SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
เรื่ อง ประเพณีลอยกระทง
เสนอ
อาจารย์ วารดา พุ่มผกา

จัดทาโดย
นาย วิสุทธิ์

หาเมธี 5421302109
ประวัติประเพณีลอยกระทง

เทศกาลลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญขึน 15 คา เดือน 12 ของทุกปี หรืออยู่ใน
้
่
ราว เดือนพฤศจิกายนถือว่ าเป็ นประเพณีเก่าแก่ของไทยทีมีต้งแต่ ครั้ งสมัยสุ โขทัย
่ ั
เรียกกันว่ า งานลอยพระประทีป หรือลอยโคม เป็ นงานนักขัตฤกษ์ รื่นเริงของ
ประชาชนทัวไป ต่ อมานางนพมาศ หรือ ท้ าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่ วงได้
่
คิดประดิษฐ์ ดดแปลง เป็ นรู ปกระทงดอกบัวแทนการลอยโคม
ั
การลอยกระทง หรื อลอยโคมในสมัยนางนพมาศนั้น กระทาเพื่อเป็ นการ
่
สักการะรอยพระพุทธบาทที่แม่น้ านัมมหานที ซึ่ งเป็ นแม่น้ าสายหนึ่งอยูใน
แคว้นทักขิณาของประเทศอินเดีย ซึ่ งปั จจุบน เรี ยกว่าแม่น้ าเนรพุททา สาหรับ
ั
ประเทศไทยประเพณี ลอยกระทงได้กาหนดจัดในทุกพื้นที่ทวประเทศ
ั่
โดยเฉพาะอย่างยิงบริ เวณที่ติดกับแม่น้ า ลาคลอง หรื อ แหล่งน้ าต่าง ๆ ในวัน
่
ลอยกระทง ผูคนจะพากันทา "กระทง" จากวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ตกแต่งเป็ นรู ป
้
คล้ายดอกบัวบาน ปั กธูปเทียน และนิยมตัดเล็บ เส้นผม หรื อใส่ เหรี ยญกษาปณ์
็
ลงไปในกระทง แล้วนาไปลอยในสายน้ า ซึ่ งแต่ละพื้นที่กจะมีเอกลักษณ์ที่
น่าสนใจแตกต่างกันไป
ประเพณีในแต่ ละท้ องถิ่น

ภาคเหนือตอนบน นิยมทาโคมลอย เรี ยกว่า "ลอยโคม" หรื อ "ว่าวฮม" หรื อ "ว่าว
ควัน" ทาจากผ้าบางๆ แล้วสุ มควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างบัลลูน ประเพณี
ของชาวเหนือนี้เรี ยกว่า ยีเ่ ป็ ง หมายถึงการทาบุญในวันเพ็ญเดือนยี่(ซึ่ งนับวันตามแบบ
ล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิ บสองในแบบไทย) จังหวัดเชียงใหม่ มีประเพณี "ยีเ่ ป็ ง"
เชียงใหม่ ในทุกๆปี จะมีการจัดงานขึ้นอย่างยิงใหญ่ตระการตา และมีการปล่อยโคมลอย
่
ขึ้นเต็มท้องฟ้ า จังหวัดตาก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรี ยงรายไปเป็ นสาย เรี ยกว่า
"กระทงสาย“ จังหวัดสุ โขทัย ขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง
ภาคอีสาน ในอดีตมีการเรี ยกประเพณี ลอยกระทงในภาคอีสานว่า สิ บสองเพ็ง
หมายถึง วันเพ็ญเดือนสิ บสองซึ่ งจะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป เช่น จังหวัด
่
ร้อยเอ็ด มีชื่องานประเพณี วา "สมมาน้ าคืนเพ็ง เส็งประทีป" ตามภาษาถิ่นมีความ
หมายถึงการขอขมาพระแม่คงคา ในคืนวันเพ็ญเดือนสิ บสอง การประกวดประทีป
โคมไฟและกระทงอันสวยงาม มีการจาลองแห่หวเมืองสาเกตุนครทั้ง11 หัวเมือง
ั
จังหวัดสกลนคร ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับการทา
่
ปราสาทผึ้งโบราณ เรี ยกงานนี้วาเทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิ บสองเพ็ง
ไทสกล จังหวัดนครพนม จะตกแต่งเรื อแล้วประดับไฟ เป็ นรู ปต่างๆ เรี ยกว่า "ไหล
เรื อไฟ"โดยเฉพาะที่จงหวัดนครพนมเพราะมีความงดงามและอลังการที่สุดในภาค
ั
อีสาน
ภาคกลาง มีการจัดประเพณี ลอยกระทงขึ้นทัวทุกจังหวัดกรุ งเทพมหานคร จะมี
่
งานภูเขาทอง เป็ นรู ปแบบงานวัด เฉลิมฉลองราว 7-10 วัน ก่อนงานลอยกระทง และ
จบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง จังหวัดพระนครศรี อยุธยา มีการจัดงานประเพณี
ลอยกระทงกรุ งเก่าขึ้นอย่างยิงใหญ่บริ เวณอุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรี อยุธยา
่
ภายในงานมีการจัดแสดงแสง สี เสี ยง อย่างงดงามตระการตา

ภาคใต้ อย่างที่อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็มีการจัดงานอย่างยิงใหญ่
่
นอกจากนั้น ในจังหวัดอื่นๆ ก็จะจัดงานวันลอยกระทงด้วยเช่นกัน
ความเชื่อเกียวกับวันลอยกระทง
่
เป็ นการขอขมาพระแม่คงคา ที่มนุษย์ได้ใช้น้ า ได้ดื่มกินน้ า รวมไปถึงการ
ทิ้งสิ่ งปฏิกลต่างๆ ลงในแม่น้ า
ู
 เป็ นการสักการะรอยพระพุทธบาท ที่พระพุทธเจ้าทรงได้ประทับรอยพระ
บาทไว้หาดทรายแม่น้ านัมมทานที ในประเทศอินเดีย
 เป็ นการลอยความทุกข์ ความโศกรวมถึงโรคภัยต่างๆ ให้ลอยไปกับแม่น้ า

คุณค่ า ประเพณีลอยกระทง นับเป็ นประเพณีทมีคุณค่ าต่ อ
ี่
ครอบครัวชุ มชน สั งคม และศาสนา กล่าวคือ
1. คุณค่าต่อครอบครัว ทาให้สมาชิกในครอบครัวได้ทากิจกรรม
ร่ วมกัน เช่น การประดิษฐ์กระทง แล้วนาไปลอยน้ าเพื่อแสดงความกตัญญู
กตเวทีต่อน้ าที่ให้คุณประโยชน์แก่เรา บางท้องถิ่นจะลอยเพื่อเป็ นการแสดง
ความระลึกถึงบรรพบุรุษอีกด้วย
2. คุณค่าต่อชุมชน ทาให้เกิดความสามัคคีในชุมชน เช่น ร่ วมกันคิด
แประดิษฐ์กระทง เป็ นการส่ งเสริ มและสื บทอดศิลปกรรมด้านช่างฝี มืออีก
ด้วย ทั้งยังเป็ นการพบปะสังสรรค์ สนุกสนานรื่ นเริ งบันเทิงใจร่ วมกัน
3. คุณค่าต่อสังคม ทาให้ความเอื้ออาทรต่อสิ่ งแวดล้อม ด้วยการช่วยกัน
รักษาความสะอาดแม่น้ า ลาคลอง โดยการขุด ลอก เก็บขยะในแม่น้ าลาคลองให้
สะอาด และไม่ทิ้งสิ่ งปฏิกลลงไปในแม่น้ าลาคลองอีกด้วย
ู
4. คุณค่าต่อศาสนา ช่วยกันบารุ งศาสนา เช่น ทางภาคเหนือ ลอยกระทง
เพื่อเป็ นการบูชารอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า และยังจัดให้มีการทาบุญ
ให้ทาน การปฏิบติธรรม และฟังเทศน์ดวย
ั
้
กิจกรรมในวันลอยกระทง

1. การลอยกระทงในปัจจุบน ยังคงรักษารู ปแบบเดิมเอาไว้ได้ตามสมควร ชาวบ้าน
ั
จัดเตรี ยมทากระทงจากวัสดุที่หาง่ายตามธรรมชาติ เช่น หยวกกล้วย และดอกบัว
นามาประดิษฐ์เป็ นกระทงสวยงาม ปักธูปเทียนและดอกไม้ เครื่ องสักการบูชา ก่อน
ทาการลอยในแม่น้ าก็จะอธิ ษฐานในสิ่ งที่มุ่งหวังพร้อมขอขมาต่อพระแม่คงคา ตาม
คุมวัดหรื อสถานที่จดงานหลายแห่ ง มีการประกวดกระทง ประกวดนางนพมาศ
้
ั
และมีมหรสพสมโภชในตอนกลางคืน นอกจากนั้นยังมีการจุดดอกไม้ ไฟ พลุ
ตะไล ซึ่ งในการเล่นต้องระมัดระวังเป็ นพิเศษ วัสดุที่นามาใช้ทากระทง ควรเป็ น
ของที่สามารถย่อยสลายได้ง่ายตามธรรมชาติ
2. ให้การสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ในวันลอยกระทง เช่น การประกวดกระทง
ประกวดนางนพมาศการละเล่นพื้นเมือง เช่น ราวง เพลงเรื อ เพื่อสื บสาน
วัฒนธรรมไทย
3. จัดนิทรรศการ หรื อพิธีการลอยกระทง เพื่อเผยแพร่ และอนุรักษ์ประเพณี ไทย
4. จัดรณรงค์ให้มีการใช้วสดุจากธรรมชาติมาทากระทง เพื่อไม่ให้เกิดมลภาวะแก่
ั
แม่น้ าลาคลอง
ปัญหาในการลอยกระทง
1. การจุดดอกไม้ไฟ ประทัด หรื อพลุ โดยเฉพาะเด็กและวัยรุ่ น จุดเล่นกันอย่างคึก
คะนองไม่เป็ นที่เป็ นทาง ไม่ระมัดระวัง จุดเล่นตามถนนหนทาง โดยไม่คานึงถึง
อันตรายที่จะเกิดแก่ผคนและยวดยานที่สัญจรไปมา และอาจเป็ นสาเหตุให้เกิด
ู้
เพลิงไหม้บานเรื อนได้
้
2. การประกวดนางนพมาศ ให้ความสาคัญมากเกินไป ถือเป็ นกิจกรรมหลักของ
ประเพณี ซึ่ งที่แท้จริ งแล้วไม่ใช่แก่นแท้ของประเพณี เลย เป็ นเพียงกิจกรรมที่เสริ ม
ขึ้นมาภายหลัง เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน และเป็ นสิ่ งดึงดูดนักท่องเที่ยว
3. การประดิษฐ์กระทง สมัยก่อนใช้วสดุพ้ืนบ้านหรื อตามธรรมชาติ เช่น ทาจาก
ั
่
ใบตอง หยวกกล้วย ซึ่ งเป็ นวัสดุยอยสลายง่าย แต่ปัจจุบนกลับนิยมใช้วสดุโฟม ซึ่ ง
ั
ั
ย่อยสลายยาก ทาให้แม่น้ าลาคลองสกปรก เน่าเหม็น เกิดมลภาวะเป็ นพิษ
ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อมจากเทศกาลวันลอยกระทง

วันลอยกระทงเพิ่งผ่านพ้นไป ความสนุกสนานรื่ นเริ งจากการฉลองเป็ นอยู่
อย่างนี้ทุกปี แต่สิ่งที่เหลือจากงานลอยกระทงมีแต่จะเพิ่มขึ้นทุกปี ทุกปี ก็คือขยะแต่
ปั ญหาที่เราไม่ได้เห็น ไม่ได้รับรู ้ ก็คือวิธีการกาจัดขยะกระทง การกาจัดขยะส่ วน
ใหญ่ในประเทศไทยจะใช้วธีฝังกลบ
ิ
แต่ดวยปริ มาณขยะมากมายขนาดนี้ ในช่วงเทศกาลการจัดสรรหาพื้นที่ฝังกลบ
้
็
ขยะ ไม่สามารถจัดการกันได้ง่ายๆ และรวดเร็ ว หากฝังกลบผิดวิธีกจะก่อให้เกิด
มลพิษกับดิน และน้ าใต้ดินที่ปนเปื้ อนน้ าเสี ยหรื อน้ าชะขยะจากการฝังกลบ
นอกจากปั ญหาการกาจัดขยะ หรื อปั ญหาน้ าเน่าเสี ยสกปรก จากการใช้วสดุที่ไม่
ั
เหมาะสมกับแหล่งน้ า อีกปั ญหาหนึ่งที่เรามักไม่คานึ งถึงคือ มลพิษทางอาการที่
เกิดจากการจุดพลุ ประทัด และดอกไม้ไฟ
นักวิชาการจากห้องปฏิบติการวิจยเคมีโพลิเมอร์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและ
ั
ั
วัสดุแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ งชาติ (สวทช.) ได้ให้
คาแนะนาในการลอยกระทงและช่วยลดปั ญหาขยะจากกระทงไว้ 3 แนวทาง คือ
แนวทางช่ วยลดปัญหาขยะจากกระทง
1. เลือกวัสดุลอยกระทงให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
2. การใช้หลัก 3R มาประยุกต์ใช้ในการลอยกระทง คือ การลดขนาดหรื อ
จานวน หรื อการใช้ร่วมกัน (Reduce) การใช้ซ้ า (Reuse) และการนากลับมาใช้ใหม่
่
หรื อการเก็บขยะที่ยอยสลายได้มาหมักทาปุ๋ ยชีวภาพ (Recycle)
3. การใช้วสดุแบบเดียวกัน เพราะปั ญหาหนึ่งของการกาจัดขยะกระทงคือ
ั
ปั ญหาการแยะขยะ หากเราใช้วสดุประเภทเดียวกันหรื อคล้ายกัน ก็จะเป็ นการง่าย
ั
แก่ผจดเก็บและผูกาจัด ทาให้การจัดการขยะเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว
ู้ ั
้
ผลกระทบต่ อสั งคมจากเทศกาลวันลอยกระทง
สาหรับประเทศไทยปั จจุบน มีการล่วงละเมิดทางเพศเกิดขึ้นมากอย่างยิงใน
ั
่
วันลอยกระทง ผลสารวจของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ
เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2555 พบว่า เทศกาลลอยกระทงชักนาให้วยรุ่ นไทยร่ วม
ั
ั
ประเวณี กนมากที่สุด มีความเป็ นไปได้ที่เยาวชนไทยร้อยละ 38 จะถูกล่วงละเมิด
ทางเพศในวันลอยกระทง ทั้งนี้ เพราะเทศกาลลอยกระทงจัดในยามค่าคืน หนุ่มสาว
พบเจอกันได้ง่ายและมักเสพสุ รายาเมากันนอกจากนี้ มหาเถรสมาคมยังเปิ ดเผยด้วย
ว่า ในภาคอีสานมักจัดงานวัดซึ่ งประกอบด้วยการเสพของมึนเมาและจัดแสดง
อนาจารในคืนลอยกระทง
หากพวกเราคนไทยร่วมมือร่วมใจกันคนละนิด ลดจานวนขยะ ลดการ
เพิ่มแก๊ สพิษ และแก๊ สเรื อนกระจก งานลอยกระทงก็จะไม่ใช่การทิ ้งขยะลงน ้า แต่
เป็ นการแสดงความเคารพแต่ "แม่น ้า" หรื อ "พระแม่คงคา" อย่างแท้ จริง
ที่มา

http://www.kodhit.com
http://th.wikipedia.org
http://www.hmk.ac.th
http://www.seub.or.th
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์Moll Kim
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะPop Punkum
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทย6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทยChaichan Boonmak
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์sudchaleom
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 

What's hot (20)

บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
ดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตนดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตน
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทย6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทย
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 

Similar to เรื่องประเพณีลอยกระทง

ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมsupreedada
 
ขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาRujruj
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทงประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทงPloy Wanida
 
ลอยกระทง
ลอยกระทง ลอยกระทง
ลอยกระทง reemary
 
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์Maname Wispy Lbe
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗Boonlert Aroonpiboon
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนThammasat University
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทยbabyoam
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีKKloveyou
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 

Similar to เรื่องประเพณีลอยกระทง (20)

หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
29 อารีรัตน์
29 อารีรัตน์29 อารีรัตน์
29 อารีรัตน์
 
หนึ่ง
หนึ่งหนึ่ง
หนึ่ง
 
ขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนา
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทงประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
 
ลอยกระทง
ลอยกระทง ลอยกระทง
ลอยกระทง
 
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 

เรื่องประเพณีลอยกระทง

  • 3. ประวัติประเพณีลอยกระทง เทศกาลลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญขึน 15 คา เดือน 12 ของทุกปี หรืออยู่ใน ้ ่ ราว เดือนพฤศจิกายนถือว่ าเป็ นประเพณีเก่าแก่ของไทยทีมีต้งแต่ ครั้ งสมัยสุ โขทัย ่ ั เรียกกันว่ า งานลอยพระประทีป หรือลอยโคม เป็ นงานนักขัตฤกษ์ รื่นเริงของ ประชาชนทัวไป ต่ อมานางนพมาศ หรือ ท้ าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่ วงได้ ่ คิดประดิษฐ์ ดดแปลง เป็ นรู ปกระทงดอกบัวแทนการลอยโคม ั
  • 4. การลอยกระทง หรื อลอยโคมในสมัยนางนพมาศนั้น กระทาเพื่อเป็ นการ ่ สักการะรอยพระพุทธบาทที่แม่น้ านัมมหานที ซึ่ งเป็ นแม่น้ าสายหนึ่งอยูใน แคว้นทักขิณาของประเทศอินเดีย ซึ่ งปั จจุบน เรี ยกว่าแม่น้ าเนรพุททา สาหรับ ั ประเทศไทยประเพณี ลอยกระทงได้กาหนดจัดในทุกพื้นที่ทวประเทศ ั่ โดยเฉพาะอย่างยิงบริ เวณที่ติดกับแม่น้ า ลาคลอง หรื อ แหล่งน้ าต่าง ๆ ในวัน ่ ลอยกระทง ผูคนจะพากันทา "กระทง" จากวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ตกแต่งเป็ นรู ป ้ คล้ายดอกบัวบาน ปั กธูปเทียน และนิยมตัดเล็บ เส้นผม หรื อใส่ เหรี ยญกษาปณ์ ็ ลงไปในกระทง แล้วนาไปลอยในสายน้ า ซึ่ งแต่ละพื้นที่กจะมีเอกลักษณ์ที่ น่าสนใจแตกต่างกันไป
  • 5. ประเพณีในแต่ ละท้ องถิ่น ภาคเหนือตอนบน นิยมทาโคมลอย เรี ยกว่า "ลอยโคม" หรื อ "ว่าวฮม" หรื อ "ว่าว ควัน" ทาจากผ้าบางๆ แล้วสุ มควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างบัลลูน ประเพณี ของชาวเหนือนี้เรี ยกว่า ยีเ่ ป็ ง หมายถึงการทาบุญในวันเพ็ญเดือนยี่(ซึ่ งนับวันตามแบบ ล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิ บสองในแบบไทย) จังหวัดเชียงใหม่ มีประเพณี "ยีเ่ ป็ ง" เชียงใหม่ ในทุกๆปี จะมีการจัดงานขึ้นอย่างยิงใหญ่ตระการตา และมีการปล่อยโคมลอย ่ ขึ้นเต็มท้องฟ้ า จังหวัดตาก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรี ยงรายไปเป็ นสาย เรี ยกว่า "กระทงสาย“ จังหวัดสุ โขทัย ขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง
  • 6. ภาคอีสาน ในอดีตมีการเรี ยกประเพณี ลอยกระทงในภาคอีสานว่า สิ บสองเพ็ง หมายถึง วันเพ็ญเดือนสิ บสองซึ่ งจะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป เช่น จังหวัด ่ ร้อยเอ็ด มีชื่องานประเพณี วา "สมมาน้ าคืนเพ็ง เส็งประทีป" ตามภาษาถิ่นมีความ หมายถึงการขอขมาพระแม่คงคา ในคืนวันเพ็ญเดือนสิ บสอง การประกวดประทีป โคมไฟและกระทงอันสวยงาม มีการจาลองแห่หวเมืองสาเกตุนครทั้ง11 หัวเมือง ั จังหวัดสกลนคร ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับการทา ่ ปราสาทผึ้งโบราณ เรี ยกงานนี้วาเทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิ บสองเพ็ง ไทสกล จังหวัดนครพนม จะตกแต่งเรื อแล้วประดับไฟ เป็ นรู ปต่างๆ เรี ยกว่า "ไหล เรื อไฟ"โดยเฉพาะที่จงหวัดนครพนมเพราะมีความงดงามและอลังการที่สุดในภาค ั อีสาน
  • 7. ภาคกลาง มีการจัดประเพณี ลอยกระทงขึ้นทัวทุกจังหวัดกรุ งเทพมหานคร จะมี ่ งานภูเขาทอง เป็ นรู ปแบบงานวัด เฉลิมฉลองราว 7-10 วัน ก่อนงานลอยกระทง และ จบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง จังหวัดพระนครศรี อยุธยา มีการจัดงานประเพณี ลอยกระทงกรุ งเก่าขึ้นอย่างยิงใหญ่บริ เวณอุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรี อยุธยา ่ ภายในงานมีการจัดแสดงแสง สี เสี ยง อย่างงดงามตระการตา ภาคใต้ อย่างที่อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็มีการจัดงานอย่างยิงใหญ่ ่ นอกจากนั้น ในจังหวัดอื่นๆ ก็จะจัดงานวันลอยกระทงด้วยเช่นกัน
  • 8. ความเชื่อเกียวกับวันลอยกระทง ่ เป็ นการขอขมาพระแม่คงคา ที่มนุษย์ได้ใช้น้ า ได้ดื่มกินน้ า รวมไปถึงการ ทิ้งสิ่ งปฏิกลต่างๆ ลงในแม่น้ า ู  เป็ นการสักการะรอยพระพุทธบาท ที่พระพุทธเจ้าทรงได้ประทับรอยพระ บาทไว้หาดทรายแม่น้ านัมมทานที ในประเทศอินเดีย  เป็ นการลอยความทุกข์ ความโศกรวมถึงโรคภัยต่างๆ ให้ลอยไปกับแม่น้ า 
  • 9. คุณค่ า ประเพณีลอยกระทง นับเป็ นประเพณีทมีคุณค่ าต่ อ ี่ ครอบครัวชุ มชน สั งคม และศาสนา กล่าวคือ 1. คุณค่าต่อครอบครัว ทาให้สมาชิกในครอบครัวได้ทากิจกรรม ร่ วมกัน เช่น การประดิษฐ์กระทง แล้วนาไปลอยน้ าเพื่อแสดงความกตัญญู กตเวทีต่อน้ าที่ให้คุณประโยชน์แก่เรา บางท้องถิ่นจะลอยเพื่อเป็ นการแสดง ความระลึกถึงบรรพบุรุษอีกด้วย 2. คุณค่าต่อชุมชน ทาให้เกิดความสามัคคีในชุมชน เช่น ร่ วมกันคิด แประดิษฐ์กระทง เป็ นการส่ งเสริ มและสื บทอดศิลปกรรมด้านช่างฝี มืออีก ด้วย ทั้งยังเป็ นการพบปะสังสรรค์ สนุกสนานรื่ นเริ งบันเทิงใจร่ วมกัน
  • 10. 3. คุณค่าต่อสังคม ทาให้ความเอื้ออาทรต่อสิ่ งแวดล้อม ด้วยการช่วยกัน รักษาความสะอาดแม่น้ า ลาคลอง โดยการขุด ลอก เก็บขยะในแม่น้ าลาคลองให้ สะอาด และไม่ทิ้งสิ่ งปฏิกลลงไปในแม่น้ าลาคลองอีกด้วย ู 4. คุณค่าต่อศาสนา ช่วยกันบารุ งศาสนา เช่น ทางภาคเหนือ ลอยกระทง เพื่อเป็ นการบูชารอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า และยังจัดให้มีการทาบุญ ให้ทาน การปฏิบติธรรม และฟังเทศน์ดวย ั ้
  • 11. กิจกรรมในวันลอยกระทง 1. การลอยกระทงในปัจจุบน ยังคงรักษารู ปแบบเดิมเอาไว้ได้ตามสมควร ชาวบ้าน ั จัดเตรี ยมทากระทงจากวัสดุที่หาง่ายตามธรรมชาติ เช่น หยวกกล้วย และดอกบัว นามาประดิษฐ์เป็ นกระทงสวยงาม ปักธูปเทียนและดอกไม้ เครื่ องสักการบูชา ก่อน ทาการลอยในแม่น้ าก็จะอธิ ษฐานในสิ่ งที่มุ่งหวังพร้อมขอขมาต่อพระแม่คงคา ตาม คุมวัดหรื อสถานที่จดงานหลายแห่ ง มีการประกวดกระทง ประกวดนางนพมาศ ้ ั และมีมหรสพสมโภชในตอนกลางคืน นอกจากนั้นยังมีการจุดดอกไม้ ไฟ พลุ ตะไล ซึ่ งในการเล่นต้องระมัดระวังเป็ นพิเศษ วัสดุที่นามาใช้ทากระทง ควรเป็ น ของที่สามารถย่อยสลายได้ง่ายตามธรรมชาติ
  • 12. 2. ให้การสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ในวันลอยกระทง เช่น การประกวดกระทง ประกวดนางนพมาศการละเล่นพื้นเมือง เช่น ราวง เพลงเรื อ เพื่อสื บสาน วัฒนธรรมไทย 3. จัดนิทรรศการ หรื อพิธีการลอยกระทง เพื่อเผยแพร่ และอนุรักษ์ประเพณี ไทย 4. จัดรณรงค์ให้มีการใช้วสดุจากธรรมชาติมาทากระทง เพื่อไม่ให้เกิดมลภาวะแก่ ั แม่น้ าลาคลอง
  • 13. ปัญหาในการลอยกระทง 1. การจุดดอกไม้ไฟ ประทัด หรื อพลุ โดยเฉพาะเด็กและวัยรุ่ น จุดเล่นกันอย่างคึก คะนองไม่เป็ นที่เป็ นทาง ไม่ระมัดระวัง จุดเล่นตามถนนหนทาง โดยไม่คานึงถึง อันตรายที่จะเกิดแก่ผคนและยวดยานที่สัญจรไปมา และอาจเป็ นสาเหตุให้เกิด ู้ เพลิงไหม้บานเรื อนได้ ้ 2. การประกวดนางนพมาศ ให้ความสาคัญมากเกินไป ถือเป็ นกิจกรรมหลักของ ประเพณี ซึ่ งที่แท้จริ งแล้วไม่ใช่แก่นแท้ของประเพณี เลย เป็ นเพียงกิจกรรมที่เสริ ม ขึ้นมาภายหลัง เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน และเป็ นสิ่ งดึงดูดนักท่องเที่ยว 3. การประดิษฐ์กระทง สมัยก่อนใช้วสดุพ้ืนบ้านหรื อตามธรรมชาติ เช่น ทาจาก ั ่ ใบตอง หยวกกล้วย ซึ่ งเป็ นวัสดุยอยสลายง่าย แต่ปัจจุบนกลับนิยมใช้วสดุโฟม ซึ่ ง ั ั ย่อยสลายยาก ทาให้แม่น้ าลาคลองสกปรก เน่าเหม็น เกิดมลภาวะเป็ นพิษ
  • 14. ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อมจากเทศกาลวันลอยกระทง วันลอยกระทงเพิ่งผ่านพ้นไป ความสนุกสนานรื่ นเริ งจากการฉลองเป็ นอยู่ อย่างนี้ทุกปี แต่สิ่งที่เหลือจากงานลอยกระทงมีแต่จะเพิ่มขึ้นทุกปี ทุกปี ก็คือขยะแต่ ปั ญหาที่เราไม่ได้เห็น ไม่ได้รับรู ้ ก็คือวิธีการกาจัดขยะกระทง การกาจัดขยะส่ วน ใหญ่ในประเทศไทยจะใช้วธีฝังกลบ ิ
  • 15. แต่ดวยปริ มาณขยะมากมายขนาดนี้ ในช่วงเทศกาลการจัดสรรหาพื้นที่ฝังกลบ ้ ็ ขยะ ไม่สามารถจัดการกันได้ง่ายๆ และรวดเร็ ว หากฝังกลบผิดวิธีกจะก่อให้เกิด มลพิษกับดิน และน้ าใต้ดินที่ปนเปื้ อนน้ าเสี ยหรื อน้ าชะขยะจากการฝังกลบ นอกจากปั ญหาการกาจัดขยะ หรื อปั ญหาน้ าเน่าเสี ยสกปรก จากการใช้วสดุที่ไม่ ั เหมาะสมกับแหล่งน้ า อีกปั ญหาหนึ่งที่เรามักไม่คานึ งถึงคือ มลพิษทางอาการที่ เกิดจากการจุดพลุ ประทัด และดอกไม้ไฟ
  • 16. นักวิชาการจากห้องปฏิบติการวิจยเคมีโพลิเมอร์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและ ั ั วัสดุแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ งชาติ (สวทช.) ได้ให้ คาแนะนาในการลอยกระทงและช่วยลดปั ญหาขยะจากกระทงไว้ 3 แนวทาง คือ
  • 17. แนวทางช่ วยลดปัญหาขยะจากกระทง 1. เลือกวัสดุลอยกระทงให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ 2. การใช้หลัก 3R มาประยุกต์ใช้ในการลอยกระทง คือ การลดขนาดหรื อ จานวน หรื อการใช้ร่วมกัน (Reduce) การใช้ซ้ า (Reuse) และการนากลับมาใช้ใหม่ ่ หรื อการเก็บขยะที่ยอยสลายได้มาหมักทาปุ๋ ยชีวภาพ (Recycle) 3. การใช้วสดุแบบเดียวกัน เพราะปั ญหาหนึ่งของการกาจัดขยะกระทงคือ ั ปั ญหาการแยะขยะ หากเราใช้วสดุประเภทเดียวกันหรื อคล้ายกัน ก็จะเป็ นการง่าย ั แก่ผจดเก็บและผูกาจัด ทาให้การจัดการขยะเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว ู้ ั ้
  • 18. ผลกระทบต่ อสั งคมจากเทศกาลวันลอยกระทง สาหรับประเทศไทยปั จจุบน มีการล่วงละเมิดทางเพศเกิดขึ้นมากอย่างยิงใน ั ่ วันลอยกระทง ผลสารวจของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2555 พบว่า เทศกาลลอยกระทงชักนาให้วยรุ่ นไทยร่ วม ั ั ประเวณี กนมากที่สุด มีความเป็ นไปได้ที่เยาวชนไทยร้อยละ 38 จะถูกล่วงละเมิด ทางเพศในวันลอยกระทง ทั้งนี้ เพราะเทศกาลลอยกระทงจัดในยามค่าคืน หนุ่มสาว พบเจอกันได้ง่ายและมักเสพสุ รายาเมากันนอกจากนี้ มหาเถรสมาคมยังเปิ ดเผยด้วย ว่า ในภาคอีสานมักจัดงานวัดซึ่ งประกอบด้วยการเสพของมึนเมาและจัดแสดง อนาจารในคืนลอยกระทง
  • 19. หากพวกเราคนไทยร่วมมือร่วมใจกันคนละนิด ลดจานวนขยะ ลดการ เพิ่มแก๊ สพิษ และแก๊ สเรื อนกระจก งานลอยกระทงก็จะไม่ใช่การทิ ้งขยะลงน ้า แต่ เป็ นการแสดงความเคารพแต่ "แม่น ้า" หรื อ "พระแม่คงคา" อย่างแท้ จริง