SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป มีฐานะเป็น ทวีป ทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ใน
ทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็น อนุทวีป ที่อยู่ทางด้านตะวันตกของ มหาทวีปยู
เรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับ มหาสมุทรอาร์กติก ทาง
ตะวันตกติดกับ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับ ทะเล
เมดิเตอร์เรเนียน และ ทะเลดำา ด้านตะวันออกติดกับ เทือกเขายูรัล และ
ทะเลแคสเปียน
ทวีปยุโรปมี พื้นที่ 10,600,000 ตร.กม. เล็กที่สุดเป็นอันดับสองรอง
จากทวีปออสเตรเลีย แต่มีจำานวนประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 3 รอง
จากทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา ปี พ.ศ. 2546 ยุโรปมีประชากรราว
799,566,000 คน หรือประมาณ 1 ใน 8 ของประชากรโลก
1
ทวีปยุโรป มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์
ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทาง
เหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติกทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกทางใต้ติดกับ
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำา ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเล
แคสเปียน[1]
ทวีปยุโรปมีพื้นที่ 10,600,000 ตร.กม. เล็กที่สุดเป็นอันดับสองรองจากทวีป
ออสเตรเลีย แต่มีจำานวนประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 3 รองจากทวีปเอเชียและทวีป
แอฟริกา ปี พ.ศ. 2546 ยุโรปมีประชากรราว 799,566,000 คน หรือประมาณ 1
ใน 8 ของประชากรโลก
2
ยุโรปตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือค่อนไปทางขั้วโลกเหนือ ระหว่างประมาณละติจูด 36-71
องศาเหนือ กับลองจิจูด 9 องศาตะวันตก ถึง 66 องศาตะวันออก มีพื้นที่ประมาณ 10
ล้านตารางกิโลเมตร โดยมีประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ รัสเซีย
ลักษณะภูมิประเทศ
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศที่สำาคัญของทวีปยุโรป ได้แก่ ทางตะวันตกของฝรั่งเศส ทางตะวัน
ออกของเกาะอังกฤษ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ และเดนมาร์ก
เขตที่ราบสูง ได้แก่ ที่ราบที่อยู่ระหว่างที่ราบกับเขตเทือกเขา ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ทางตอน
กลางของทวีป มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 25 ของทวีปยุโรป ได้แก่ บริเวณภาคตะวัน
ออกของประเทศฝรั่งเศสภาคใต้ของเยอรมนีและโปแลนด์
เขตเทือกเขาแบ่งออกเป็น 2 เขตใหญ่ ๆ คือ
เทือกเขาภาคเหนือ เป็นแนวเทือกเขาที่วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือกับตะวัน
ออกเฉียงใต้ ได้แก่ เทือกเขาแถบคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในสกอตแลนด์ เวลส์และ
เกาะไอซ์แลนด์ ซึ่งมีขนาดเตี้ยและเกิดขึ้นมานานแล้ว
เทือกเขาภาคใต้ เป็นแนวเทือกเขาที่วางตัวในแนวตะวันออกกับตะวันตก ซึ่งเทือกเขา
นี้มีขนาดสูงและยังเป็นเขตที่เปลือกโลกยังไม่สงบดี จึงเกิดแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟ
ระเบิดอยู่บ่อย ๆ
ลักษณะทางกายภาพ
1. ด้านธรณีวิทยา
1.1 ยุโรปเป็นทวีปที่อยู่ในเขตหินเก่าทางเหนือ ได้แก่ เขตหินเก่าบอลติก คือ
ส่วนที่เป็นคาบสมุทรสแกนดิเนเวียทั้งหมด
1.2 ส่วนหนึ่งของแผ่นดินยุโรป เคยเป็นแผ่นดินเดียวกับทวีปอเมริกาเหนือ
เอเชีย และเกาะกรีนแลนด์
1.3 ทวีปยุโรปมีโครงสร้างของหินซับซ้อนสูงชัน ซึ่งเป็นเขตเทือกเขาใหม่อยู่
ทางตอนใต้ของทวีป มีแนวเทือกเขาวางตัวเป็นแนวยาว เป็น แนวตะวันออก -
ตะวันตก เทือกเขาที่สำาคัญคือ เทือกเขาแอลป์
2. ลักษณะภูมิประเทศ
2.1 ทางเหนือ และตะวันตกเฉียงเหนือของทวีป เป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึก
กร่อนมานาน และเคยถูกปกคลุมด้วยธารนำ้าแข็งภาคพื้นทวีปมาตั้งแต่ยุคนำ้าแข็ง
3
เช่น มีฟยอร์ด มีหนองบึง และทะเลสาบในบริเวณที่ราบ มีที่ราบชายฝั่งที่เกิดจาก
การทิ้งตะกอนของธารนำ้าแข็ง
2.2 แถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและทะเลบอลติก เป็นที่ราบต่อเนื่อง
ขนาดใหญ่ของทวีปยุโรป เกิดจากการทับถมของตะกอน แม่นำ้าสายสำาคัญๆ คือ แม่
นำ้าลัวร์ ไรน์ เซน เวเซอร์ เอลเบ โดเดอร์ วิสตูลา ที่ไหลมาจากตอนกลางของ
ทวีป ที่ราบแถบนี้ สมัยยุคนำ้าแข็งสิ้นสุดลงได้ทิ้งตะกอนละเอียดไว้เป้นที่ราบที่อุดม
สมบูรณ์แห่งหนึ่งของทวีป
2.3 ตอนกลางของทวีปค่อนลงมาทางใต้ เป็นเขตเทือกเขาสูง ที่สำาคัญคือ
เทือกเขาแอลป์ คาร์เปเธียน แอปเพนไนน์ คอเคซัส ซึ่งบริเวณนี้เป็นแหล่งต้นนำ้า
ของทวีปยุโรป และแม่นำ้าหลายสาย
2.4 ทางตอนใต้ของทวีปยุโรป ประกอบไปด้วยคาบสมุทรใหญ่ 3
คาบสมุทร คือ คาบสมุทรไอบีเรียน อิตาลี และบอลข่าน แต่ละคาบสมุทรยื่นลำ้าลง
ไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทำาให้เกิดทะเลและอ่าว ได้แก่ ทะเลติร์เรเนียน
(เมดิเตอร์เรเนียน) ทะเลเอเดรียติก ทะเลไอโอเนียน ทะเลอีเจียน ฯลฯ
2.5 ทางตอนเหนือของทวีป มี ทะเลนอร์วิเจียน ทะเลแบเรนต์ส ส่วนทะเลที่
อยู่ระหว่างคาบสมุทสแกนติเนเวียและคาบสมุทร จัตแลนต์ คือ ทะเลบอลติกกับ
ทะเลเหนือ
ภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป:
ยุโรปเหนือ
ยุโรปตะวันตก
ยุโรปตะวันออก
ยุโรปใต้
ทวีปยุโรป แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่
4
ทวีปยุโรป แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาคใหญ่ ๆ และ 2 รัฐอิสระ คือ
1. ยุโรปเหนือ ได้แก่ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์
นอร์เวย์ สวีเดน เอสโทเนีย แลตเวีย และ ลิธัวเนีย
2. ยุโรปตะวันตก ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี ลิกเตนส
ไตน์ ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร
3. ยุโรปตะวันออก ได้แก่ เบลารุส บัลแกเรีย สาธารณรัฐเช็ก ฮังการี
มอลโดวา โปแลนด์ โรมาเนีย สหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐสโลวัก และ
ยูเครน
5
4. ยุโรปใต้ ได้แก่ แอลเบเนีย อันเดอร์รา บอสเนีย-เฮอร์เซโกวินา
โครเอเชีย กรีซ อิตาลี แมซิโดเนีย มอลตา โปรตุเกส ซานมารีโน สโลวี
เนีย สเปน และ ยูโกสลาเวีย
ดินแดนที่เป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ในประเทศอื่นอีก 2 รัฐ คือ นครรัฐวาติ
กา ตั้งอยู่ในกรุงโรมประเทศอิตาลี และ โมนาโก ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่ง
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในประเทศฝรั่งเศสใกล้พรมแดนอิตาลี)
ลักษณะภูมิประเทศที่สำาคัญของทวีปยุโรป ได้แก่ ทางตะวันตกของ
ฝรั่งเศส ทางตะวันออกของ เกาะอังกฤษ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์
และ เดนมาร์ก
เขตที่ราบสูง ได้แก่ ที่ราบที่อยู่ระหว่างที่ราบกับเขตเทือกเขา ซึ่งส่วน
ใหญ่อยู่ทางตอนกลางของทวีป มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 25 ของทวีปยุโรป
ได้แก่ บริเวณภาคตะวันออกของ ประเทศฝรั่งเศส ภาคใต้ของ เยอรมนี
6
และ โปแลนด์
เขตเทือกเขา แบ่งออกเป็น 2 เขตใหญ่ ๆ คือ
• เทือกเขาภาคเหนือ เป็นแนวเทือกเขาที่วางตัวในแนวตะวันออกเฉียง
เหนือกับตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ เทือกเขาแถบ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย
ใน สกอตแลนด์ เวลส์ และเกาะ ไอซ์แลนด์ ซึ่งมีขนาดเตี้ยและเกิด
ขึ้นมานานแล้ว
7
• เทือกเขาภาคใต้ เป็นแนวเทือกเขาที่วางตัวในแนวตะวันออกกับตะวัน
ตก ซึ่งเทือกเขานี้มีขนาดสูงและยังเป็นเขตที่เปลือกโลกยังไม่สงบดี จึง
เกิดแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิดอยู่บ่อย ๆ
เพิ่มเติมเขตลักษณะภูมิประเทศต่างๆ ดังนี้
1. เขตหินเก่าทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ
ประกอบด้วยเทือกเขาที่มีอายุเก่าแก่ซึ่งถูกธารนำ้าแข็งกัดเซาะจนสึก
กร่อน และพังทลายจนกลายเป็นที่ราบสูง ทำาให้มี ชายฝั่งทะเลเว้าแหว่ง
มาก เรียกว่า ฟยอร์ด ( Fjord ) เทือกเขาหินเก่าที่สำาคัญ คือ
1.1 เทือกเขาเชอเลน ในคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย
1.2 เทือกเขาแกรมเบรียน ในสกอตแลนด์
8
2. เขตที่ราบใหญ่ภาคกลาง
เป็นเขตที่ราบใหญ่ที่สุดของทวีปยุโรปมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น
มากที่สุด ได้แก่ที่ราบด้านตะวันตกของประเทศฝรั่งเศส เบลเยียม
เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก ที่ราบภาคเหนือของเยอรมนี โปแลนด์ ที่ราบ
บริเวณตอนใต้ของสหราชอาณาจักร
เป็นเขตที่มีความสำาคัญมากทางด้านเศรษฐกิจมีดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่
การเพาะปลูก มีแม่นำ้าสำาคัญไหลผ่านหลายสายได้แก่ แม่นำ้าลัวร์ แม่นำ้า
เซน แม่นำ้าไรน์ แม่นำ้าเอลเบ
บริเวณแม่นำ้ารูห์ในเขตประเทศเยอรมนีเป็นแหล่งถ่านหินที่สำาคัญ
ของยุโรป ที่ราบริมทะเลบอลติกในประเทศนอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์
ประกอบด้วย หินเปลือกโลกที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด เรียกว่า บอลติกชิลด์
( Baltic Shield )
3. เขตที่ราบสูงภาคกลาง
เป็นที่ราบสูงและเนินเขาเตี้ยๆ เกิดจากการ สึกกร่อนพังทลาย ได้แก่
3.1 เมเซตา ( Mezeta) ที่ราบสูงในภาคกลางของคาบสมุทรไอบีเรีย
3.2 มาซีฟ ซองตราล( Massif Central) ที่ราบสูงตอนกลางของประเทศ
ฝรั่งเศส
3.3 ป่าดำา (Black Forest) ที่ราบสูงตอนกลาง และภาคใต้ของประเทศ
เยอรมนี
3.4 โบฮีเมีย (Bohemia) ที่ราบสูงระหว่างพรมแดนประเทศเยอรมนี
สาธารณรัฐ เช็กและสาธารณรัฐสโลวัก
3.5 อาร์เดน (Ardennes)ที่ราบสูงในประเทศเบลเยียมและลักเซมเบิร์ก
3.6 บาวาเรีย (Bavaria)ที่ราบสูงในประเทศเ ยอรมนี
9
4. เขตภูเขาหินใหม่ทางภาคใต้
เกิดจากการโก่งตัวของผิวโลก ได้แก่
4.1 เทือกเขาพีเรนีส ซึ่งเป็นพรมแดนระหว่างประเทศฝรั่งเศสและ
ประเทศสเปน
4.2 เทือกเขาแอลป์ (Alps) ทอดแนวจากตะวันออกเฉียงใต้ของ
ประเทศฝรั่งเศส ผ่านเข้าไปในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี
ยอดเขาสำาคัญของเทือกนี้ คือ มงบล็อง ( Mont Blanc) มีความ
สูง 4,807 เมตร
4.3 เทือกเขาแอปเพนไนน์ ในคาบสมุทรอิตาลี
4.4 เทือกเขาไดนาริกแอลป์ ในคาบสมุทรบอลข่าน
4.5 เทือกเขาคอเคซัส เป็นเทือกเขาที่กั้นเขตแดนระหว่างทวีปยุโรป
กับทวีปเอเชีย อยู่ระหว่างทะเลดำา และทะเลสาบแคสเปียนมียอด
เขา สูงที่สุด คือ เอลบรูซ (Elbrus) มีความสูง 5,642 เมตร
3. ลักษณะภูมิอากาศ
ภาคตะวันตกของทวีปยุโรปมีอากาศแบบอบอุ่นและชื้นกว่าภาคตะวันออก
เนื่องจากมีลมตะวันตกซึ่งเป็นลมประจำาพัดผ่านมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าไปในทวีป
ทำาให้มีอากาศชื้นมีฝนตกชุกตลอดทั้งปี และอิทธิพลของกระแสนำ้าอุ่นกัลฟ์สตีม ซึ่ง
ไหลเลียบชายฝั่งตะวันตกของทวีป ก็มีอิทธิพลให้อากาศอบอุ่น ไม่หนาวจัดในฤดู
หนาว ทวีปยุโรป แบ่งเขตอากาศออกเป็น 8 เขต คือ
ภูมิอากาศส่วนใหญ่ของทวีปยุโรป ได้ 7 เขต ดังนี้
1. ภูมิอากาศแบบขั้วโลก หรืออากาศแบบทุนดรา เป็นเขตที่มีอากาศหนาวจัดใน
ฤดูหนาวเป็นระยะเวลานาน มีฤดูร้อนสั้น ๆ เพียง 1- 2 เดือน อุณหภูมิทั้งปี
เฉลี่ยแล้วไม่เกิน 10 องศาเซลเซียส ทำาให้มีหิมะและนำ้าแข็งปกคลุมเกือบตลอด
ทั้งปี ชายฝั่งภาคเหนือคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย และชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติก
พืช ได้แก่ มอส และตะไคร่นำ้า
10
2. ภูมิอากาศแบบกึ่งขั้วโลก หรืออากาศแบบไทกา ลักษณะอากาศที่หนาวเย็นใน
ฤดูหนาวมี ฤดูร้อนอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 17 องศาเซลเซียส บริเวณตอน
กลางของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย พื้นที่ส่วนใหญ่ของฟินแลนด์ และภาคเหนือ
ของสหพันธรัฐรัสเซีย พืช ได้แก่ ป่าสน ( ป่าไทกา )
3. ภูมิอากาศอบอุ่นชื้น ลักษณะภูมิอากาศอบอุ่นที่มีฤดูร้อน อากาศร้อนจัด แต่ได้
รับอิทธิพลจากทะเลจึงทำาให้มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี ไม่มีฤดูแล้งที่เด่นชัด ภูมิ
อากาศแบบนี้พบในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป ตอนเหนือและตอน
กลางของคาบสมุทรบอลข่าน พืช ได้แก่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าผสม
4. ภูมิอากาศอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป ลักษณะอากาศค่อนข้างหนาวเย็นเป็นเวลา
นานในฤดูหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 1- 2 องศาเซลเซียส ส่วนฤดูร้อนจะ
อบอุ่น อุณหภูมิประมาณ 19 – 20 องศาเซลเซียส เป็นเขตที่ได้รับอิทธิพลจาก
ทะเลน้อยเพราะอยู่ลึกเข้าไปในทวีป ได้แก่ บริเวณยุโรปตะวันออก ครอบคลุม
ประเทศโปแลนด์ สาธารณรัฐเช็ก สาธารณรัฐสโลวัก โรมาเนีย มอลโดวา
ยูเครน ตอนใต้ของสหพันธรัฐรัสเซียได้แก่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าผสม
5. ภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก ลักษณะอากาศที่อบอุ่นชื้นตลอด
ทั้งปี ฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัดเพราะได้รับอิทธิพลจากกระแสนำ้าอุ่น
แอตแลนติกเหนือ มีลมประจำาตะวันตกพัดผ่านทำาให้มีฝนตกชุก ได้แก่ บริเวณ
ชายฝั่งตะวันตกและตะวันตกเฉียง-เหนือ ของทวีปยุโรป ครอบคลุมประเทศสห
ราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก ภาคใต้ของนอร์เวย์
และสวีเดน พืช ได้แก่ ป่าไม้ผลัดใบผสมกับป่าสน ไม้สำาคัญ เช่น บีช เอช โอ๊ก
ซีดาร์ เป็นต้น
6. ภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทรายแถบอบอุ่น ลักษณะอากาศที่ค่อนข้างแห้งแล้ง มี
ฝนตกน้อย ได้แก่ บริเวณตอนกลางคาบสมุทรไอบีเรีย ตอนเหนือทะเลดำาและ
ทะเลแคสเปียน และตอนใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย พืช ได้แก่ ทุ่งหญ้ากอสั้น ๆ
ที่เรียกว่าทุ่งหญ้าสเตปป์ ( steppe ) มีไม้พุ่มเตี้ยขึ้นสลับกันห่าง ๆ
7. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนลักษณะอากาศ ฤดูร้อนอากาศร้อนและแห้งแล้ง
ฤดูหนาวมีอากาศอบอุ่นและมีฝนตก อุณหภูมิในฤดูร้อนเฉลี่ยประมาณ 23
องศาเซลเซียส ฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 8 องศาเซลเซียส ได้แก่
บริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ครอบคลุมคาบสมุทรไอบีเรีย ภาคใต้
ฝรั่งเศส คาบสมุทรอิตาลี และชายฝั่งคาบสมุทรบอลข่าน พืช ได้แก่ ไม้คอร์ก
4. พืชพรรณธรรมชาติ
ภูมิอากาศนับว่ามีอิทธิพลต่อพืชพรรณธรรชาติของยุโรป ทางเหนือของทวีป
เป็นเขตทุนดรา มีอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดปี จะมีหญ้ามอส ตะไคร้นำ้า และไม้พุ่ม
ขนาดเล็ก บริเวณถัดมาเป็นเขตป่าไม้ไม่ผลัดใบ จะเป็นป่าสนมีอาณาบริเวณกว้าง
หรือเรียกป่านี้ว่า ไทกา เขตป่าไม้ผลัดใบอยู่ถัดจากป่าสน ส่วนใหญ่เป็นพวกโอ๊ค
บีช แอช และเอม เขตป่าบริเวณนี้มักใช้ทำาการเกษตรและอยู่อาศัย ส่วนเขตพืช
พรรณเมดิเตอร์เรเนียน มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง ซึ่งถูกถากถางมานาน ดินบริเวณนี้จึง
ขาดความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งทุ่งหญ้าขนาดใหญ่ของยุโรป ซึ่งเจริญเติบโตได้ดี
11
ในฤดูร้อน ฤดูหนาวหญ้าจะตายทำาให้ดินบริเวณนี้มีอินทรีย์วัตถุสูง จึงเหมาะที่จะ
ทำาการเพาะปลูก ข้าวสาลี หัวผักกาดหวาน โดยอาศัยการชลประทานเข้าช่วย
แผนที่ทวีปยุโรป แสดงลักษณะทางกายภาพ
รัฐกิจ (การแบ่งเขตประเทศ
1. ตำาแหน่ง ที่ตั้ง
ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่ตั้งอยู่ใยซีกโลกเหนือ ระหว่างละติจูดที่ 36
องศา ถึง 70 องศา 8 ลิปดา เหนือ กับลองติจูดที่ 9 องศา 30 ลิปดา ตะวัน
ตก ถึง 66 องศาตะวันออก ด้านตะวันออกของทวีปเป็นแผ่นดินใหญ่เชื่อมต่อกับ
ทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขอูราลเป็นแนวแบ่งเขต ลักษณะเช่นนี้ทำาให้ทวีปยุโรป
เปรียบเสมือนคาบสมุทรหนึ่งของทวีปเอเชีย พิจารณาจากตำาแหน่งที่ตั้งแล้วทวีปนี้
ไม่มีดินแดนที่อยู่ใต้เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์เลย และดินแดนทุกส่วนจะอยู่ไม่ไกล
จากทะเลมากนัก
2. อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อ ทะเลเวอร์เจียน ทะเลแบเรนต์ส
ทะเลเหนือ ซีงอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก
ทิศตะวันออก ติดต่อ ทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอูราลเป็นแนว
แบ่งเขต ทะเลแคสเบียน
ทิศตะวันตก ติดต่อ มหาสมุทรแอตแลนติก อ่าวบิสเคย์
ทิศใต้ ติดต่อ ทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ทวีปเอเชีย (บางส่วน)
3. ประชากร ส่วนใหญ่เป็นชาวผิวขาว ชาติพันธ์คอเคซอยด์ แต่มีลักษณะแตก
ต่างทางเชื้อชาติ แยกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มนอร์ดิก กลุ่มอัลไพน์ กลุ่ม
เมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปแอฟริกา
และทวีปเอเชีย บริเวณที่มีปะชากรอยู่หนาแน่น ได้แก่ บริเวณภาคกลาง และภาค
ตะวันตกของทวีป ซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากร รวมไปถึงที่ราบใหญ่ในยุโรป ลุ่มนำ้าไรน์
บริเวณทางเหนือของอิตาลี ทะเลสาบของสวีเดน และทางตะวันตกของคาบสมุทร
ไซบีเรียน ส่วนบริเวณที่มีอากาศหนาวเย็น แห้งแล้งและบริเวณที่มีลักษณะ
ภูมิประเทศเป็นที่สูง ประชากรจะอาศัยอยู่เบาบาง
4. ภูมิภาค การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป แบ่งตรมที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ดังนี้
3.1 ยุโรปเหนือ ประกอบด้วยประเทศ ราชอาณาจักรนอร์เวย์ ราช
อาณาจักรสวีเดน ราชอาณาจักรเดนมาร์ก สาธารณรัฐฟินแลนด์ สาธารณรัฐ
ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐลัตเวีย สาธารณรัฐลิทัว
เนีย
12
3.2 ยุโรปตะวันตก ประกอบด้วยประเทศ สหราชอาณาจักร
บริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม ราช
อาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก ราชรัฐโมนาโก สหพันธ์
สาธารณรัฐเยอรมนี สมาพันธรัฐสวิส สาธารณรัฐออสเตรีย ราชรัฐลิกเตนสไตน์
3.3 ยุโรปตะวันออก ประกอบด้วยประเทศ สาธารณรัฐโปแลนด์ สา
ธารณรัฐเชก สาธารณรัฐสโลวัก สาธารณรัฐเบลารุส สาธารณรัฐมอลโดวา
สหพันธรัฐรัสเซีย ยูเครน สาธารณรัฐฮังการี โรมาเนีย สาธารณรัฐบัลกาเรีย
3.4 ยุโรปใต้ ประกอบด้วยประเทศ สาธารณรัฐโปรตุเกส ราช
อาณาจักรสเปน ราชรัฐอันดอร์รา สาธารณรัฐอิตาลี สาธารณรัฐ ซานมาริโน
นครรัฐวาติกัน สาธารณรัฐมอลตา สาธารณรัฐเฮลเลนิก(กรีซ) สาธารณรัฐแอลบา
เนีย สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา สาธารณรัฐโครเอเชีย
สาธารณรัฐมาซิโดเนีย สาธารณรัฐสโลเวเนีย สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย
)
แผนที่ทวีปยุโรป แสดงการแบ่งเขตการปกครอง
5. สังคม วัฒนธรรม
จากการที่ทวีปยุโรป เป้นทวีปที่มีการแบ่งเขตแดนออกเป็นประเทศต่างๆ มาก
เนื่องมาจากทวีปยุโรปมีวัฒนธรรมท้องถิ่นมาก ทั้งด้านภาษา ศิลป ขนบธรรมเนียม
ประเพณี และความเป็นอยู่ แต่ก็ไม่แตกต่างกันมากนัก เนื่องจากต่างยึดมั่นในคริสต์
ศาสนา
เชื้อชาติ ประกอบด้วย 2 เชื้อชาติ ได้แก่
1. เชื้อชาติคอเคซอยด์ ลักษณะรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว ผมสีทอง แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
กลุ่มนอร์ดิก รูปร่างสูงใหญ่ ผมสีทอง ตาสีฟ้า อาศัยอยู่ในนอร์เวย์ สวีเดน และ
เดนมาร์ก
กลุ่มเมดิเตอร์เรเนียน รูปร่างสูงใหญ่มาก ผมสีดำา ตาสีดำา อาศัยอยู่ในภาคใต้ของ
ทวีปยุโรป บริเวณประเทศสเปน อิตาลี และกรีซ
กลุ่มอัลไพน์ รูปร่างค่อนข้างเล็กลำ่าสัน และเตี้ย ผมและตาสีนำ้าตาล อาศัยอยู่แถบ
เทือกเขาแอลป์ในยุโรปกลาง และภาคใต้
กลุ่มแอลป์และบัลติกตะวันออก รูปร่างไม่สูงใหญ่ ตาสีฟ้า อาศัยอยู่ในยุโรปตะวัน
ออก รวมทั้งรัสเซีย
2. เชื้อชาติมองโกลอยด์ ลักษณะรูปร่างปานกลาง ผิวขาว ผมดำา ชาวยุโรปตะวันออก
เช่น ฮังการี
13
ภาษา ภาษาส่วนใหญ่จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด - ยูโรเปียน เป็นต้นตระกูลที่มีผู้ใช้
จำานวนมาก ประมาณครึ่งหนึ่งของประชากรโลก แบ่งออเป็นสาขาต่าง ๆ รวม 4
สาขา ดังนี้
สาขาเยอรมนิก ภาษาอังกฤษ ภาษาดัตช์ ภาษาเฟลมมิช ภาษาเยอรมัน และภาษา
สแกนดิเนเวีย
สาขาภาษาโรมานซ์ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส และภาษา
โรมาเนีย
สาขาภาษาบัลโต-สลาวิก ภาษาบัลแกเรีย ภาษาเช็ก ภาษาแลตเวีย ภาษาลิทัวเนีย
ภาษารัสเซีย
สาขาอื่น ๆ ภาษาเคลติก ภาษากรีก
ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ มี 3 นิกาย ซึ่งสัมพันธ์กับกลุ่มภาษาที่
ใช้ ได้แก่
- นิกายโรมันคาทอลิก ประชากรที่นับถือนิกายนี้ จะ
ใช้ภาษากลุ่มภาษาโรมานซ์
- นิกายโปรเตวแตนส์ ประชากรที่นับถือนิกายนี้ จะใช้ภาษากลุ่ม
ภาษาติวโตนิก
- นิกายกรกออร์โธด็อกซ์ ประชากรที่นับถือนิกายนี้ จะใช้ภาษา
กลุ่มภาษาสลาฟ
ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
ประชากร
บริเวณที่ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุด ในเขตเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่
สำาคัญ ได้แก่ บริเวณภาคเหนือของฝรั่งเศส ภาคใต้ของอังกฤษ เบลเยียม
เนเธอร์แลนด์ ภาคกลางของเยอรมนี โปแลนด์ และรัสเซีย บริเวณที่ประชากรอาศัยอยู่
เบาบางที่สุด คาบสมุทรและภาคเหนือของรัสเซีย
เชื้อชาติ ประกอบด้วย 2 เชื้อชาติ ได้แก่
1. เชื้อชาติคอเคซอยด์ ลักษณะรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว ผมสีทอง แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
กลุ่มนอร์ดิก รูปร่างสูงใหญ่ ผมสีทอง ตาสีฟ้า อาศัยอยู่ในนอร์เวย์ สวีเดน และ
เดนมาร์ก
กลุ่มเมดิเตอร์เรเนียน รูปร่างสูงใหญ่มาก ผมสีดำา ตาสีดำา อาศัยอยู่ในภาคใต้ของ
ทวีปยุโรป บริเวณประเทศสเปน อิตาลี และกรีซ
กลุ่มอัลไพน์ รูปร่างค่อนข้างเล็กลำ่าสัน และเตี้ย ผมและตาสีนำ้าตาล อาศัยอยู่แถบ
เทือกเขาแอลป์ในยุโรปกลาง และภาคใต้
กลุ่มแอลป์และบัลติกตะวันออก รูปร่างไม่สูงใหญ่ ตาสีฟ้า อาศัยอยู่ในยุโรปตะวัน
ออก รวมทั้งรัสเซีย
2. เชื้อชาติมองโกลอยด์ ลักษณะรูปร่างปานกลาง ผิวขาว ผมดำา ชาวยุโรปตะวันออก
เช่น ฮังการี
ภาษา ภาษาส่วนใหญ่จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด - ยูโรเปียน เป็นต้น
ตระกูลที่มีผู้ใช้จำานวนมาก ประมาณครึ่งหนึ่งของประชากรโลก แบ่งออ
เป็นสาขาต่าง ๆ รวม 4 สาขา ดังนี้
สาขาเยอรมนิก ภาษาอังกฤษ ภาษาดัตช์ ภาษาเฟลมมิช ภาษาเยอรมัน และภาษา
สแกนดิเนเวีย
14
สาขาภาษาโรมานซ์ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส และภาษา
โรมาเนีย
สาขาภาษาบัลโต-สลาวิก ภาษาบัลแกเรีย ภาษาเช็ก ภาษาแลตเวีย ภาษาลิทัวเนีย
ภาษารัสเซีย
สาขาอื่น ๆ ภาษาเคลติก ภาษากรีก
ศาสนา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ แบ่งออกเป็น 3 นิกายใหญ่
ดังนี้
นิกายโรมันคาทอลิก นับถือมากบริเวณในยุโรปภาคใต้และภาคตะวันออก โดยมี
สันตะปาปาแห่งนครวาติกัน รัฐอิสระในอิตาลี ซึ่งเป็นผู้นำาสูงสุดของศาสนจักร
นิกายกรีกออร์ธอดอกซ์ นับถือในคาบสมุทรบอลข่าน และรัสเซีย เน้นพิธีกรรมทาง
ศาสนา
นิกายโปรเตสแตนท์ นับถือมากในยุโรปภาคเหนือและภาคตะวันตก นิกายนี้แบ่งออก
เป็นนิกายย่อย ๆ จำานวนมาก ถือปฏิบัติตามพระคัมภีร์ไบเบิล เศรษฐกิจ
เกษตรกรรม
ทวีปยุโรปใช้ที่ดินทำาการเกษตรอย่างหนาแน่น ผลผลิตอยู่ในเกณฑ์สูงมากเนื่องจาก
พื้นที่ส่วนใหญ่มีอากาศอบอุ่น ปริมาณฝนเพียงพอ เทคโนโลยีการเกษตรอันก้าวหน้า
รวมทั้งมีตลาดและมาตรการรองรับ โดยเขตเกษตรกรรมของยุโรปแบ่งออกเป็น 5
เขต ได้แก่
เขตเกษตรกรรมแบบผสม เพาะปลูกควบคู่ไปกับการเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ขนาดเล็ก ปลูก
ข้าวสาลี ข้าวไรย์ ข้าวบาเลย์ หัวผักกาดหวาน และเลี้ยงโคเนื้อ โคนม แกะ เขตภาค
ตะวันตกและภาคกลางของทวีป ในฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน
เขตเกษตรกรรมแบบเมดิเตอร์เรเนียน ฝนตกน้อยและแสงแดดมาก พืชสำาคัญคือ ส้ม
องุ่น มะกอก ปลูกมากในเขตชายฝั่งเมดิเตอร์เรเนียน เช่น อิตาลี กรีซ
เขตปลูกข้าวสาลี เขตภาคกลางของฮังการี โรมาเนีย ยูเครน และภาคใต้ของรัสเซีย
เขตทำาไร่ปศุสัตว์ เลี้ยงวัว แพะ และแกะ เขตชายฝั่งทะเลแคริบเบียนในเขตใต้สุดของ
รัสเซีย
เขตเลี้ยงสัตว์แบบเร่ร่อน มีภูมิอากาศแบบทุนดรา สัวต์เลี้ยงสำาคัญคือ กวางเรนเดียร์
เขตชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกตอนเหนือของทวีป ในประเทศฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์
การทำาป่าไม้ ทำาในเขตป่าไทกา ไม้สน ซึ่งเป็นไม้เนื้ออ่อนสำาหรับผลิตกระดาษ
การประมง ชายฝั่งของทวีปยุโรปยาวและเว้าแหว่งมาก เหมาะเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์
นำ้า และยังมีกระแสนำ้าอุ่นแอตแลนติกเหนือไหลเลียบชายฝั่งประเทศฝรั่งเศส ขึ้นไปถึง
ชายฝั่งประเทศนอร์เวย์ ทำาให้นำ้าไม่เป็นนำ้าแข็งในฤดูหนาว น่านนำ้าของทวีปยุโรปจึง
มีปลาอุดมสมบูรณ์ตลอดปี แหล่งประมงสำาคัญได้แก่ น่านนำ้าทะเลเหนือ เรียกว่า "ดอก
เกอร์แบงก์" ทะเลนอร์วีเจียน และเกาะไอซ์แลนด์ ประเทศประมงชั้นนำา ได้แก่ อังกฤษ
ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก นอร์เวย์ และไอซ์แลนด์
แร่ที่สำาคัญ
ได้แก่ ถ่านหิน ฝรั่งเศส เบลเยียม ลุ่มแม่นำ้ารูห์ของเยอรมนี ภาคใต้ของโปแลนด์และ
รัสเซีย เหล็ก สวีเดน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส และภาคใต้ของรัสเซีย
นำ้ามันปิโตรเลียม บริเวณทะเลเหนือ ตอนใต้ของรัสเซีย และยูเคน
อุตสาหกรรม
15
ประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำา ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี เบลเยียม
สวีเดน สืบเนื่องมาจาก ทุนมาก ทรัพยากรคุณภาพ การศึกษา เทคโนโลยี ไฟฟ้า การ
คมนาคมสะดวก อุตสาหกรรมที่สำาคัญ ได้แก่ ถลุงเหล็ก ผลิตเหล็กกล้า ผลิตยาน
พาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ผลิตเคมีภัณฑ์ ผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้า และเครื่องอิเลคทรอ
นิกส์
ประเทศในทวีปยุโรป
ประเทศ เมืองหลวง
ขนาดพื้นที่
(ตร.กม.)
ประชากร (ล้าน
คน) (2551)
กรีซ เอเธนส์ 130,463 11.2
โครเอเชีย ซาเกร็บ 55,882 4.4
สาธารณรัฐเช็ก ปราก 78,864 10.4
ซานมารีโน ซานมารีโน 61 0.03
เซอร์เบีย เบลเกรด 88,361 12.1
เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 42,593 5.5
นอร์เวย์ ออสโล 320,466 4.8
เนเธอร์แลนด์ อัมสเตอร์ดัม 41,019 16.4
บอสเนียและเฮอร์
เซโกวีนา
ซาราเยโว 50,537 3.8
บัลแกเรีย โซเฟีย 109,627 7.6
เบลเยียม บรัสเซลส์ 30,164 10.7
เบลารุส มินสก์ 205,194 9.7
โปรตุเกส ลิสบอน 91,320 10.6
โปแลนด์ วอร์ซอ 312,056 38.1
ฝรั่งเศส ปารีส 537,666 62.0
ฟินแลนด์ เฮลซิงกิ 334,288 5.3
มอนเตเนโกร
พอดกอรีต
ซา
91,320 10.6
มอลโดวา คีชีเนา 13,812 0.6
มอลตา วัลเลตตา 312 0.4
มาซิโดเนีย สโกเปีย 25,416 2.0
โมนาโก โมนาโก 1.5 0.03
ยูเครน เคียฟ 597,007 46.2
เยอรมนี เบอร์ลิน 352,914 82.2
รัสเซีย มอสโก
16,877,29
1
141.9
โรมาเนีย บูคาเรสต์ 234,749 21.5
ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก 2,555 0.5
ลัตเวีย รีกา 63,851 2.3
ลิกเตนสไตน์ วาดุซ 160 0.04
ลิทัวเนีย วิลนีอุส 64,445 3.4
16
นครรัฐวาติกัน วาติกัน 0.5 0.0009
สเปน มาดริด 498,936 46.5
สโลวาเกีย บราติสลาวา 49,036 5.4
สโลวีเนีย ลูบลิยานา 19,761 2.0
สวิตเซอร์แลนด์ เบิร์น 40,809 7.6
สวีเดน สตอกโฮล์ม 444,754 9.2
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 241,275 61.3
ออสเตรีย เวียนนา 82,885 8.4
อันดอร์รา
อันดอร์ราลา
เวลลา
448 0.1
อิตาลี โรม 297,789 59.9
เอสโตเนีย ทาลลินน์ 44,577 1.3
แอลเบเนีย ติรานา 28,416 3.2
ไอซ์แลนด์ เรคยาวิก 101,809 0.3
ไอร์แลนด์ ดับลิน 69,471 4.5
ฮังการี บูดาเปสต์ 91,953 10.0
ทวีปยุโรป
10,600,00
0 1 745.9069 2
1
ไม่รวมรัสเซียตะวันออกไกล
2
ข้อมูลอย่างไม่เป็นทางการ
ในทวีปยุโรปถึงแม้ว่าจะมีความยาวไม่เท่ากับแม่นำ้าสายยาวๆ ในทวีป
เอเซีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ แต่ก็ใช้ประโยชน์ในด้านการ
คมนาคมขนส่งได้มาก เพราะมีนำ้าไหลสมำ่าเสมอตลอดทั้งปี และมีการขุด
17
คลองเชื่อมแม่นำ้าสายต่างๆ เข้าด้วยกัน ทำาให้เดินเรือได้สะดวก โดยเฉพาะ
แม่นำ้าที่ไหลลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติกซึ่งเป็นเส้นทางเดินเรือสายใหญ่ นับ
ว่ามีความสำาคัญมากกว่าแม่นำ้าที่ไหลลงมหาสมุทรอาร์กติกและทะเลภายใน
ต่างๆ ซึ่งอยู่นอกเส้นทางการค้า แม่นำ้าที่สำาคัญในทวีปยุโรปมีดังต่อไปนี้
1. แม่นำ้าไรน์
มีต้นนำ้าอยู่ที่เทือกเขาแอลป์ทางตอนใต้ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์ขึ้นไปทางเหนือ จนถึงพรมแดนระหว่าง
ฝรั่งเศสกับเยอรมนีแล้วไหลต่อเข้าไปในประเทศเยอรมนีและประเทศ
เนเธอร์แลนด์ ไปออกทะเลเหนือ มีความยาว 1312 กิโลเมตร
นับเป็นแม่นำ้าระหว่างประเทศ ที่มีความสำาคัญมากที่สุดของทวีป
ยุโรปการส่งสินค้าตามลำานำ้าสายนี้มีเป็นจำานวนมาก สินค้าสำาคัญ ได้แก่
ถ่านหิน แร่เหล็ก และแป้งสาลี โดยเฉพาะถ่านหิน เป็นสินค้าที่มีความสำาคัญ
มากที่สุด เนื่องจากแม่นำ้าไรน์ไหลผ่านย่านอุตสาหกรรมเหมืองแร่ถ่านหิน
ของประเทศเยอรมนี แม่นำ้าสายนี้จึงได้รับสมญาว่าเป็นแม่นำ้าถ่านหิน ( Coal
River)
เมืองท่า สำาคัญที่ตังอยู่ที่ปากแม่นำ้าไรน์ในประเทศเนเธอร์แลนด์ คือ เมือง
รอตเตอร์ดัม เป็นเมืองท่าที่มีจำานวนเรือสินค้ามาจอดรับส่งสินค้ามากกว่า
เมืองท่าอื่นๆ ของทวีปยุโรป
2. แม่นำ้าเอลเบ
มีต้นนำ้าอยู่ในประเทศเช็คและสโลวัก ไหลผ่านประเทศเยอรมนีไป
ออกทะเลเหนือ มีความยาว 1152 กิโลเมตร เมืองท่าสำาคัญที่ตั้งอยู่ใกล้ปาก
แม่นำ้า คือ เมืองฮัมบูร์ก เป็นเมืองท่าใหญ่ที่สุดของประเทศเยอรมนี
18
3. แม่นำ้าดานูบ
มีต้นนำ้าอยู่ในภาคใต้ของประเทศเยอรมนี ไหลผ่านประเทศ
ออสเตรีย ฮังการี ยูโกสลาเวีย และพรมแดนระหว่างประเทศบัลกาเรียกับ
ประเทศโรมาเนีย เป็นแม่นำ้าระหว่างประเทศที่ไหลผ่านจำานวนประเทศ
จำานวนมากที่สุดในทวีปยุโรป แต่ในด้านความสำาคัญของการคมนาคมขนส่ง
ทางนำ้ามีไม่มากเท่ากับแม่นำ้าไรน์และแม่นำ้าเอลเ บ เนื่องจากแม่นำ้าดานูบไหล
ลงสู่ทะเลดำา ไม่ได้อยู่ในเส้นทางเดินเรือสายสำาคัญของโลกมยาว 2760
กิโลเมตร
4. แม่นำ้าโวลกา
19
เป็นแม่นำ้าในรัสเซีย ไหลจากบริเวณภาคกลางของประเทศไปลง
ทะเลแคสเปียน มีความยาวถึง 3700 กิโลเมตร นับเป็นแม่นำ้าสายยาวที่สุด
ของทวีปยุโรป
20

More Related Content

What's hot

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.suchinmam
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลางพัน พัน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการkrupeem
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 

What's hot (20)

ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 

Similar to ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docpinglada
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309chanok
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาkrunimsocial
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Namphon Srikham
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลียchanok
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.Mod Haha
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 

Similar to ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป (20)

ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรปลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
 
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
 
309
309309
309
 
ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23
 
Europe
EuropeEurope
Europe
 
ลักษณะภูมิประเทศ2.1
ลักษณะภูมิประเทศ2.1ลักษณะภูมิประเทศ2.1
ลักษณะภูมิประเทศ2.1
 
Aus
AusAus
Aus
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
ภูมิภาคของทวีปยุโรป
ภูมิภาคของทวีปยุโรปภูมิภาคของทวีปยุโรป
ภูมิภาคของทวีปยุโรป
 
การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4
การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4
การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4
 
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
ลักษณะทางกายภาพ2ง1
ลักษณะทางกายภาพ2ง1ลักษณะทางกายภาพ2ง1
ลักษณะทางกายภาพ2ง1
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป

  • 1. ทวีปยุโรป ทวีปยุโรป มีฐานะเป็น ทวีป ทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ใน ทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็น อนุทวีป ที่อยู่ทางด้านตะวันตกของ มหาทวีปยู เรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับ มหาสมุทรอาร์กติก ทาง ตะวันตกติดกับ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับ ทะเล เมดิเตอร์เรเนียน และ ทะเลดำา ด้านตะวันออกติดกับ เทือกเขายูรัล และ ทะเลแคสเปียน ทวีปยุโรปมี พื้นที่ 10,600,000 ตร.กม. เล็กที่สุดเป็นอันดับสองรอง จากทวีปออสเตรเลีย แต่มีจำานวนประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 3 รอง จากทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา ปี พ.ศ. 2546 ยุโรปมีประชากรราว 799,566,000 คน หรือประมาณ 1 ใน 8 ของประชากรโลก 1
  • 2. ทวีปยุโรป มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทาง เหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติกทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกทางใต้ติดกับ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำา ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเล แคสเปียน[1] ทวีปยุโรปมีพื้นที่ 10,600,000 ตร.กม. เล็กที่สุดเป็นอันดับสองรองจากทวีป ออสเตรเลีย แต่มีจำานวนประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 3 รองจากทวีปเอเชียและทวีป แอฟริกา ปี พ.ศ. 2546 ยุโรปมีประชากรราว 799,566,000 คน หรือประมาณ 1 ใน 8 ของประชากรโลก 2
  • 3. ยุโรปตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือค่อนไปทางขั้วโลกเหนือ ระหว่างประมาณละติจูด 36-71 องศาเหนือ กับลองจิจูด 9 องศาตะวันตก ถึง 66 องศาตะวันออก มีพื้นที่ประมาณ 10 ล้านตารางกิโลเมตร โดยมีประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ รัสเซีย ลักษณะภูมิประเทศ แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป ลักษณะภูมิประเทศที่สำาคัญของทวีปยุโรป ได้แก่ ทางตะวันตกของฝรั่งเศส ทางตะวัน ออกของเกาะอังกฤษ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ และเดนมาร์ก เขตที่ราบสูง ได้แก่ ที่ราบที่อยู่ระหว่างที่ราบกับเขตเทือกเขา ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ทางตอน กลางของทวีป มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 25 ของทวีปยุโรป ได้แก่ บริเวณภาคตะวัน ออกของประเทศฝรั่งเศสภาคใต้ของเยอรมนีและโปแลนด์ เขตเทือกเขาแบ่งออกเป็น 2 เขตใหญ่ ๆ คือ เทือกเขาภาคเหนือ เป็นแนวเทือกเขาที่วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือกับตะวัน ออกเฉียงใต้ ได้แก่ เทือกเขาแถบคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในสกอตแลนด์ เวลส์และ เกาะไอซ์แลนด์ ซึ่งมีขนาดเตี้ยและเกิดขึ้นมานานแล้ว เทือกเขาภาคใต้ เป็นแนวเทือกเขาที่วางตัวในแนวตะวันออกกับตะวันตก ซึ่งเทือกเขา นี้มีขนาดสูงและยังเป็นเขตที่เปลือกโลกยังไม่สงบดี จึงเกิดแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟ ระเบิดอยู่บ่อย ๆ ลักษณะทางกายภาพ 1. ด้านธรณีวิทยา 1.1 ยุโรปเป็นทวีปที่อยู่ในเขตหินเก่าทางเหนือ ได้แก่ เขตหินเก่าบอลติก คือ ส่วนที่เป็นคาบสมุทรสแกนดิเนเวียทั้งหมด 1.2 ส่วนหนึ่งของแผ่นดินยุโรป เคยเป็นแผ่นดินเดียวกับทวีปอเมริกาเหนือ เอเชีย และเกาะกรีนแลนด์ 1.3 ทวีปยุโรปมีโครงสร้างของหินซับซ้อนสูงชัน ซึ่งเป็นเขตเทือกเขาใหม่อยู่ ทางตอนใต้ของทวีป มีแนวเทือกเขาวางตัวเป็นแนวยาว เป็น แนวตะวันออก - ตะวันตก เทือกเขาที่สำาคัญคือ เทือกเขาแอลป์ 2. ลักษณะภูมิประเทศ 2.1 ทางเหนือ และตะวันตกเฉียงเหนือของทวีป เป็นเขตหินเก่าที่ผ่านการสึก กร่อนมานาน และเคยถูกปกคลุมด้วยธารนำ้าแข็งภาคพื้นทวีปมาตั้งแต่ยุคนำ้าแข็ง 3
  • 4. เช่น มีฟยอร์ด มีหนองบึง และทะเลสาบในบริเวณที่ราบ มีที่ราบชายฝั่งที่เกิดจาก การทิ้งตะกอนของธารนำ้าแข็ง 2.2 แถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและทะเลบอลติก เป็นที่ราบต่อเนื่อง ขนาดใหญ่ของทวีปยุโรป เกิดจากการทับถมของตะกอน แม่นำ้าสายสำาคัญๆ คือ แม่ นำ้าลัวร์ ไรน์ เซน เวเซอร์ เอลเบ โดเดอร์ วิสตูลา ที่ไหลมาจากตอนกลางของ ทวีป ที่ราบแถบนี้ สมัยยุคนำ้าแข็งสิ้นสุดลงได้ทิ้งตะกอนละเอียดไว้เป้นที่ราบที่อุดม สมบูรณ์แห่งหนึ่งของทวีป 2.3 ตอนกลางของทวีปค่อนลงมาทางใต้ เป็นเขตเทือกเขาสูง ที่สำาคัญคือ เทือกเขาแอลป์ คาร์เปเธียน แอปเพนไนน์ คอเคซัส ซึ่งบริเวณนี้เป็นแหล่งต้นนำ้า ของทวีปยุโรป และแม่นำ้าหลายสาย 2.4 ทางตอนใต้ของทวีปยุโรป ประกอบไปด้วยคาบสมุทรใหญ่ 3 คาบสมุทร คือ คาบสมุทรไอบีเรียน อิตาลี และบอลข่าน แต่ละคาบสมุทรยื่นลำ้าลง ไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทำาให้เกิดทะเลและอ่าว ได้แก่ ทะเลติร์เรเนียน (เมดิเตอร์เรเนียน) ทะเลเอเดรียติก ทะเลไอโอเนียน ทะเลอีเจียน ฯลฯ 2.5 ทางตอนเหนือของทวีป มี ทะเลนอร์วิเจียน ทะเลแบเรนต์ส ส่วนทะเลที่ อยู่ระหว่างคาบสมุทสแกนติเนเวียและคาบสมุทร จัตแลนต์ คือ ทะเลบอลติกกับ ทะเลเหนือ ภูมิภาค การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป: ยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันออก ยุโรปใต้ ทวีปยุโรป แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ 4
  • 5. ทวีปยุโรป แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาคใหญ่ ๆ และ 2 รัฐอิสระ คือ 1. ยุโรปเหนือ ได้แก่ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ นอร์เวย์ สวีเดน เอสโทเนีย แลตเวีย และ ลิธัวเนีย 2. ยุโรปตะวันตก ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี ลิกเตนส ไตน์ ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร 3. ยุโรปตะวันออก ได้แก่ เบลารุส บัลแกเรีย สาธารณรัฐเช็ก ฮังการี มอลโดวา โปแลนด์ โรมาเนีย สหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐสโลวัก และ ยูเครน 5
  • 6. 4. ยุโรปใต้ ได้แก่ แอลเบเนีย อันเดอร์รา บอสเนีย-เฮอร์เซโกวินา โครเอเชีย กรีซ อิตาลี แมซิโดเนีย มอลตา โปรตุเกส ซานมารีโน สโลวี เนีย สเปน และ ยูโกสลาเวีย ดินแดนที่เป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ในประเทศอื่นอีก 2 รัฐ คือ นครรัฐวาติ กา ตั้งอยู่ในกรุงโรมประเทศอิตาลี และ โมนาโก ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่ง ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในประเทศฝรั่งเศสใกล้พรมแดนอิตาลี) ลักษณะภูมิประเทศที่สำาคัญของทวีปยุโรป ได้แก่ ทางตะวันตกของ ฝรั่งเศส ทางตะวันออกของ เกาะอังกฤษ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ และ เดนมาร์ก เขตที่ราบสูง ได้แก่ ที่ราบที่อยู่ระหว่างที่ราบกับเขตเทือกเขา ซึ่งส่วน ใหญ่อยู่ทางตอนกลางของทวีป มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 25 ของทวีปยุโรป ได้แก่ บริเวณภาคตะวันออกของ ประเทศฝรั่งเศส ภาคใต้ของ เยอรมนี 6
  • 7. และ โปแลนด์ เขตเทือกเขา แบ่งออกเป็น 2 เขตใหญ่ ๆ คือ • เทือกเขาภาคเหนือ เป็นแนวเทือกเขาที่วางตัวในแนวตะวันออกเฉียง เหนือกับตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ เทือกเขาแถบ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ใน สกอตแลนด์ เวลส์ และเกาะ ไอซ์แลนด์ ซึ่งมีขนาดเตี้ยและเกิด ขึ้นมานานแล้ว 7
  • 8. • เทือกเขาภาคใต้ เป็นแนวเทือกเขาที่วางตัวในแนวตะวันออกกับตะวัน ตก ซึ่งเทือกเขานี้มีขนาดสูงและยังเป็นเขตที่เปลือกโลกยังไม่สงบดี จึง เกิดแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิดอยู่บ่อย ๆ เพิ่มเติมเขตลักษณะภูมิประเทศต่างๆ ดังนี้ 1. เขตหินเก่าทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ประกอบด้วยเทือกเขาที่มีอายุเก่าแก่ซึ่งถูกธารนำ้าแข็งกัดเซาะจนสึก กร่อน และพังทลายจนกลายเป็นที่ราบสูง ทำาให้มี ชายฝั่งทะเลเว้าแหว่ง มาก เรียกว่า ฟยอร์ด ( Fjord ) เทือกเขาหินเก่าที่สำาคัญ คือ 1.1 เทือกเขาเชอเลน ในคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย 1.2 เทือกเขาแกรมเบรียน ในสกอตแลนด์ 8
  • 9. 2. เขตที่ราบใหญ่ภาคกลาง เป็นเขตที่ราบใหญ่ที่สุดของทวีปยุโรปมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น มากที่สุด ได้แก่ที่ราบด้านตะวันตกของประเทศฝรั่งเศส เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก ที่ราบภาคเหนือของเยอรมนี โปแลนด์ ที่ราบ บริเวณตอนใต้ของสหราชอาณาจักร เป็นเขตที่มีความสำาคัญมากทางด้านเศรษฐกิจมีดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่ การเพาะปลูก มีแม่นำ้าสำาคัญไหลผ่านหลายสายได้แก่ แม่นำ้าลัวร์ แม่นำ้า เซน แม่นำ้าไรน์ แม่นำ้าเอลเบ บริเวณแม่นำ้ารูห์ในเขตประเทศเยอรมนีเป็นแหล่งถ่านหินที่สำาคัญ ของยุโรป ที่ราบริมทะเลบอลติกในประเทศนอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์ ประกอบด้วย หินเปลือกโลกที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด เรียกว่า บอลติกชิลด์ ( Baltic Shield ) 3. เขตที่ราบสูงภาคกลาง เป็นที่ราบสูงและเนินเขาเตี้ยๆ เกิดจากการ สึกกร่อนพังทลาย ได้แก่ 3.1 เมเซตา ( Mezeta) ที่ราบสูงในภาคกลางของคาบสมุทรไอบีเรีย 3.2 มาซีฟ ซองตราล( Massif Central) ที่ราบสูงตอนกลางของประเทศ ฝรั่งเศส 3.3 ป่าดำา (Black Forest) ที่ราบสูงตอนกลาง และภาคใต้ของประเทศ เยอรมนี 3.4 โบฮีเมีย (Bohemia) ที่ราบสูงระหว่างพรมแดนประเทศเยอรมนี สาธารณรัฐ เช็กและสาธารณรัฐสโลวัก 3.5 อาร์เดน (Ardennes)ที่ราบสูงในประเทศเบลเยียมและลักเซมเบิร์ก 3.6 บาวาเรีย (Bavaria)ที่ราบสูงในประเทศเ ยอรมนี 9
  • 10. 4. เขตภูเขาหินใหม่ทางภาคใต้ เกิดจากการโก่งตัวของผิวโลก ได้แก่ 4.1 เทือกเขาพีเรนีส ซึ่งเป็นพรมแดนระหว่างประเทศฝรั่งเศสและ ประเทศสเปน 4.2 เทือกเขาแอลป์ (Alps) ทอดแนวจากตะวันออกเฉียงใต้ของ ประเทศฝรั่งเศส ผ่านเข้าไปในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี ยอดเขาสำาคัญของเทือกนี้ คือ มงบล็อง ( Mont Blanc) มีความ สูง 4,807 เมตร 4.3 เทือกเขาแอปเพนไนน์ ในคาบสมุทรอิตาลี 4.4 เทือกเขาไดนาริกแอลป์ ในคาบสมุทรบอลข่าน 4.5 เทือกเขาคอเคซัส เป็นเทือกเขาที่กั้นเขตแดนระหว่างทวีปยุโรป กับทวีปเอเชีย อยู่ระหว่างทะเลดำา และทะเลสาบแคสเปียนมียอด เขา สูงที่สุด คือ เอลบรูซ (Elbrus) มีความสูง 5,642 เมตร 3. ลักษณะภูมิอากาศ ภาคตะวันตกของทวีปยุโรปมีอากาศแบบอบอุ่นและชื้นกว่าภาคตะวันออก เนื่องจากมีลมตะวันตกซึ่งเป็นลมประจำาพัดผ่านมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าไปในทวีป ทำาให้มีอากาศชื้นมีฝนตกชุกตลอดทั้งปี และอิทธิพลของกระแสนำ้าอุ่นกัลฟ์สตีม ซึ่ง ไหลเลียบชายฝั่งตะวันตกของทวีป ก็มีอิทธิพลให้อากาศอบอุ่น ไม่หนาวจัดในฤดู หนาว ทวีปยุโรป แบ่งเขตอากาศออกเป็น 8 เขต คือ ภูมิอากาศส่วนใหญ่ของทวีปยุโรป ได้ 7 เขต ดังนี้ 1. ภูมิอากาศแบบขั้วโลก หรืออากาศแบบทุนดรา เป็นเขตที่มีอากาศหนาวจัดใน ฤดูหนาวเป็นระยะเวลานาน มีฤดูร้อนสั้น ๆ เพียง 1- 2 เดือน อุณหภูมิทั้งปี เฉลี่ยแล้วไม่เกิน 10 องศาเซลเซียส ทำาให้มีหิมะและนำ้าแข็งปกคลุมเกือบตลอด ทั้งปี ชายฝั่งภาคเหนือคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย และชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติก พืช ได้แก่ มอส และตะไคร่นำ้า 10
  • 11. 2. ภูมิอากาศแบบกึ่งขั้วโลก หรืออากาศแบบไทกา ลักษณะอากาศที่หนาวเย็นใน ฤดูหนาวมี ฤดูร้อนอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 17 องศาเซลเซียส บริเวณตอน กลางของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย พื้นที่ส่วนใหญ่ของฟินแลนด์ และภาคเหนือ ของสหพันธรัฐรัสเซีย พืช ได้แก่ ป่าสน ( ป่าไทกา ) 3. ภูมิอากาศอบอุ่นชื้น ลักษณะภูมิอากาศอบอุ่นที่มีฤดูร้อน อากาศร้อนจัด แต่ได้ รับอิทธิพลจากทะเลจึงทำาให้มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี ไม่มีฤดูแล้งที่เด่นชัด ภูมิ อากาศแบบนี้พบในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป ตอนเหนือและตอน กลางของคาบสมุทรบอลข่าน พืช ได้แก่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าผสม 4. ภูมิอากาศอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป ลักษณะอากาศค่อนข้างหนาวเย็นเป็นเวลา นานในฤดูหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 1- 2 องศาเซลเซียส ส่วนฤดูร้อนจะ อบอุ่น อุณหภูมิประมาณ 19 – 20 องศาเซลเซียส เป็นเขตที่ได้รับอิทธิพลจาก ทะเลน้อยเพราะอยู่ลึกเข้าไปในทวีป ได้แก่ บริเวณยุโรปตะวันออก ครอบคลุม ประเทศโปแลนด์ สาธารณรัฐเช็ก สาธารณรัฐสโลวัก โรมาเนีย มอลโดวา ยูเครน ตอนใต้ของสหพันธรัฐรัสเซียได้แก่ ป่าไม้ผลัดใบและป่าผสม 5. ภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก ลักษณะอากาศที่อบอุ่นชื้นตลอด ทั้งปี ฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัดเพราะได้รับอิทธิพลจากกระแสนำ้าอุ่น แอตแลนติกเหนือ มีลมประจำาตะวันตกพัดผ่านทำาให้มีฝนตกชุก ได้แก่ บริเวณ ชายฝั่งตะวันตกและตะวันตกเฉียง-เหนือ ของทวีปยุโรป ครอบคลุมประเทศสห ราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก ภาคใต้ของนอร์เวย์ และสวีเดน พืช ได้แก่ ป่าไม้ผลัดใบผสมกับป่าสน ไม้สำาคัญ เช่น บีช เอช โอ๊ก ซีดาร์ เป็นต้น 6. ภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทรายแถบอบอุ่น ลักษณะอากาศที่ค่อนข้างแห้งแล้ง มี ฝนตกน้อย ได้แก่ บริเวณตอนกลางคาบสมุทรไอบีเรีย ตอนเหนือทะเลดำาและ ทะเลแคสเปียน และตอนใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย พืช ได้แก่ ทุ่งหญ้ากอสั้น ๆ ที่เรียกว่าทุ่งหญ้าสเตปป์ ( steppe ) มีไม้พุ่มเตี้ยขึ้นสลับกันห่าง ๆ 7. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนลักษณะอากาศ ฤดูร้อนอากาศร้อนและแห้งแล้ง ฤดูหนาวมีอากาศอบอุ่นและมีฝนตก อุณหภูมิในฤดูร้อนเฉลี่ยประมาณ 23 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 8 องศาเซลเซียส ได้แก่ บริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ครอบคลุมคาบสมุทรไอบีเรีย ภาคใต้ ฝรั่งเศส คาบสมุทรอิตาลี และชายฝั่งคาบสมุทรบอลข่าน พืช ได้แก่ ไม้คอร์ก 4. พืชพรรณธรรมชาติ ภูมิอากาศนับว่ามีอิทธิพลต่อพืชพรรณธรรชาติของยุโรป ทางเหนือของทวีป เป็นเขตทุนดรา มีอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดปี จะมีหญ้ามอส ตะไคร้นำ้า และไม้พุ่ม ขนาดเล็ก บริเวณถัดมาเป็นเขตป่าไม้ไม่ผลัดใบ จะเป็นป่าสนมีอาณาบริเวณกว้าง หรือเรียกป่านี้ว่า ไทกา เขตป่าไม้ผลัดใบอยู่ถัดจากป่าสน ส่วนใหญ่เป็นพวกโอ๊ค บีช แอช และเอม เขตป่าบริเวณนี้มักใช้ทำาการเกษตรและอยู่อาศัย ส่วนเขตพืช พรรณเมดิเตอร์เรเนียน มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง ซึ่งถูกถากถางมานาน ดินบริเวณนี้จึง ขาดความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งทุ่งหญ้าขนาดใหญ่ของยุโรป ซึ่งเจริญเติบโตได้ดี 11
  • 12. ในฤดูร้อน ฤดูหนาวหญ้าจะตายทำาให้ดินบริเวณนี้มีอินทรีย์วัตถุสูง จึงเหมาะที่จะ ทำาการเพาะปลูก ข้าวสาลี หัวผักกาดหวาน โดยอาศัยการชลประทานเข้าช่วย แผนที่ทวีปยุโรป แสดงลักษณะทางกายภาพ รัฐกิจ (การแบ่งเขตประเทศ 1. ตำาแหน่ง ที่ตั้ง ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่ตั้งอยู่ใยซีกโลกเหนือ ระหว่างละติจูดที่ 36 องศา ถึง 70 องศา 8 ลิปดา เหนือ กับลองติจูดที่ 9 องศา 30 ลิปดา ตะวัน ตก ถึง 66 องศาตะวันออก ด้านตะวันออกของทวีปเป็นแผ่นดินใหญ่เชื่อมต่อกับ ทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขอูราลเป็นแนวแบ่งเขต ลักษณะเช่นนี้ทำาให้ทวีปยุโรป เปรียบเสมือนคาบสมุทรหนึ่งของทวีปเอเชีย พิจารณาจากตำาแหน่งที่ตั้งแล้วทวีปนี้ ไม่มีดินแดนที่อยู่ใต้เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์เลย และดินแดนทุกส่วนจะอยู่ไม่ไกล จากทะเลมากนัก 2. อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อ ทะเลเวอร์เจียน ทะเลแบเรนต์ส ทะเลเหนือ ซีงอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออก ติดต่อ ทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอูราลเป็นแนว แบ่งเขต ทะเลแคสเบียน ทิศตะวันตก ติดต่อ มหาสมุทรแอตแลนติก อ่าวบิสเคย์ ทิศใต้ ติดต่อ ทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย (บางส่วน) 3. ประชากร ส่วนใหญ่เป็นชาวผิวขาว ชาติพันธ์คอเคซอยด์ แต่มีลักษณะแตก ต่างทางเชื้อชาติ แยกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มนอร์ดิก กลุ่มอัลไพน์ กลุ่ม เมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปแอฟริกา และทวีปเอเชีย บริเวณที่มีปะชากรอยู่หนาแน่น ได้แก่ บริเวณภาคกลาง และภาค ตะวันตกของทวีป ซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากร รวมไปถึงที่ราบใหญ่ในยุโรป ลุ่มนำ้าไรน์ บริเวณทางเหนือของอิตาลี ทะเลสาบของสวีเดน และทางตะวันตกของคาบสมุทร ไซบีเรียน ส่วนบริเวณที่มีอากาศหนาวเย็น แห้งแล้งและบริเวณที่มีลักษณะ ภูมิประเทศเป็นที่สูง ประชากรจะอาศัยอยู่เบาบาง 4. ภูมิภาค การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป แบ่งตรมที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ดังนี้ 3.1 ยุโรปเหนือ ประกอบด้วยประเทศ ราชอาณาจักรนอร์เวย์ ราช อาณาจักรสวีเดน ราชอาณาจักรเดนมาร์ก สาธารณรัฐฟินแลนด์ สาธารณรัฐ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐลัตเวีย สาธารณรัฐลิทัว เนีย 12
  • 13. 3.2 ยุโรปตะวันตก ประกอบด้วยประเทศ สหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม ราช อาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก ราชรัฐโมนาโก สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี สมาพันธรัฐสวิส สาธารณรัฐออสเตรีย ราชรัฐลิกเตนสไตน์ 3.3 ยุโรปตะวันออก ประกอบด้วยประเทศ สาธารณรัฐโปแลนด์ สา ธารณรัฐเชก สาธารณรัฐสโลวัก สาธารณรัฐเบลารุส สาธารณรัฐมอลโดวา สหพันธรัฐรัสเซีย ยูเครน สาธารณรัฐฮังการี โรมาเนีย สาธารณรัฐบัลกาเรีย 3.4 ยุโรปใต้ ประกอบด้วยประเทศ สาธารณรัฐโปรตุเกส ราช อาณาจักรสเปน ราชรัฐอันดอร์รา สาธารณรัฐอิตาลี สาธารณรัฐ ซานมาริโน นครรัฐวาติกัน สาธารณรัฐมอลตา สาธารณรัฐเฮลเลนิก(กรีซ) สาธารณรัฐแอลบา เนีย สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา สาธารณรัฐโครเอเชีย สาธารณรัฐมาซิโดเนีย สาธารณรัฐสโลเวเนีย สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ) แผนที่ทวีปยุโรป แสดงการแบ่งเขตการปกครอง 5. สังคม วัฒนธรรม จากการที่ทวีปยุโรป เป้นทวีปที่มีการแบ่งเขตแดนออกเป็นประเทศต่างๆ มาก เนื่องมาจากทวีปยุโรปมีวัฒนธรรมท้องถิ่นมาก ทั้งด้านภาษา ศิลป ขนบธรรมเนียม ประเพณี และความเป็นอยู่ แต่ก็ไม่แตกต่างกันมากนัก เนื่องจากต่างยึดมั่นในคริสต์ ศาสนา เชื้อชาติ ประกอบด้วย 2 เชื้อชาติ ได้แก่ 1. เชื้อชาติคอเคซอยด์ ลักษณะรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว ผมสีทอง แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มนอร์ดิก รูปร่างสูงใหญ่ ผมสีทอง ตาสีฟ้า อาศัยอยู่ในนอร์เวย์ สวีเดน และ เดนมาร์ก กลุ่มเมดิเตอร์เรเนียน รูปร่างสูงใหญ่มาก ผมสีดำา ตาสีดำา อาศัยอยู่ในภาคใต้ของ ทวีปยุโรป บริเวณประเทศสเปน อิตาลี และกรีซ กลุ่มอัลไพน์ รูปร่างค่อนข้างเล็กลำ่าสัน และเตี้ย ผมและตาสีนำ้าตาล อาศัยอยู่แถบ เทือกเขาแอลป์ในยุโรปกลาง และภาคใต้ กลุ่มแอลป์และบัลติกตะวันออก รูปร่างไม่สูงใหญ่ ตาสีฟ้า อาศัยอยู่ในยุโรปตะวัน ออก รวมทั้งรัสเซีย 2. เชื้อชาติมองโกลอยด์ ลักษณะรูปร่างปานกลาง ผิวขาว ผมดำา ชาวยุโรปตะวันออก เช่น ฮังการี 13
  • 14. ภาษา ภาษาส่วนใหญ่จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด - ยูโรเปียน เป็นต้นตระกูลที่มีผู้ใช้ จำานวนมาก ประมาณครึ่งหนึ่งของประชากรโลก แบ่งออเป็นสาขาต่าง ๆ รวม 4 สาขา ดังนี้ สาขาเยอรมนิก ภาษาอังกฤษ ภาษาดัตช์ ภาษาเฟลมมิช ภาษาเยอรมัน และภาษา สแกนดิเนเวีย สาขาภาษาโรมานซ์ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส และภาษา โรมาเนีย สาขาภาษาบัลโต-สลาวิก ภาษาบัลแกเรีย ภาษาเช็ก ภาษาแลตเวีย ภาษาลิทัวเนีย ภาษารัสเซีย สาขาอื่น ๆ ภาษาเคลติก ภาษากรีก ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ มี 3 นิกาย ซึ่งสัมพันธ์กับกลุ่มภาษาที่ ใช้ ได้แก่ - นิกายโรมันคาทอลิก ประชากรที่นับถือนิกายนี้ จะ ใช้ภาษากลุ่มภาษาโรมานซ์ - นิกายโปรเตวแตนส์ ประชากรที่นับถือนิกายนี้ จะใช้ภาษากลุ่ม ภาษาติวโตนิก - นิกายกรกออร์โธด็อกซ์ ประชากรที่นับถือนิกายนี้ จะใช้ภาษา กลุ่มภาษาสลาฟ ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม ประชากร บริเวณที่ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุด ในเขตเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่ สำาคัญ ได้แก่ บริเวณภาคเหนือของฝรั่งเศส ภาคใต้ของอังกฤษ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ภาคกลางของเยอรมนี โปแลนด์ และรัสเซีย บริเวณที่ประชากรอาศัยอยู่ เบาบางที่สุด คาบสมุทรและภาคเหนือของรัสเซีย เชื้อชาติ ประกอบด้วย 2 เชื้อชาติ ได้แก่ 1. เชื้อชาติคอเคซอยด์ ลักษณะรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว ผมสีทอง แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มนอร์ดิก รูปร่างสูงใหญ่ ผมสีทอง ตาสีฟ้า อาศัยอยู่ในนอร์เวย์ สวีเดน และ เดนมาร์ก กลุ่มเมดิเตอร์เรเนียน รูปร่างสูงใหญ่มาก ผมสีดำา ตาสีดำา อาศัยอยู่ในภาคใต้ของ ทวีปยุโรป บริเวณประเทศสเปน อิตาลี และกรีซ กลุ่มอัลไพน์ รูปร่างค่อนข้างเล็กลำ่าสัน และเตี้ย ผมและตาสีนำ้าตาล อาศัยอยู่แถบ เทือกเขาแอลป์ในยุโรปกลาง และภาคใต้ กลุ่มแอลป์และบัลติกตะวันออก รูปร่างไม่สูงใหญ่ ตาสีฟ้า อาศัยอยู่ในยุโรปตะวัน ออก รวมทั้งรัสเซีย 2. เชื้อชาติมองโกลอยด์ ลักษณะรูปร่างปานกลาง ผิวขาว ผมดำา ชาวยุโรปตะวันออก เช่น ฮังการี ภาษา ภาษาส่วนใหญ่จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด - ยูโรเปียน เป็นต้น ตระกูลที่มีผู้ใช้จำานวนมาก ประมาณครึ่งหนึ่งของประชากรโลก แบ่งออ เป็นสาขาต่าง ๆ รวม 4 สาขา ดังนี้ สาขาเยอรมนิก ภาษาอังกฤษ ภาษาดัตช์ ภาษาเฟลมมิช ภาษาเยอรมัน และภาษา สแกนดิเนเวีย 14
  • 15. สาขาภาษาโรมานซ์ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส และภาษา โรมาเนีย สาขาภาษาบัลโต-สลาวิก ภาษาบัลแกเรีย ภาษาเช็ก ภาษาแลตเวีย ภาษาลิทัวเนีย ภาษารัสเซีย สาขาอื่น ๆ ภาษาเคลติก ภาษากรีก ศาสนา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ แบ่งออกเป็น 3 นิกายใหญ่ ดังนี้ นิกายโรมันคาทอลิก นับถือมากบริเวณในยุโรปภาคใต้และภาคตะวันออก โดยมี สันตะปาปาแห่งนครวาติกัน รัฐอิสระในอิตาลี ซึ่งเป็นผู้นำาสูงสุดของศาสนจักร นิกายกรีกออร์ธอดอกซ์ นับถือในคาบสมุทรบอลข่าน และรัสเซีย เน้นพิธีกรรมทาง ศาสนา นิกายโปรเตสแตนท์ นับถือมากในยุโรปภาคเหนือและภาคตะวันตก นิกายนี้แบ่งออก เป็นนิกายย่อย ๆ จำานวนมาก ถือปฏิบัติตามพระคัมภีร์ไบเบิล เศรษฐกิจ เกษตรกรรม ทวีปยุโรปใช้ที่ดินทำาการเกษตรอย่างหนาแน่น ผลผลิตอยู่ในเกณฑ์สูงมากเนื่องจาก พื้นที่ส่วนใหญ่มีอากาศอบอุ่น ปริมาณฝนเพียงพอ เทคโนโลยีการเกษตรอันก้าวหน้า รวมทั้งมีตลาดและมาตรการรองรับ โดยเขตเกษตรกรรมของยุโรปแบ่งออกเป็น 5 เขต ได้แก่ เขตเกษตรกรรมแบบผสม เพาะปลูกควบคู่ไปกับการเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ขนาดเล็ก ปลูก ข้าวสาลี ข้าวไรย์ ข้าวบาเลย์ หัวผักกาดหวาน และเลี้ยงโคเนื้อ โคนม แกะ เขตภาค ตะวันตกและภาคกลางของทวีป ในฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน เขตเกษตรกรรมแบบเมดิเตอร์เรเนียน ฝนตกน้อยและแสงแดดมาก พืชสำาคัญคือ ส้ม องุ่น มะกอก ปลูกมากในเขตชายฝั่งเมดิเตอร์เรเนียน เช่น อิตาลี กรีซ เขตปลูกข้าวสาลี เขตภาคกลางของฮังการี โรมาเนีย ยูเครน และภาคใต้ของรัสเซีย เขตทำาไร่ปศุสัตว์ เลี้ยงวัว แพะ และแกะ เขตชายฝั่งทะเลแคริบเบียนในเขตใต้สุดของ รัสเซีย เขตเลี้ยงสัตว์แบบเร่ร่อน มีภูมิอากาศแบบทุนดรา สัวต์เลี้ยงสำาคัญคือ กวางเรนเดียร์ เขตชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกตอนเหนือของทวีป ในประเทศฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ การทำาป่าไม้ ทำาในเขตป่าไทกา ไม้สน ซึ่งเป็นไม้เนื้ออ่อนสำาหรับผลิตกระดาษ การประมง ชายฝั่งของทวีปยุโรปยาวและเว้าแหว่งมาก เหมาะเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ นำ้า และยังมีกระแสนำ้าอุ่นแอตแลนติกเหนือไหลเลียบชายฝั่งประเทศฝรั่งเศส ขึ้นไปถึง ชายฝั่งประเทศนอร์เวย์ ทำาให้นำ้าไม่เป็นนำ้าแข็งในฤดูหนาว น่านนำ้าของทวีปยุโรปจึง มีปลาอุดมสมบูรณ์ตลอดปี แหล่งประมงสำาคัญได้แก่ น่านนำ้าทะเลเหนือ เรียกว่า "ดอก เกอร์แบงก์" ทะเลนอร์วีเจียน และเกาะไอซ์แลนด์ ประเทศประมงชั้นนำา ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก นอร์เวย์ และไอซ์แลนด์ แร่ที่สำาคัญ ได้แก่ ถ่านหิน ฝรั่งเศส เบลเยียม ลุ่มแม่นำ้ารูห์ของเยอรมนี ภาคใต้ของโปแลนด์และ รัสเซีย เหล็ก สวีเดน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส และภาคใต้ของรัสเซีย นำ้ามันปิโตรเลียม บริเวณทะเลเหนือ ตอนใต้ของรัสเซีย และยูเคน อุตสาหกรรม 15
  • 16. ประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำา ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี เบลเยียม สวีเดน สืบเนื่องมาจาก ทุนมาก ทรัพยากรคุณภาพ การศึกษา เทคโนโลยี ไฟฟ้า การ คมนาคมสะดวก อุตสาหกรรมที่สำาคัญ ได้แก่ ถลุงเหล็ก ผลิตเหล็กกล้า ผลิตยาน พาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ผลิตเคมีภัณฑ์ ผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้า และเครื่องอิเลคทรอ นิกส์ ประเทศในทวีปยุโรป ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร (ล้าน คน) (2551) กรีซ เอเธนส์ 130,463 11.2 โครเอเชีย ซาเกร็บ 55,882 4.4 สาธารณรัฐเช็ก ปราก 78,864 10.4 ซานมารีโน ซานมารีโน 61 0.03 เซอร์เบีย เบลเกรด 88,361 12.1 เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 42,593 5.5 นอร์เวย์ ออสโล 320,466 4.8 เนเธอร์แลนด์ อัมสเตอร์ดัม 41,019 16.4 บอสเนียและเฮอร์ เซโกวีนา ซาราเยโว 50,537 3.8 บัลแกเรีย โซเฟีย 109,627 7.6 เบลเยียม บรัสเซลส์ 30,164 10.7 เบลารุส มินสก์ 205,194 9.7 โปรตุเกส ลิสบอน 91,320 10.6 โปแลนด์ วอร์ซอ 312,056 38.1 ฝรั่งเศส ปารีส 537,666 62.0 ฟินแลนด์ เฮลซิงกิ 334,288 5.3 มอนเตเนโกร พอดกอรีต ซา 91,320 10.6 มอลโดวา คีชีเนา 13,812 0.6 มอลตา วัลเลตตา 312 0.4 มาซิโดเนีย สโกเปีย 25,416 2.0 โมนาโก โมนาโก 1.5 0.03 ยูเครน เคียฟ 597,007 46.2 เยอรมนี เบอร์ลิน 352,914 82.2 รัสเซีย มอสโก 16,877,29 1 141.9 โรมาเนีย บูคาเรสต์ 234,749 21.5 ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก 2,555 0.5 ลัตเวีย รีกา 63,851 2.3 ลิกเตนสไตน์ วาดุซ 160 0.04 ลิทัวเนีย วิลนีอุส 64,445 3.4 16
  • 17. นครรัฐวาติกัน วาติกัน 0.5 0.0009 สเปน มาดริด 498,936 46.5 สโลวาเกีย บราติสลาวา 49,036 5.4 สโลวีเนีย ลูบลิยานา 19,761 2.0 สวิตเซอร์แลนด์ เบิร์น 40,809 7.6 สวีเดน สตอกโฮล์ม 444,754 9.2 สหราชอาณาจักร ลอนดอน 241,275 61.3 ออสเตรีย เวียนนา 82,885 8.4 อันดอร์รา อันดอร์ราลา เวลลา 448 0.1 อิตาลี โรม 297,789 59.9 เอสโตเนีย ทาลลินน์ 44,577 1.3 แอลเบเนีย ติรานา 28,416 3.2 ไอซ์แลนด์ เรคยาวิก 101,809 0.3 ไอร์แลนด์ ดับลิน 69,471 4.5 ฮังการี บูดาเปสต์ 91,953 10.0 ทวีปยุโรป 10,600,00 0 1 745.9069 2 1 ไม่รวมรัสเซียตะวันออกไกล 2 ข้อมูลอย่างไม่เป็นทางการ ในทวีปยุโรปถึงแม้ว่าจะมีความยาวไม่เท่ากับแม่นำ้าสายยาวๆ ในทวีป เอเซีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ แต่ก็ใช้ประโยชน์ในด้านการ คมนาคมขนส่งได้มาก เพราะมีนำ้าไหลสมำ่าเสมอตลอดทั้งปี และมีการขุด 17
  • 18. คลองเชื่อมแม่นำ้าสายต่างๆ เข้าด้วยกัน ทำาให้เดินเรือได้สะดวก โดยเฉพาะ แม่นำ้าที่ไหลลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติกซึ่งเป็นเส้นทางเดินเรือสายใหญ่ นับ ว่ามีความสำาคัญมากกว่าแม่นำ้าที่ไหลลงมหาสมุทรอาร์กติกและทะเลภายใน ต่างๆ ซึ่งอยู่นอกเส้นทางการค้า แม่นำ้าที่สำาคัญในทวีปยุโรปมีดังต่อไปนี้ 1. แม่นำ้าไรน์ มีต้นนำ้าอยู่ที่เทือกเขาแอลป์ทางตอนใต้ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์ขึ้นไปทางเหนือ จนถึงพรมแดนระหว่าง ฝรั่งเศสกับเยอรมนีแล้วไหลต่อเข้าไปในประเทศเยอรมนีและประเทศ เนเธอร์แลนด์ ไปออกทะเลเหนือ มีความยาว 1312 กิโลเมตร นับเป็นแม่นำ้าระหว่างประเทศ ที่มีความสำาคัญมากที่สุดของทวีป ยุโรปการส่งสินค้าตามลำานำ้าสายนี้มีเป็นจำานวนมาก สินค้าสำาคัญ ได้แก่ ถ่านหิน แร่เหล็ก และแป้งสาลี โดยเฉพาะถ่านหิน เป็นสินค้าที่มีความสำาคัญ มากที่สุด เนื่องจากแม่นำ้าไรน์ไหลผ่านย่านอุตสาหกรรมเหมืองแร่ถ่านหิน ของประเทศเยอรมนี แม่นำ้าสายนี้จึงได้รับสมญาว่าเป็นแม่นำ้าถ่านหิน ( Coal River) เมืองท่า สำาคัญที่ตังอยู่ที่ปากแม่นำ้าไรน์ในประเทศเนเธอร์แลนด์ คือ เมือง รอตเตอร์ดัม เป็นเมืองท่าที่มีจำานวนเรือสินค้ามาจอดรับส่งสินค้ามากกว่า เมืองท่าอื่นๆ ของทวีปยุโรป 2. แม่นำ้าเอลเบ มีต้นนำ้าอยู่ในประเทศเช็คและสโลวัก ไหลผ่านประเทศเยอรมนีไป ออกทะเลเหนือ มีความยาว 1152 กิโลเมตร เมืองท่าสำาคัญที่ตั้งอยู่ใกล้ปาก แม่นำ้า คือ เมืองฮัมบูร์ก เป็นเมืองท่าใหญ่ที่สุดของประเทศเยอรมนี 18
  • 19. 3. แม่นำ้าดานูบ มีต้นนำ้าอยู่ในภาคใต้ของประเทศเยอรมนี ไหลผ่านประเทศ ออสเตรีย ฮังการี ยูโกสลาเวีย และพรมแดนระหว่างประเทศบัลกาเรียกับ ประเทศโรมาเนีย เป็นแม่นำ้าระหว่างประเทศที่ไหลผ่านจำานวนประเทศ จำานวนมากที่สุดในทวีปยุโรป แต่ในด้านความสำาคัญของการคมนาคมขนส่ง ทางนำ้ามีไม่มากเท่ากับแม่นำ้าไรน์และแม่นำ้าเอลเ บ เนื่องจากแม่นำ้าดานูบไหล ลงสู่ทะเลดำา ไม่ได้อยู่ในเส้นทางเดินเรือสายสำาคัญของโลกมยาว 2760 กิโลเมตร 4. แม่นำ้าโวลกา 19