit” จากยูเนสโก (UNESCO) ในปี 2550 และส่งผลให้วัดและชุมชนเป็นที่รู้จักในฐานะแหล่งท่องเที่ยว
ประจาจังหวัด และได้รับรางวัลด้านการท่องเที่ยวอย่างรางวัลกินรีในปี 2553
รูปที่ 2 ภาพบรรยากาศการประชุมระหว่างชุมชน นักศึกษา และนักวิชาการ และสภาพกระเบื้องดินขอมุงหลังคาที่อยู่
ภายใต้ปูนซีเมนต์ที่ฉาบทับ (ที่มา: หนังสือ ปงสนุก คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์, เกรียงไกร เกิดศิริ, 2550)
4
รูปที่ 3 ภาพบรรยากาศการทางานของ คณาจารย์ และนักศึกษา
(ที่มา: หนังสือ ปงสนุก คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์, เกรียงไกร เกิดศิริ, 2550)
รูปที่ 4 ภาพวิหารพระเจ้าพันองค์ ก่อนและหลังการบูรณะ
(ที่มา: อ.อนุกูล ศิริพันธ์)
บทวิเคราะห์ : จุดแข็ง
จากการวิเคราะห์ การดาเนินโครงการอนุรักษ์วิหารพระเจ้าพันองค์ และการดาเนินงานอนุรักษ์
งานพุทธศิลป์อย่างต่อเนื่องของคนในชุมชนปงสนุก และเครือข่ายพระสงฆ์ นักวิชาการรุ่นใหม่ รวมถึง
กลุ่มคนตัวเล็กกับการอนุรักษ์ ที่เป็นผู้ริเริ่มการขับเคลื่อนการทางานร่วมกับตัวแทนชุมชนปงสนุกพบว่า
บุคลากรของกลุ่มทางานเกิดจากความร่วมมือของกลุ่มคน 3กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มนักวิชาการ ประกอบด้วย
คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย นักวิชาการ นิสิตนักศึกษาที่มีความสนใจ กลุ่มพระสงฆ์แห่งวัดปงสนุก (ทั้ง
วัดเหนือ และวัดใต้) กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก และเจ้าพนักงานกรมศิลปากรที่เข้าร่วมสังเกตการณ์
บุคลากรทั้ง 4 กลุ่มต่างมีศักยภาพและความรู้ความสามารถที่มีพื้นฐานต้นทุนที่แตกต่างกัน แต่ด้วยการ
มีมโนทัศน์ในเรื่องคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และความผูกพันในฐานะคนท้องถิ่น หรือผู้มีใจรักษ์
วัฒนธรรม รวมไปถึงการใส่ใจในกระบวนการสร้างความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมกับคนในชุมชน จึงทา
ให้งานบูรณะได้รับความร่วมอย่างเข้มแข็ง พร้อมไปกับการสร้างการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางานด้าน
การอนุรักษ์ไปพร้อมๆกันระหว่างนักวิชาการ พระสงฆ์ และชาวบ้าน เช่น คณาจารย์นานิสิตนักศึกษา
เข้าศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์พร้อมกับเป็นกาลังพลในการริเริ่มงานอนุรักษ์ ทางวัดได้ส่งพระสงฆ์เข้า
มาร่วมงาน และชาวบ้านเข้ามาสนับสนุนด้านการทางาน และการอานวยความสะดวก เช่น การ
ตระเตรียมอาหาร น้า และปัจจัยอื่นๆในการสนับสนุนการทางาน
5
จุดแข็งของการทางานโครงการการอนุรักษ์วิหารพระเจ้าพันองค์ และโครงการอนุรักษ์อื่นๆที่เกิด
จากการขยายงาน เช่น การจัดพื้นที่สาหรับจัดแสดงงานพุทธศิลป์ การจัดพื้นที่ห้องชมวีดีทัศน์ ทาให้เกิด
กระบวนทางานต่อเนื่องในกลุ่มพระสงฆ์ และชาวชุมชน อย่างต่อเนื่อง จนพระสงฆ์และตัวแทนชุมชนมี
ความรู้ ความเข้าใจ และมีประสบการณ์สามารถบอกเล่า ความเป็นไปเป็นมาของโครงการ นอกจากนี้วัด
และชุมชนได้รับบทบาทในการดาเนินกิจกรรมด้านการอนุรักษ์และการเผยแพร่องค์ความรู้ดังกล่าวไปสู่
พื้นที่อื่นๆ ภายในจังหวัดลาปาง และตัววัด กับชุมชนปงสนุกกลายเป็นแห่งเรียนรู้ที่ยังคงความเป็นวัด
ศูนย์กลางชุมชน ที่มีถือครององค์ความรู้ด้านการจัดการพิพิธภัณฑ์ การบูรณะอย่างมีส่วนร่วม และ
สามารถลองรับแขกผู้มาเยี่ยมชม ศึกษาดูงาน ได้เป็นอย่างดี
นอกจากการดาเนินโครงการแล้วการที่วัดและชุมชนเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในภายหลังการเสร็จ
สิ้นงานบูรณะยังทาให้วัดและชุมชนสามารถบริหารจัดการงบประมาณ และจัดการระดมทุนจากการ
ทาบุญ (แหล่งทุนภายในชุมชน) เองเป็นหลัก และได้รับสมทบจากกลุ่มผู้สนใจและชื่นชมงานอนุรักษ์ที่วัด
ปงสนุก โดยเฉพาะเครือข่ายวิชาการ รวมถึงการได้รับรางวัลเชิดชูกระบวนการอนุรักษ์รางวัล Award of
Merit ด้านการอนุรักษ์มรดกทางด้านวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ตามโครงการ 2008 Asia-
Pacific Heritage Award for Cultural Heritage Conservation จากองค์การ UNESCO ในปีพ.ศ. 2550
และได้รับการคัดเลือกเป็นชุมชนต้นแบบฯ(1 ใน 5 ชุมชนทั่วประเทศ) ที่ ได้รับรางวัลอุตสาหกรรม
ท่องเที่ยวไทย(กินรี) ในปี2553
การได้รับรางวัลระดับนานาชาติ และรางวัลระดับประเทศ เป็นเครื่องพิสูจน์ว่ากระบวนการ
ทางานของชาวปงสนุก และคนตัวเล็กกับการอนุรักษ์คือบ่อเกิดของแรงกระเพื่อมสาคัญที่ช่วยทาให้
กระแสการทางานเพื่อการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม และฟื้นฟูชุมชนของเมืองลาปาง เริ่มเกิดขึ้นและ
กระจายไปสู่วัด และชุมชนอื่นๆในจังหวัดลาปาง นอกจากนี้ความสาเร็จดังกล่าวยังเป็นปัจจัยดึงดูดให้
เกิดการพัฒนาด้านกายภาพ เช่น การจัดทาถนนแบบปูตัวหนอน ป้ายสื่อความหมาย และโครงการ
กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ที่ทยอยเข้ามาสู่วัดและชุมชนอย่างไม่ขาดสาย นอกจากนี้วัดและชุมชนได้เพิ่ม
บทบาทใหม่เช่นการเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญของจังหวัดและนักท่องเที่ยวต้องมาเยี่ยมชม จุดเปราะ
ปางของการดาเนินงานพัฒนาเมืองในพื้นที่ชุมชนปงสนุกอยู่ที่การสืบทอดคุณค่าและองค์ความรู้ที่คนรุ่น
ปัจจุบันได้เรียนรู้ และสั่งสมมา คือด้วยความที่ชุมชนปงสนุกเป็นชุมชนเมือง การสืบถอดองค์ความรู้
ดังกล่าวผูกโยงกับวัดวา และศรัทธา ซึ่งในประเด็นนี้อาจมองได้ใน 2 แง่มุม แง่มุมแรกคือการยึดโยงด้วย
ศรัทธา ความเชื่อในศาสนา แต่ด้วยความเป็นจริงคือมีคนรุ่นใหม่หลงเหลืออยู่ในชุมชนไม่มาก ส่วนใหญ่
มักออกไปทางานที่เชียงใหม่ หรือกรุงเทพ จึงอาจไม่สามารถสืบทอดคุณค่า และรูปแบบการพัฒนา
ชุมชน และเมืองของตนโดยอาศัยเครื่องมือการอนุรักษ์ และความเชื่อทางศาสนาได้ดีเท่าคนรุ่นก่อน ใน
อีกแง่มุมอาจมองได้ว่า สิ่งที่จะปรากฏในอนาคตไม่ว่าจะเป็นภาพของการสูญสลาย หรือการกลับมาเฟื่อง
ฟูสืบทอด ล้วนเป็นกระบวนการโดยธรรมชาติของสรรพสิ่ง ซึ่งในเรื่องนี้ตัวแทนของชุมชนในปัจจุบัน
หลายคนต่างพูดถึง และเห็นพ้องไปในทางเดียวกัน
6

More Related Content

Viewers also liked

La psicología y la psicoterapia cognitiva post racionalista- aspectos teóric...
 La psicología y la psicoterapia cognitiva post racionalista- aspectos teóric... La psicología y la psicoterapia cognitiva post racionalista- aspectos teóric...
La psicología y la psicoterapia cognitiva post racionalista- aspectos teóric...Carolina Lorena Letelier Rodriguez
 
Alcohol abuse in america
Alcohol abuse in america Alcohol abuse in america
Alcohol abuse in america addicts1800
 
Procedimientos diagnosticos
Procedimientos diagnosticosProcedimientos diagnosticos
Procedimientos diagnosticosGaston Garcia HD
 
E L R E I N A D O D E F E L I P E I I I , H E N A R 2º B
E L  R E I N A D O  D E  F E L I P E  I I I ,  H E N A R 2º BE L  R E I N A D O  D E  F E L I P E  I I I ,  H E N A R 2º B
E L R E I N A D O D E F E L I P E I I I , H E N A R 2º BDiego Sobrino López
 
Primera Charla
Primera  CharlaPrimera  Charla
Primera Charlakikodavila
 
Presentacion informatica
Presentacion informaticaPresentacion informatica
Presentacion informaticamiguelpf20000
 

Viewers also liked (9)

La psicología y la psicoterapia cognitiva post racionalista- aspectos teóric...
 La psicología y la psicoterapia cognitiva post racionalista- aspectos teóric... La psicología y la psicoterapia cognitiva post racionalista- aspectos teóric...
La psicología y la psicoterapia cognitiva post racionalista- aspectos teóric...
 
Alcohol abuse in america
Alcohol abuse in america Alcohol abuse in america
Alcohol abuse in america
 
Farmer Lv (TrueTran)
Farmer Lv (TrueTran)Farmer Lv (TrueTran)
Farmer Lv (TrueTran)
 
Procedimientos diagnosticos
Procedimientos diagnosticosProcedimientos diagnosticos
Procedimientos diagnosticos
 
E L R E I N A D O D E F E L I P E I I I , H E N A R 2º B
E L  R E I N A D O  D E  F E L I P E  I I I ,  H E N A R 2º BE L  R E I N A D O  D E  F E L I P E  I I I ,  H E N A R 2º B
E L R E I N A D O D E F E L I P E I I I , H E N A R 2º B
 
H2O
H2OH2O
H2O
 
Primera Charla
Primera  CharlaPrimera  Charla
Primera Charla
 
Presentacion informatica
Presentacion informaticaPresentacion informatica
Presentacion informatica
 
Grupo 6
Grupo 6Grupo 6
Grupo 6
 

Similar to กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก

รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...Ramnarong Nilgumheang
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาFURD_RSU
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdfโครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdflouiskuplouiskup
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cake WhiteChocolate
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templateMai Lovelove
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
อยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกอยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกTaraya Srivilas
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.PptMate Soul-All
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)ฉัตรกุล ชื่นสุวรรณกุล
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)chatkul chuensuwankul
 

Similar to กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก (20)

รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
 
Museum Forum | Museum without walls 2016
Museum Forum | Museum without walls 2016Museum Forum | Museum without walls 2016
Museum Forum | Museum without walls 2016
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdfโครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
โครงานสิมศรีสะเกษ.pdf
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
เต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบเต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-template
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
 
อยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกอยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลก
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก

  • 2. 1 กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก ในบริบทของความเป็นเมืองเก่าที่มีรากฐานทางวัฒนธรรมมากว่า 1,300 ปี และบทบาทของ เมืองที่เคยเป็นศูนย์กลางของความเจริญและธุรกิจการค้าที่มีมาแต่เดิม ทาให้เรื่องราวของความ เคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในการพัฒนาจึงมุ่งตรงไปที่ประเด็น การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม และ การฟื้นฟูย่านเก่าเป็นสาคัญ ความเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมที่เด่นชัด และเป็นพัฒนาการการ ขับเคลื่อนงานพัฒนาที่เป็นรูปเป็นร่าง สมควรได้รับยกย่องเป็นตัวต้นแบบการทางานของพื้นที่ ได้แก่ 1) งานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของ “กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก” งานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก : จุดเริ่มต้น จุดเริ่มต้นของการอนุรักษ์และบูรณะวิหารพระเจ้าพันองค์ที่วัดปงสนุก เริ่มมาจากความต้องการ ของตัวแทนชาวปงสนุก กล่าวคือ เมื่อประมาณปลายปี พ.ศ.2547 อาจารย์ อนุกูล ศิริพันธ์ (รูปที่ 1) ประธานชุมชนปงสนุก (ปี2550) (และลูกศิษย์ของ รศ. ดร.วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์, ผู้วิจัย) ได้ขอความ ช่วยเหลือจาก รศ.ดร.วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์ (ปัจจุบันดารงตาแหน่งคณบดีคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,ผู้วิจัย) (รูปที่ 2) ให้ช่วยให้คาแนะนาการบูรณะวิหารพระเจ้าพันองค์ ซึ่งในเวลา นั้นพบว่าสภาพทางกายภาพของวิหารทรุดโทรมอย่างมาก หากปล่อยทิ้งไปคงจะต้องสูญเสีย สถาปัตยกรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของประเทศไปในที่สุด” ( วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์,2550) “การทางานเริ่มจาก ช่วงที่มีเกิดปัญหาการบูรณะวัดเจดีย์หลวง ทางอาจารย์เกรียงไกร (อาจารย์เกรียงไร เกิดศิริ อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร)ได้เชิญอาจารย์ไปพูดในหัวข้อเรื่อง "สถานการณ์การอนุรักษ์ ในภาคเหนือ" ที่ศิลปากร หนึ่งในผู้ที่มาร่วมฟังคือคุณภารณี สวัสดิวัฒน์ ของอีคอมโมส และต่อมาก็ได้มา เป็นผู้สนับสนุนเรา เริ่มมีเด็กสนใจและมาลงชื่อเข้าร่วม จึงได้ทาหนังสือขอสมาคมศิษย์เก่าสถาปัตย์ ศิลปากร ขอร่วมสนับสนุนค่าเดินทางรถไฟชั้น 3 ของเด็กๆ ในอีกส่วนหนึ่งมาจากการขายภาพถ่ายของ พี่แองเจลล่าในงาน Nap และขอความร่วมมือจากชุมชนโดยการทาอาหารมาฮอม เมื่อราชภัฎเชียงราย ทราบข่าวก็ได้ส่งเด็ก 12 คน มาร่วมด้วย” ” [ รศ. ดร.วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์ (สัมภาษณ์) 15 กุมภาพันธ์ 2556 ] รูปที่ 1 อาจารย์อนุกูล ศิริพันธ์ รูปที่ 2 รศ.ดร.วรลัญจก์ บุญยสุรัตน์
  • 3. 2 โครงการ : การบูรณะวิหารพระเจ้าพันองค์ การบูรณะวิหารพระเจ้าพันองค์ในขั้นนั้นได้ให้ความสาคัญกับกระบวนการด้านการอนุรักษ์อย่าง มีส่วนร่วมโดยเน้นไปที่การสร้างความเข้าใจของคนในชุมชนต่อกระบวนการบูรณะ และให้ทุกคนมีส่วน ร่วมในการทางาน และการตัดสินใจ เริ่มจากการได้ข้อสรุปถึงแนวทางการบูรณะในเรื่องการเสริมความ มั่นคงของอาคาร และรักษารูปแบบเดิมให้มากที่สุดเป็นเป้าหมายหลัก โดยมีกระบวนการดาเนินการ อนุรักษ์วิหารพระเจ้าพันองค์ แบ่งได้เป็น 5 รูปแบบซึ่งดาเนินไปพร้อมๆกัน 1. การศึกษาประวัติศาสตร์ และคุณค่าของอาคารและพื้นที่โดยรอบ จากเอกสารทางประวัติ ศาสตร์ และคาบอกเล่าของผู้รู้และคนในชุมชนนาโดย ผศ.ดร.วรลัญกจ์, ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ (ปัจจุบันดารงตาแหน่งรองคณบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร,ผู้วิจัย), กลุ่มคนตัวเล็กกับ การอนุรักษ์ เป็นกาลังหลัก และองค์กรสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย 3 แห่งที่เข้ามาช่วย หนุนเสริมผ่านกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ ได้แก่ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลักสูตรนานาชาติสาขาการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว และคณะมัณฑนศิลป์ จากมหาวิยาลัยศิลปากร และมหาวิทาลัยราชภัฎเชียงราย 2. การสร้างความเข้าใจกับคนในชุมชนปงสนุก ในประเด็นของคุณค่าอาคาร และการค้นหา แนวทางการดาเนินงานอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วม 3. การระดมทุนทรัพย์ และความร่วมมือเพื่อการร่วมกันบูรณะ 4. การผลิตบุคลากรนักอนุรักษ์ ที่เรียนรู้จากกระบวนการทางานอนุรักษ์ ผ่านโครงการและ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการอนุรักษ์ เช่น โครงการสารวจรังวัดเก็บข้อมูลวิหารพระเจ้า พันองค์และม่อนดอยวัดปงสนุกเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการอนุรักษ์, โครงการจัดทาหุ่นจาลอง วิหารพระเจ้าพันองค์และผังบริเวณเพื่อการวางแผนการอนุรักษ์, โครงการจัดทาคอมพิวเตอร์ สามมิติเพื่อการนาเสนอรูปแบบทางสถาปัตยกรรมอาคารวิหารพระเจ้าพันองค์และม่อนดอยแก่ ชุมชนวัดปงสนุก, โครงการจัดทาภาพยนตร์ animation วิหารพระเจ้าพันองค์และผังบริเวณ, โครงการทาความสะอาดและอนุรักษ์พระพุทธรูปไม้ที่เก็บรักษาไว้ในเรือนยอดวิหารพระเจ้าพัน องค์(ร่วมกับสานักศิลปากรที่ 4 จังหวัดน่าน,โครงการศึกษาเพื่อการอนุรักษ์พระพุทธรูปไม้ใน วิหารพระเจ้าพันองค์ 5. การบูรณะอาคาร และการรักษาวัตถุโบราณ ที่พบภายในวิหารการวางแนวคิดการบูรณะ อาคาร อาศัยการอภิปรายกลุ่มร่วมกับชุมชน จนได้เป็นแนวความคิดที่ว่า การดาเนินการบูรณะ ควรให้ความเคารพคุณค่ากับความจริงแท้ของตัวอาคารให้มากที่สุด ด้วยการคงสภาพอาคาร เดิมไว้ และเปลี่ยน ชิ้นส่วนที่ชารุดบางแห่งด้วยวัสดุแบบเก่า แต่ทว่าข้อสรุปดังกล่าวก็ไม่ตายตัว เสมอไป (บุณยกร วชิระเธียรชัย, 2550) ในบางกรณี เช่น รายละเอียดสถาปัตยกรรมบางอย่างที่ ปรากฏบนตัววิหาร ซึ่งศึกษาแล้วพบว่าเป็นรูปแบบศิลปะที่มิใช่รูปแบบล้านนา ประเด็นเช่นนี้ ต้องอาศัยการอภิปรายอย่างลึกซึ้งว่าควรมีการจัดการและดาเนินการอย่างไร เป็นต้น
  • 4. 3 งบประมาณ สาหรับที่มาของแหล่งทุนการระดมทุนจากผู้คนที่มีความสนใจเรื่องการอนุรักษ์และเห็นคุณค่า ความสาคัญของวิหารพระเจ้าพันองค์ ซึ่งมีทั้งนักวิชาการ และกลุ่มคนทั่วไป การระดมทุนจากการขาย ภาพถ่าย (ภาพถ่ายโดย คุณแอนเจล่า ศรีสมวงศ์วัฒนา) และหนังสือภาพวิหารพระเจ้าพันองค์ รวมถึง ทุนการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยทั้ง 3 แห่ง ที่ช่วยให้นักศึกษาและคณาจารย์สามารถเข้าร่วมการอบรม เชิงปฏิบัติการ และแหล่งทุนสนับสนุนจากวัดปงสนุก และชุมชนปงสนุก จากการทอดผ้าป่า และการ ทาบุญร่วมกันในการซ่อมวิหาร ความสาเร็จของโครงการ ผลลัพธ์ที่เกิดจาการดาเนินโครงการอนุรักษ์และบูรณะวิหารพระเจ้าพันองค์นอกจากตัววิหารจะ ได้รับการซ่อมแซม และอนุรักษ์ด้วยวิธีการอันเหมาะสมแล้ว การศึกษาประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม ของตัววิหารและการตั้งวัด กับชุมชนยังทาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ด้านประวัติศาสตร์ คติพจน์การตั้งวัด และศิลปะสถาปัตยกรรมล้านนา และถูกต่อยอดจากความร่วมมือของชุมชนทาให้เกิดพิพิธภัณฑ์วัดปง สนุก เป็นแหล่งเก็บรักษาโบราณวัตถุ และเป็นแหล่งเรียนรู้และสื่อสารการทางานอนุรักษ์ที่เกิดขึ้นใน พื้นที่ และเกิดกลุ่มบุคลากรที่มีองค์ความรู้ด้านการดาเนินการอนุรักษ์ เช่น คณาจารย์นักศึกษา และ ชาวบ้าน รวมถึงผลการทางานด้านการอนุรักษ์ของชุมชน และกลุ่มนักวิชาได้รับผลรับรางวัล “Award of Merit” จากยูเนสโก (UNESCO) ในปี 2550 และส่งผลให้วัดและชุมชนเป็นที่รู้จักในฐานะแหล่งท่องเที่ยว ประจาจังหวัด และได้รับรางวัลด้านการท่องเที่ยวอย่างรางวัลกินรีในปี 2553 รูปที่ 2 ภาพบรรยากาศการประชุมระหว่างชุมชน นักศึกษา และนักวิชาการ และสภาพกระเบื้องดินขอมุงหลังคาที่อยู่ ภายใต้ปูนซีเมนต์ที่ฉาบทับ (ที่มา: หนังสือ ปงสนุก คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์, เกรียงไกร เกิดศิริ, 2550)
  • 5. 4 รูปที่ 3 ภาพบรรยากาศการทางานของ คณาจารย์ และนักศึกษา (ที่มา: หนังสือ ปงสนุก คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์, เกรียงไกร เกิดศิริ, 2550) รูปที่ 4 ภาพวิหารพระเจ้าพันองค์ ก่อนและหลังการบูรณะ (ที่มา: อ.อนุกูล ศิริพันธ์) บทวิเคราะห์ : จุดแข็ง จากการวิเคราะห์ การดาเนินโครงการอนุรักษ์วิหารพระเจ้าพันองค์ และการดาเนินงานอนุรักษ์ งานพุทธศิลป์อย่างต่อเนื่องของคนในชุมชนปงสนุก และเครือข่ายพระสงฆ์ นักวิชาการรุ่นใหม่ รวมถึง กลุ่มคนตัวเล็กกับการอนุรักษ์ ที่เป็นผู้ริเริ่มการขับเคลื่อนการทางานร่วมกับตัวแทนชุมชนปงสนุกพบว่า บุคลากรของกลุ่มทางานเกิดจากความร่วมมือของกลุ่มคน 3กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มนักวิชาการ ประกอบด้วย คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย นักวิชาการ นิสิตนักศึกษาที่มีความสนใจ กลุ่มพระสงฆ์แห่งวัดปงสนุก (ทั้ง วัดเหนือ และวัดใต้) กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก และเจ้าพนักงานกรมศิลปากรที่เข้าร่วมสังเกตการณ์ บุคลากรทั้ง 4 กลุ่มต่างมีศักยภาพและความรู้ความสามารถที่มีพื้นฐานต้นทุนที่แตกต่างกัน แต่ด้วยการ มีมโนทัศน์ในเรื่องคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และความผูกพันในฐานะคนท้องถิ่น หรือผู้มีใจรักษ์ วัฒนธรรม รวมไปถึงการใส่ใจในกระบวนการสร้างความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมกับคนในชุมชน จึงทา ให้งานบูรณะได้รับความร่วมอย่างเข้มแข็ง พร้อมไปกับการสร้างการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางานด้าน การอนุรักษ์ไปพร้อมๆกันระหว่างนักวิชาการ พระสงฆ์ และชาวบ้าน เช่น คณาจารย์นานิสิตนักศึกษา เข้าศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์พร้อมกับเป็นกาลังพลในการริเริ่มงานอนุรักษ์ ทางวัดได้ส่งพระสงฆ์เข้า มาร่วมงาน และชาวบ้านเข้ามาสนับสนุนด้านการทางาน และการอานวยความสะดวก เช่น การ ตระเตรียมอาหาร น้า และปัจจัยอื่นๆในการสนับสนุนการทางาน
  • 6. 5 จุดแข็งของการทางานโครงการการอนุรักษ์วิหารพระเจ้าพันองค์ และโครงการอนุรักษ์อื่นๆที่เกิด จากการขยายงาน เช่น การจัดพื้นที่สาหรับจัดแสดงงานพุทธศิลป์ การจัดพื้นที่ห้องชมวีดีทัศน์ ทาให้เกิด กระบวนทางานต่อเนื่องในกลุ่มพระสงฆ์ และชาวชุมชน อย่างต่อเนื่อง จนพระสงฆ์และตัวแทนชุมชนมี ความรู้ ความเข้าใจ และมีประสบการณ์สามารถบอกเล่า ความเป็นไปเป็นมาของโครงการ นอกจากนี้วัด และชุมชนได้รับบทบาทในการดาเนินกิจกรรมด้านการอนุรักษ์และการเผยแพร่องค์ความรู้ดังกล่าวไปสู่ พื้นที่อื่นๆ ภายในจังหวัดลาปาง และตัววัด กับชุมชนปงสนุกกลายเป็นแห่งเรียนรู้ที่ยังคงความเป็นวัด ศูนย์กลางชุมชน ที่มีถือครององค์ความรู้ด้านการจัดการพิพิธภัณฑ์ การบูรณะอย่างมีส่วนร่วม และ สามารถลองรับแขกผู้มาเยี่ยมชม ศึกษาดูงาน ได้เป็นอย่างดี นอกจากการดาเนินโครงการแล้วการที่วัดและชุมชนเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในภายหลังการเสร็จ สิ้นงานบูรณะยังทาให้วัดและชุมชนสามารถบริหารจัดการงบประมาณ และจัดการระดมทุนจากการ ทาบุญ (แหล่งทุนภายในชุมชน) เองเป็นหลัก และได้รับสมทบจากกลุ่มผู้สนใจและชื่นชมงานอนุรักษ์ที่วัด ปงสนุก โดยเฉพาะเครือข่ายวิชาการ รวมถึงการได้รับรางวัลเชิดชูกระบวนการอนุรักษ์รางวัล Award of Merit ด้านการอนุรักษ์มรดกทางด้านวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ตามโครงการ 2008 Asia- Pacific Heritage Award for Cultural Heritage Conservation จากองค์การ UNESCO ในปีพ.ศ. 2550 และได้รับการคัดเลือกเป็นชุมชนต้นแบบฯ(1 ใน 5 ชุมชนทั่วประเทศ) ที่ ได้รับรางวัลอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวไทย(กินรี) ในปี2553 การได้รับรางวัลระดับนานาชาติ และรางวัลระดับประเทศ เป็นเครื่องพิสูจน์ว่ากระบวนการ ทางานของชาวปงสนุก และคนตัวเล็กกับการอนุรักษ์คือบ่อเกิดของแรงกระเพื่อมสาคัญที่ช่วยทาให้ กระแสการทางานเพื่อการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม และฟื้นฟูชุมชนของเมืองลาปาง เริ่มเกิดขึ้นและ กระจายไปสู่วัด และชุมชนอื่นๆในจังหวัดลาปาง นอกจากนี้ความสาเร็จดังกล่าวยังเป็นปัจจัยดึงดูดให้ เกิดการพัฒนาด้านกายภาพ เช่น การจัดทาถนนแบบปูตัวหนอน ป้ายสื่อความหมาย และโครงการ กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ที่ทยอยเข้ามาสู่วัดและชุมชนอย่างไม่ขาดสาย นอกจากนี้วัดและชุมชนได้เพิ่ม บทบาทใหม่เช่นการเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญของจังหวัดและนักท่องเที่ยวต้องมาเยี่ยมชม จุดเปราะ ปางของการดาเนินงานพัฒนาเมืองในพื้นที่ชุมชนปงสนุกอยู่ที่การสืบทอดคุณค่าและองค์ความรู้ที่คนรุ่น ปัจจุบันได้เรียนรู้ และสั่งสมมา คือด้วยความที่ชุมชนปงสนุกเป็นชุมชนเมือง การสืบถอดองค์ความรู้ ดังกล่าวผูกโยงกับวัดวา และศรัทธา ซึ่งในประเด็นนี้อาจมองได้ใน 2 แง่มุม แง่มุมแรกคือการยึดโยงด้วย ศรัทธา ความเชื่อในศาสนา แต่ด้วยความเป็นจริงคือมีคนรุ่นใหม่หลงเหลืออยู่ในชุมชนไม่มาก ส่วนใหญ่ มักออกไปทางานที่เชียงใหม่ หรือกรุงเทพ จึงอาจไม่สามารถสืบทอดคุณค่า และรูปแบบการพัฒนา ชุมชน และเมืองของตนโดยอาศัยเครื่องมือการอนุรักษ์ และความเชื่อทางศาสนาได้ดีเท่าคนรุ่นก่อน ใน อีกแง่มุมอาจมองได้ว่า สิ่งที่จะปรากฏในอนาคตไม่ว่าจะเป็นภาพของการสูญสลาย หรือการกลับมาเฟื่อง ฟูสืบทอด ล้วนเป็นกระบวนการโดยธรรมชาติของสรรพสิ่ง ซึ่งในเรื่องนี้ตัวแทนของชุมชนในปัจจุบัน หลายคนต่างพูดถึง และเห็นพ้องไปในทางเดียวกัน
  • 7. 6