SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำาบลต้นเปา
ตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน
Folk Music and Folk Performances: A Lifestyle of Ton Pao
Sub-District from the Ancient of Days till the Present Day
ธนพชร นุตสาระ
สาขาวิชาดนตรีและศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Abstract
The title of the research is Folk Music and Folk
Performances: A Lifestyle of Ton Pao Sub-District from
the Ancient of Days till the Present Day and is a
qualitative research. The research is carried out using
both anthropological and ethnomusicological studies.
This research focuses on the study of a) Restoration of
the traditional knowledge of music culture and folk dance
b) The fine-tuning of the rich heritage for rejuvenating
tourism in Ton Pao sub-district. The data for the study
was collected following documentary reports and
interview of people in Ton Pao sub-district. The research,
involving a descriptive and qualitative analysis has
thrown up the following results;
The main aim was to restore the traditional
knowledge of the musical culture of Klong Puja, an
instrument used during Buddhist ceremonies. The
physical appearance of Klong Puja, the percussion
instrument is that of a double-sided drum whose body is
usually made using a hollowed piece of Teak or
Legumiosae wood about an inch thick. The two mouths
or apertures of the drum are covered with either cow of
buffalo skin. It has three small drums of different sizes
call Look Tubb, Mai Koon (Hamer), Mai Saee or Mai Tabb
The Mai Koon is made from a full knot of bamboo or
wooden stub, measuring 1 -1.5 inches diameter with one
side wound up with cotton.
2
Klong Mae or the mother drum produces Ta and
Tuen sounds. Look Tubb has three different sounds.
Klong Puja ensemble consists of; 1 Aui Gongs, 5-12
Yoong gongs, 1 big cymbal when the accompanying
rhythm for Klong Puja is not fix. The characteristic of
Klong Puja is that it plays both a fast and a slow rhythm.
The project also involved imparting the knowledge
of playing Klong Puja and Tobb-ma-paab to students and
teachers of Baan Hnong Koong, San-ma Hok pha and Bob
srang-na-ra-korn schools with the intention of reviving
back the dying culture of Ton Pao Sub-district. Thus, in
the attempt to conserve this tradition, the project also
involved brining out handbooks on how to play Klong
Puja and Tobb-ma-paab.
As far as the process of rejuvenating this musical
heritage for bringing about tourism is concerned, the
schools within the community should support the activity
of promoting Klong Puja. It include various method such
as 1) introducing the Klong Puja as part of the parade, 2)
organizing musical competition with focus on both the
original as well as the modern form of art, 3) organizing
musical competition of contemporary band that has as
one of its component, the Klong Puja.
Thus, Ton Pao sub-district should make a
conservatory project while supporting and promoting
those ceremonies that centers around Klong Puja
performances so that the indigenous wisdom of this
performing art is kept alive.
Keyword: Folk music, Folk dance, Ethnomusicology,
Creative-economic, Anthropology
บทคัดย่อ
งานวิจัยเรื่อง ดนตรีและการแสดงพื้นเมืองวิถีชีวิตของเทศบาล
ตำาบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้ระเบียบ
วิจัยทางด้านมานุษยวิทยา(Anthropology) และมานุษยวิทยาดนตรี
3
(Ethnomusicology) โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) รื้อฟื้นองค์ความรู้
วัฒนธรรมดนตรีและการแสดงพื้นเมืองในเทศบาลตำาบลต้นเปา 2) การ
ปรับประยุกต์ใช้เพื่อนำาไปสู่การท่องเที่ยว ข้อมูลที่ได้จากการศึกษามา
จากเอกสาร การสัมภาษณ์ รวมทั้งแบบสอบถามงานวิจัยนี้วิเคราะห์
ข้อมูลเชิงคุณภาพและเสนอผลการวิจัยแบบพรรณวิเคราะห์ผลการ
ศึกษา พบว่า
การรื้อฟื้นองค์ความรู้วัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองและการแสดงพื้น
เมืองในเทศบาลตำาบลต้นเปา อำาเภอสันกำาแพง จังหวัดเชียงใหม่
กลองปู่จามีลักษณะทางกายภาพ กลองปู่จาเป็นกลองสองหน้า
ขนาดใหญ่ ประกอบด้วย แม่กลอง 1 ใบ และลูกตุ๊บ 3 ใบมีขนาดลด
หลั่นกันไป กลองปู่จานิยมทำาจากไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้สักทอง ไม้ประดู่
หุ้มด้วยหนังวัว หนังควายเผือก อุปกรณ์ที่ใช้ตีกลองปู่จา มีไม้ตีเรียกว่า
ไม้ค้อน และไม้แสะหรือไม้แต๊บ
ไม้ค้อนนิยมใช้ไม้ไผ่ที่มีปุ่มหรือไม้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้วถึง 1.5
นิ้ว กลึงไม้เหลาตรงปลายให้เป็นปุ่ม หรือนำาผ้ามาพันให้แน่นจนกลมได้
ขนาด
กลองแม่จะตีเสียงต๊ะและเสียงเติ้ง เสียงลูกตุ๊บทั้งสามลูกจะมีเสียง
ลดหลั่นกันตามลำาดับ
วงกลองปู่จาประกอบด้วย 1) ฆ้องอุ้ย 1 ใบ 2) ฆ้องโหย่ง 5-12
ใบ 3) สว่าหรือ ฉว่า 1 คู่ เครื่องประกอบจังหวะขึ้นอยู่กับความต้องการ
ของแต่ละคณะ
ลักษณะการบรรเลงจะมีทั้งทำานองเร็วและทำานองช้า
การรื้อฟื้นองค์ความรู้เกี่ยวกับกลองปู่จา ผู้วิจัยจัดอบรมให้ความรู้
เกี่ยวกับการตีกลองปู่จาและการตบมะผาบให้กับนักเรียนและครูของ
โรงเรียนบ้านหนองโค้ง โรงเรียนสันมะฮกฟ้า และโรงเรียนบ้านบ่อสร้าง
นรากรประสาท และสร้างคู่มือการเรียนการสอนการตีกลองปู่จาและการ
ตบมะผาบ
การปรับประยุกต์ใช้เพื่อนำาไปสู่การท่องเที่ยว โดยการส่งเสริม
กิจกรรมการตีกลองปู่จาแก่ชุมชนโดยผ่านโรงเรียนในชุมชนเพื่อปรับ
ประยุกต์เข้าสู่การท่องเที่ยว เช่น การจัดกลองปู่จาร่วมกับขบวนแห่
การประกวดการตีกลองปู่จาในรูปแบบดั้งเดิมและรูปแบบใหม่ การ
ประกวดการนำากลองปู่จาเข้าร่วมกับ วงดนตรีในรูปแบบ
Contemporary เป็นต้น รวมทั้งจัดโครงการอนุรักษ์และส่งเสริมงาน
ประเพณีโดยให้กลองปู่จาเข้าร่วมในงานที่เทศบาลตำาบลต้นเปาได้
สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยการจัดงาน
4
1. ความเป็นมาและความสำาคัญของปัญหา
เชียงใหม่เป็นจังหวัดที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นและหลากหลาย จาก
การรับวัฒนธรรมภายนอกเข้ามาและปรับวัฒนธรรมต่าง ๆ นั้นให้เข้ากับ
ลักษณะของตนเอง ดังที่ ยงยุทธ ธีรศิลป์(2537: 87) กล่าวว่า
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือมีวัฒนธรรมหลากหลาย ขึ้นอยู่กับภูมิหลัง
และประวัติความเป็นมาของชุมชนในท้องถิ่นนั้น ซึ่งมี 3 รูปแบบ คือ 1)
วัฒนธรรมดั้งเดิม เป็นวัฒนธรรมที่ชุมชนในท้องถิ่นได้ยึดถือปฏิบัติกัน
มาแต่เดิมและยังไม่เปลี่ยนแปลง 2) วัฒนธรรมแบบดัดแปลงเป็น
วัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลความเปลี่ยนแปลงจากวัฒนธรรมอื่น ๆ ซึ่งได้
นำามาดัดแปลงหรือประยุกต์ให้เข้ากับสภาพเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อ
ประโยชน์แห่งการนำาไปใช้ในปัจจุบัน 3) วัฒนธรรมใหม่ หรือ
วัฒนธรรมสร้างใหม่เป็นวัฒนธรรมที่คนในชุมชนนำามาอาจจะเป็น
วัฒนธรรมเลียนแบบหรือคิดประดิษฐ์สร้างขึ้นมาภายหลัง แล้วนำามาใช้
เป็นวัฒนธรรมในสังคมท้องถิ่นนั้น ยังมีความสอดคล้องกับชูสิทธิ์ ชูชาติ
(2538: 58) ที่กล่าวไว้ว่า การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมท้องถิ่นเกิดจาก
ปัจจัยหลายประการ ท้องถิ่นมิได้อยู่โดดเดี่ยว แต่สัมพันธ์กับสังคมเมือง
หลาย ๆ ด้าน เมื่อเมืองสัมพันธ์กับต่างประเทศ วัฒนธรรมเมืองและ
วัฒนธรรมต่างประเทศจึงเข้าไปปะทะสัมพันธ์กับวัฒนธรรมท้องถิ่น ดัง
นั้นชุมชนจึงได้รับผลจากความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมเมือง นอกจากนั้น
ชุนชนยังมีการปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมใหม่ที่เกิดจากการแพร่
กระจายเข้ามา
วัฒนธรรมสามารถเปลี่ยนแปลงและปรับประยุกต์ได้ไปตามกาล
เวลาขึ้นอยู่กับกระแสวัฒนธรรมภายนอกที่เข้ามากระทบต่อสังคมใน
ชุมชน
ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์และบ่งบอกชาติ
พันธ์ แสดงถึงความรุ่งเรืองของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี อารยธรรมของ
แต่ละสังคมนั้นดนตรีเป็นส่วนที่เข้าไปมีองค์ประกอบร่วมเสมอ ดนตรีและ
การแสดงนั้นเป็นสิ่งที่คนในสังคมสร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อใช้ในพิธีกรรม
หรือการบันเทิง
ดนตรีและการแสดงพื้นบ้านเป็นศิลปะอีกรูปแบบหนึ่งที่แสดงถึงอัต
ลักษณ์ของท้องถิ่น ดังที่ เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี (2539)กล่าวว่า ดนตรี
เป็นพลังงานสร้างสรรค์ของมนุษย์ ดนตรีจะมีในสังคมทุกวัฒนธรรม
ดนตรีเข้าไปผูกพันใกล้ชิดกับวิถีชีวิตโดยเฉพาะชาวบ้าน เช่น บทบาท
ในเชิงพิธีกรรม ศาสนพิธี บทบาทในฐานะสิ่งบันเทิง ในบางสถานการณ์
ดนตรีอาจบทบาทช่วยในด้านความรัก สามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ของคนในสังคมการศึกษาถึงบทบาทดนตรีในวัฒนธรรม จะช่วยสะท้อน
5
ภาพสังคมนั้นให้ชัดเจนยิ่งขึ้นและสงัด ภูเขาทอง (ม.ป.ป : 1) กล่าวว่า
ด้วยธรรมชาติของสิ่งที่เป็นศิลปะทั้งหลายทั้งที่เข้ามาทางตรงหรือแฝง
ในรูปของความบันเทิงต่าง ๆ ย่อมจะต้องแทรกซึมเข้าไปในจิตใจของ
คนโดยผู้นั้นมิอาจรู้ตัว ในที่สุดก็เข้าไปฝังอยู่ในความคิด ซึ่ง
ตนเองนั้นแหละจะเป็นผู้ให้คำาตอบได้ว่า สิ่งที่ตนรับไปดีหรือชั่ว
ควรหรือไม่ควร แม้ว่ากว่าจะได้คำาตอบอาจต้องใช้เวลาไปบ้าง จะให้ผู้
อื่นเป็นผู้ตัดสินหาก็ไม่เพราะไม่มีผู้ใดที่จะสามารถหยั่งรู้ความคิดของผู้
อื่นได้ดีกว่าตนเอง และ ศิราพร ฐิตะฐาน (2524 ) กล่าวว่า เพลงของ
ชาวบ้านซึ่งสืบทอดจากปากต่อปากมาชั่วอายุคน และชาวบ้านได้ร้อง
เล่นกันในสังคมอย่างแพร่หลาย เพลงพื้นบ้านเป็นเพลงที่แม่ใช้ร้อง
กล่อมลูกบ้าง เด็กร้องเล่นการประกอบการละเล่นบ้าง หรือหนุ่มสาวใช้
ร้องเล่นในเทศกาลต่าง ๆ เพลงพื้นบ้านจึงอยู่กับการดำารงชีวิตของคน
ไทยอย่างใกล้ชิด
เทศบาลตำาบลต้นเปาเป็นเทศบาลที่อยู่ใกล้กับเมืองเชียงใหม่มี
ความเจริญจากการอยู่ใกล้เมือง มีสิ่งอำานวยความสะดวก มีเครื่อง
อุปโภคบริโภคครบครัน บางชุมชนจัดเป็นพื้นที่หมู่บ้านจัดสรรส่วนมาก
เป็นบุคคลคนภายนอกเข้ามาอาศัยอยู่ บางหมู่บ้านเป็นแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งหัตถกรรม มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยชาวต่างประเทศเข้ามาท่อง
เที่ยวกันอย่างมากมาย สิ่งเหล่านี้ทำาให้เกิดเปลี่ยนแปลง ๆ ขึ้นมาทีละเล็ก
ละน้อยโดยที่ชาวชุมชนเทศบาลตำาบลต้นเปาไม่รู้ตัว ผลที่ได้รับจากการ
เปลี่ยนแปลง คือวัฒนธรรมประเพณีที่ขาดหายไป เช่นวัฒนธรรมดนตรี
เป็นวัฒนธรรมที่ได้รับผลกระทบโดยตรง ดนตรีท้องถิ่นหรือดนตรีพื้น
เมืองเป็นส่วนประกอบที่สำาคัญทั้งในด้านของพิธีกรรมและความบันเทิง
ในอดีต
เนื่องจากปัจจุบันมีวัฒนธรรมดนตรีจากภายนอกเข้ามาสู่ชุมชน
โดยผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์เข้ามาภายในชุมชน รวมทั้งการไม่รับความ
เอาใจใส่จากผู้ที่อยู่ในชุมชนเอง อาจเป็นเพราะว่าเทศบาลต้นเปาเป็น
แหล่งเศรษฐกิจมากกว่าเป็นแหล่งวัฒนธรรม แต่อย่างไรก็ตาม
วัฒนธรรมดนตรีในเทศบาลตำาบลต้นเปาไม่ได้ถูกสืบทอดต่อไปยัง
เยาวชนไปอย่างน่าเสียดายคือ วัฒนธรรมการตีกลองปู่จา เป็นดนตรีที่
เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา
กลองปู่จาเป็นกลองที่มีความสำาคัญต่อความเชื่อทางพระพุทธ
ศาสนา วิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณีของชาวล้านนาสำาคัญยิ่ง ในวัน
สำาคัญทางศาสนา ตามประเพณี 12 เดือน อาทิ เช่นวันวิสาขบูชา วัน
มาฆบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันธรรมสวนะหรือแม้พิธีตั้ง
ธรรมหลวงในวันเพ็ญเดือนยี่ (เดือน 12) งาน ปอยหลวงทำาบุญหยาด
6
นำ้ำอุทิศถวำยถำวรวัตถุ ประเพณีสรงนำ้ำธำตุต่ำง ๆ ก็มีกำรตีกลองปู่จำ
เพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำ เช่นกัน นอกจำกนี้ยังมีบทบำทในกำรตีเพื่อบอก
เหตุกำรณ์สำำคัญที่เกิดขึ้นในบ้ำนเมืองและในชุมชน อำทิเช่น เกิด
สุริยุปรำคำ จันทรุปรำคำ หรือชำวเมืองเรียกว่ำ กบกินตะวันและกบกิน
เดือน ตีเพื่อเตือนภัยต่ำง ๆ เช่น เกิดอัคคีภัย อุทกภัย หรือมีโจรผู้ร้ำยก็มี
กำรตีกลองปู่จำเพื่อบอกเหตุ หรือใช้เป็นอำณัติสัญญำณต่ำง ๆ (จีระ
วัฒน์ บุญลำ้ำ,2551:5)
กำรรื้อฟื้นองค์ควำมรู้วัฒนธรรมดนตรีเกี่ยวกับกำรตีกลองปู่จำ
กำรปรับประยุกต์กลองปู่จำเพื่อเข้ำสู่แหล่งท่องเที่ยวเพิ่มควำมน่ำสนใจ
ให้กับสถำนที่มำกขึ้นและทำำให้กลองปู่จำมีกำรเคลื่อนไหวได้อีกครั้ง
หนึ่ง เทศบำลตำำบลต้นเปำเป็นแหล่งเศรษฐกิจและแหล่งท่องเที่ยวที่
สำำคัญแห่งหนึ่ง มีกำรจัดรูปแบบของในประเพณีงำนเทศกำลตลอดทั้งปี
รวมทั้งวัฒนธรรมประเพณีที่ยังมีอยู่คู่กับวัดในเทศบำลตำำบลต้นเปำ
กำรศึกษำดนตรีและกำรแสดงพื้นเมืองของเทศบำลเมืองต้นเปำวิถี
ชีวิตจำกอดีตถึงปัจจุบัน เป็นกำรรื้อฟื้นกลองปู่จำให้กลับมำสู่สังคม
ปัจจุบันอีกครั้ง และสำมำรถเพิ่มคุณค่ำให้แก่พื้นที่ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว
โดยให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในกำรส่งเสริมและฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมพื้น
บ้ำนอีกด้วย
2. วัตถุประสงค์
2.1 รื้อฟื้นองค์ควำมรู้วัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองและกำรแสดงพื้น
เมืองในเทศบำลตำำบลต้นเปำ
2.2 กำรปรับประยุกต์ใช้เพื่อนำำไปสู่กำรท่องเที่ยว
3. วิธีกำรดำำเนินกำรวิจัย
วิธีดำำเนินกำรศึกษำวิจัยเรื่อง ดนตรีและกำรแสดงพื้นเมืองวิถีชีวิต
ของเทศบำลตำำบลต้นเปำตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน เทศบำลตำำบลต้นเปำ
อำำเภอสันกำำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ในกำรดำำเนินกำรโดยใช้งำนวิจัย
เชิงคุณภำพ และผสมผสำนกับกำรอบรมเชิงปฏิบัติกำร ซึ่งมีพื้นที่วิจัยคือ
เทศบำลตำำบลต้นเปำ หลังจำกนั้นผู้วิจัยจะนำำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนำ
วิเครำะห์ (Descriptive analysis) โดยศึกษำงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ศึกษำค้นคว้ำข้อมูลเอกสำร และกำรเก็บข้อมูลภำคสนำมโดยกำร
สัมภำษณ์ กำรสังเกต รวมทั้งกำรอบรมเชิงปฏิบัติกำรเป็นหลัก
3.1 ขั้นตอนกำรดำำเนินกำรวิจัย แบ่งได้ดังนี้
3.1.1 สำำรวจพื้นที่เป้ำหมำย เพื่อศึกษำบริบทชุมชน
รวบรวมวิเครำะห์ปัญหำเกี่ยวกับเรื่องรำวของวัฒนธรรมดนตรี โดยกำร
7
ศึกษำสภำพกำรณ์ปัจจุบัน ในด้ำนที่ยังคงอยู่และที่สูญหำยไปของ
เทศบำลตำำบลต้นเปำ รวมทั้งกระบวนกำรถ่ำยทอดดนตรี
3.1.2 ศึกษำจำกเอกสำรที่นำำเสนอแนวคิดและประสบกำรณ์
ของผู้เขียนโดยตรง ได้แก่ ตำำรำ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อด้ำนอินเตอร์เน็ต
จำกบทควำมทำงวิชำกำร และจำกเอกสำรข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ศึกษำ
3.1.3 ระยะกำรดำำเนินกำรวิจัย ผู้วิจัยได้กำำหนดกิจกรรม
หลักดังรำยละเอียดต่อไปนี้
1) เตรียมควำมพร้อมด้วยกำรจัดประชุมผู้นำำท้อง
ถิ่น เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจในโครงกำรวิจัย และกำรดำำเนินโครงกำรวิจัย
รวมทั้งติดต่อสถำนศึกษำเพื่อที่จะได้คัดเลือกผู้ที่จะมำอบรมเชิงปฏิบัติ
กำร
2) เก็บรวบรวมบริบทชุมชนในระดับหมู่บ้ำนด้ำน
ประวัติศำสตร์ สภำพแวดล้อมลักษณะทำงวัฒนธรรมและสังคม
เศรษฐกิจ โดยศึกษำควำมสัมพันธ์ด้ำนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม
3) อบรมปฏิบัติกำรด้ำนดนตรีและกำรแสดงพื้น
เมือง
4) สรุปผลกำรวิจัยและจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม จัดทำำ
สื่อ VCD และ Web Site
3.2. กลุ่มผู้ร่วมกระบวนกำรวิจัย
กำรดำำเนินกำรวิจัยในครั้งนี้มีขอบเขตพื้นที่คือ เทศบำลตำำบลต้น
เปำ อำำเภอสันกำำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีผู้ร่วมในกำรดำำเนินวิจัยครั้ง
นี้ได้แก่
3.2.1 ประชำกรเทศบำลตำำบลต้นเปำ กำำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน
เจ้ำอำวำสวัดในเทศบำลตำำบลต้นเปำทั้งหมด 8 วัด
3.2.2 นักเรียนและครูจำกโรงเรียนบ้ำนบ่อสร้ำง โรงเรียน
บ้ำนหนองโค้งและโรงเรียนสันมะโฮกฟ้ำ ทั้งหมดจำำนวน 36 คน
3.3. กิจกรรมในกำรดำำเนินกำรวิจัย
สำำหรับกำรดำำเนินกำรวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดำำเนินกิจกรรมตำม
ที่กำำหนดไว้เป็นขั้นตอนในแผนงำนวิจัย ดังนี้
3.3.1 กำรจัดเวทีควำมรู้เพื่อสร้ำงควำมรู้เกี่ยวกับโครงกำร
วิจัยระหว่ำงผู้วิจัยกับตัวแทนผู้ที่เข้ำร่วมโครงกำร
1) กิจกรรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรื้อฟื้นควำมรู้ใน
ด้ำนกำรตีกลองปู่จำ
8
1.1 วิธีกำรดำำเนินกิจกรรม โดยจัดกำรอบรมกำรตี
กลองปูจำให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้ำนหนองโค้ง โรงเรียนสันมะฮกฟ้ำ
และโรงเรียนบ้ำนบ่อสร้ำง
1.2 ระยะเวลำในกำรดำำเนินกำรอบรมกำรตีกลองปู
จำใช้เวลำทั้งหมด 15 ครั้ง โดยแบ่งเป็นโรงเรียนละ 5 ครั้ง
1.3 ผู้เข้ำร่วมกิจกรรม ได้แก่ นักเรียนและครู
โรงเรียนบ้ำนหนองโค้ง โรงเรียนบ้ำนบ่อสร้ำง และโรงเรียนสันมะฮกฟ้ำ
จำำนวน 36 คน
1.4 สถำนที่วัดหนองโค้ง วัดบ่อสร้ำง และวัดสัน
มะฮกฟ้ำ
3.4 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยได้ดำำเนินกำรเก็บข้อมูลตำมขั้นตอนกำรวิจัย ดังนี้
3.4.1 กำรเตรียมกำรวิจัย ผู้วิจัยและผู้ช่วยนักวิจัยได้เก็บ
ข้อมูลจำกกำรสัมภำษณ์แบบเป็นทำงกำร และกำรเก็บข้อมูลอย่ำงไม่เป็น
ทำงกำร ตลอดจนกำรเข้ำศึกษำพื้นที่เป็นระยะๆ และจดบันทึกในรูปแบบ
เอกสำร บันทึกด้วยภำพถ่ำย กำรบันทึกถ้อยคำำด้วยเอ็มพีโฟว์ (MP4)
3.4.2 กำรดำำเนินกำรวิจัยในกำรศึกษำพื้นที่เชิงลึก
โดยกำรเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่ำงกำรดำำเนินกำรโดยกำรสัมภำษณ์
กำรสังเกต กำรศึกษำชุมชน กำรนำำเสนอรำยงำนควำมก้ำวหน้ำ
3.4.3 กำรจัดกำรควำมรู้ ผู้วิจัยได้จัดรวบรวมข้อมูล
โดยใช้วิธีกำรและเครื่องมือ คือ แบบประเมินควำมพึงพอใจ กำรสังเกต
ระหว่ำงกำรดำำเนินกิจกรรม กำรสัมภำษณ์ แล้วนำำข้อมูลมำจดบันทึกใน
รูปแบบของเอกสำรเป็นระยะ ๆ
3.3.4 สรุปกระบวนกำรกำรจัดของโครงกำรวิจัย ผู้วิจัยได้
เก็บรวบรวมข้อมูลจำกกำรจัดกิจกรรม กำรสัมภำษณ์ แบบประเมินควำม
พึงพอใจ จำกนั้นนำำข้อมูลที่ได้มำจดบันทึกในรูปแบบเอกสำร และ
บันทึกภำพ ส่วนกำรวิเครำะห์ควำมพึงพอใจนำำมำวิเครำะห์โดยกำรหำ
ค่ำร้อยละ
3.5. กำรประมวลผลข้อมูลและกำรวิเครำะห์ข้อมูล
กำรประมวลผลและกำรวิเครำะห์ข้อมูล ข้อมูลที่ได้จำกกำร
สัมภำษณ์ กำรสังเกต กำรอบรม รวมทั้งแบบประเมินควำมพึงพอใจ ผู้
วิจัยจะนำำข้อมูลมำสรุปเป็นวิเครำะห์พรรณนำ
4. สรุปผล
1. รื้อฟื้นองค์ควำมรู้วัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองและกำรแสดงพื้น
เมืองในเทศบำลตำำบลต้นเปำ อำำเภอสันกำำแพง จังหวัดเชียงใหม่ จำก
9
กำรสัมภำษณ์กำำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน เกี่ยวกับดนตรีพื้นเมืองสำมำรถสรุปได้
ว่ำ ปัจจุบันโรงเรียนที่อยู่ในเขตเทศบำลได้มีกำรเรียนกำรสอนเกี่ยวกับ
ดนตรีพื้นเมือง ส่วนเจ้ำอำวำสหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับวัดเกี่ยวกับกลองปู่จำ
สำมำรถสรุปได้ว่ำ กลองปู่จำที่ตั้งอยู่ในวัดจะใช้ต่อเมื่อมีกิจกรรมทำง
พระพุทธศำสนำเท่ำนั้น ผู้ที่ตีเช่นผู้เฒ่ำผู้แก่รวมทั้งพระเณร ส่วนกำร
สืบทอดเยำวชนในหมู่บ้ำนแต่ละหมู่บ้ำนไม่สนใจ เพรำะต้องไปเรียน
พิเศษที่ในตัวเมืองเชียงใหม่
ผู้วิจัยจึงจัดโครงกำรอบรมกำรตีกลองปู่จำและกำรตบมะ
ผำบขึ้นมำใหม่อีกครั้ง เพื่อรื้อฟื้นวัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองและกำรแสดง
พื้นเมืองของเทศบำลตำำบลต้นเปำที่กำำลังสูญหำยไปจำกวัฒนธรรม
ประเพณีของชำวเทศบำลตำำบลต้นเปำอีกครั้ง เนื่องจำกบทบำทของ
กลองปู่จำมีเกี่ยวข้องกับพุทธศำสนำ กลองปู่จำจะใช้ตีก่อนวันพระ เพื่อ
เตือนศรัทธำชำวบ้ำนให้รู้ว่ำพรุ่งนี้จะถึงวันพระ เพรำะในสมัยก่อนไม่มี
สื่อใด ๆ ที่จะบอกวัน เดือน ปี นอกจำกปฏิทิน เนื่องจำกบำงครอบครัว
ไม่มีปฏิทิน เป็นกำรให้เตรียมกำย เตรียมใจ ไปวัดทำำบุญตักบำตร ฟัง
ธรรม จำำศีลภำวนำ หรือใช้ตีในลักษณะอื่นเช่น สมโภชงำนปอยหลวง
หรือบอกเหตุ
ลักษณะกำยภำพของกลองปู่จำเป็นกลองที่พัฒนำมำจำกกลอง
ชัยมงคล กลองปู่จำเป็นกลอง สองหน้ำขนำดใหญ่ ประกอบด้วย
แม่กลอง 1 ใบ และลูกตุ๊บ 3 ใบมีขนำดลดหลั่นกันไป กลองปู่จำนิยม
ทำำจำกไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้สักทอง ไม้ประดู่ หุ้มด้วยหนังวัว หนังควำย
เผือก
อุปกรณ์ที่ใช้ตีกลองปู่จำ มีไม้ตีเรียกว่ำ ไม้ค้อน และไม้แสะหรือไม้
แต๊บ
ไม้ค้อนนิยมใช้ไม้ไผ่ที่มีปุ่มหรือไม้ที่นำำมำเหลำให้ได้ขนำดเส้นผ่ำ
ศูนย์กลำง 1 นิ้วถึง 1.5 นิ้ว และกลึงไม้เหลำตรงปลำยให้เป็นปุ่ม หรือ
นำำผ้ำมำพันให้แน่นจนกลมได้ขนำด
กลองหลวงหรือแม่กลองจะตีเสียงต๊ะและเสียงเติ้ง เสียงลูกตุ๊บทั้ง
สำมลูกจะมีเสียงลดหลั่นกันตำมลำำดับ
นอกจำกนั้นวงกลองปู่จำประกอบด้วย 1) ฆ้องอุ้ย 1 ใบ 2) ฆ้อง
โหย่ง 5-12 ใบ 3) สว่ำหรือ ฉว่ำ 1 คู่ เครื่องประกอบจังหวะขึ้นอยู่กับ
ควำมต้องกำรของแต่ละคณะ
วิธีกำรตีกลองหลวง
ไม้แสะจะใช้ตีเสียงต๊ะ ผู้ตีจะตีขอบกลองหลวง
ไม้กลองจะตีเสียงเติ้ง ผู้ตีจะตีที่หน้ำกลอง
10
กำรตีเสียงต๊ะและเสียงเติ้งจะใช้ผู้ตี 2 คน คนหนึ่งจะทำำหน้ำที่ตี
เสียงต๊ะและอีกคนหนึ่งจะทำำหน้ำที่ตีเสียงเติ้ง
ลักษณะกำรบรรเลงจะมีทั้งทำำนองเร็วและทำำนองช้ำ
ทำำนองหรือระบำำเป็นกำรเรียกจังหวะของกำรตีกลองปู่จำของชำว
ล้ำนนำ ลักษณะทำำนองของกลองปู่จำจะปรำกฏเป็นประโยคยำวๆ มีกำร
ซำ้ำประโยคขึ้นอยู่กับควำมต้องกำรของผู้ตี หลังจำกนั้นจะดำำเนิน
ประโยคต่อไป ซึ่งในแต่ละประโยคผู้ตีสำมำรถจะใส่ลวดลำยของทำำนอง
ลงไปได้อีก
โน้ตไทย
ทำำนองเสื้อขบตุ๊
รูปแบบจังหวะที่ 1
- - -
เติ้ง
- - -
โมง
- - -
เติ้ง
- - -
โมง
- - -
เติ้ง
- - -
โมง
- - -
เติ้ง
- - -
โมง
- - -
-
- - -
-
- - ตุ๊
บ -
- - -
-
- - -
-
- - -
-
- - ตุ๊
บ -
- - -
-
- - -
-
- ต๊ะ -
-
- - -
-
- - -
ตะ
- - -
-
- - -
ต๊ะ
- - -
-
- ต๊ะ
- -
- - -
-
- - -
ตุง
- - -
-
- ตุง
- -
- - -
-
- ตุง
- -
- - -
-
- - -
ตุง
- - -
-
- - -
-
- - -
โมง
- เติ้ง -
-
- - -
-
- - -
-
- - -
โมง
- เติ้ง -
-
- - -
-
- - -
-
- - -
โมง
- เติ้ง -
-
- - -
-
- - -
-
- - -
โมง
- - -
เติ้ง
- - -
ตุ๊บ
- - -
-
- - -
ตุ๊บ
- - -
-
- - -
ตุ๊บ
- - -
-
- ตุ๊บ
- -
- ตุ๊บ -
-
- - -
-
- - -
-
- -
- -
- - -
-
- - -
-
- - -
-
- -
ต๊ะ -
- - -
ต๊ะ
- - -
-
- - -
ตุง
- - -
-
- - -
ตุง
- - -
-
- - -
ตุง
- - -
ตุง
- - -
-
- - -
-
- - -
-
- - -
โมง
- เติ้ง
– เติ้ง
- - -
-
- - -
-
- - -
โมง
- เติ้ง
– เติ้ง
- - -
-
- - -
-
- - -
โมง
- เติ้ง
– เติ้ง
- - -
-
- -
เติ้ง
- - -
โมง
- เติ้ง -
-
11
- - -
-
- - - - - -
-
- - - - - -
-
- - - เติ้ง - -
-
- - -
-
- - -
ตุ๊บ
- - -
-
- - -
ตุ๊บ
- - -
-
- - -
ตุ๊บ
- - -
-
- - -
-
- - - -
- - -
-
- -
- -
- - -
-
- - -
-
- - -
-
- - -
-
- - -
-
- - - -
- - -
-
- - -
ตุง
- - -
-
- - -
ตุง
- - -
-
- - -
-
- - -
-
- - -
ตุง
ลง(ฆ้องอุ้ย)
โน้ตสากล
ทำานองเสือขบตุ๊
การรื้อฟื้นองค์ความรู้เกี่ยวกับกลองปู่จา ผู้วิจัยจัดอบรมให้ความรู้
เกี่ยวกับการตีกลองปู่จาและการตบมะผาบให้กับนักเรียนและครูของ
โรงเรียนบ้านหนองโค้ง โรงเรียนสันมะฮกฟ้า และโรงเรียนบ้านบ่อสร้าง
นรากรประสาท ผู้วิจัยได้จัดวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียนและครูเรื่อง
บทบาทหน้าที่ของกลองปู่จา วิธีการตี เทคนิคการตี การตบมะผาบ
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และต่อยอดให้กับนักเรียนรุ่นต่อ ๆ ไปของชุมชน
ในเทศบาลตำาบลต้นเปา
นอกจากนั้นผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถามให้กับนักเรียนและครูทั้ง
สามโรงเรียนเพื่อประเมินผลของโครงการ ดังนี้
12
1. ท่านมีความรู้เกี่ยวกับกลองปู่จาก่อนเรียน พบว่า นักเรียน
ทั้งสามโรงเรียนรวมทั้งอาจารย์ที่เข้าร่วมรับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับ
กลองปู่จาน้อยมาก ร้อยละ 78.38
2. ท่านมีความรู้เกี่ยวกับดนตรีพื้นเมืองอื่นๆ พบว่า นักเรียน
และอาจารย์ที่เข้ารับ การอบรมมีความรู้เกี่ยวกับเครื่องดนตรีอื่น ๆ
มากกว่ากลองปู่จา ร้อยละ 54.05
3. สถานที่มีความเหมาะสมการเรียนกลองปู่จาพบว่า สถาน
ที่ที่ใช้ในการเรียนกลองปู่จามีความเหมาะสมมาก ร้อยละ 40.45
4. วิทยากรมีความรู้ในการอบรมการตีกลองปู่จาพบว่า
วิทยากรที่นำามาอบรมการตีกลองปู่จามีความรู้มาก ร้อยเปอร์เซ็นต์เต็ม
5. ระยะเวลาในการอบรมการตีกลองปู่จามีความเหมาะสม
พบว่า ระยะเวลาสำาหรับการอบรมการตีกลองปู่จามีความเหมาะสมมาก
ร้อยละ 59.46
6. ท่านสามารถตีกลองปู่จาทำานองฟาดแส้ได้ พบว่า หลัง
จากที่นักเรียนและอาจารย์เข้ารับการอบรมแล้วสามารถตีกลองปู่จา
ทำานองฟาดแส้ได้มาก ร้อยละ 45.95
7. ท่านสามารถตีกลองปู่จาทำานองล่องน่านได้ พบว่า หลัง
จากที่นักเรียนและอาจารย์เข้ารับการอบรมสามารถตีกลองปู่จาทำานอง
ล่องน่านได้มาก ร้อยละ 78.38
8. ท่านเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของกลองปู่จากับวัด
พบว่า นักเรียนและอาจารย์มีความเข้าเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของกลองปู่
จากับวัดมาก ร้อยละ 59.46
9. ท่านสามารถปฏิบัติการตบมะผาบได้ พบว่า นักเรียนและ
อาจารย์ที่เข้ารับ การอบรมสามารถแสดงการตบมะผาบได้มาก
ร้อยละ 59.46
10. ท่านมีความพึงพอใจในการเรียนกลองปู่จา พบว่า
นักเรียนและอาจารย์มี ความพึงพอใจในการอบรมการเรียนกลองปู่
จาระดับมาก ร้อยละ 94.60
รวมทั้งข้อเสนอแนะอื่น ๆ เช่น ระยะเวลาในการฝึกควร
มากกว่านี้ และควรมีการอบรม อย่างต่อเนื่อง
ผู้วิจัยได้นำาความรู้เกี่ยวกับกลองปู่จาเข้าสู่ระบบการเรียน
การสอนดนตรีท้องถิ่นในกลุ่มสาระศิลปะ เพื่อไม่ให้กลองปู่จาสูญหายไป
จากสังคมประเพณีของชุมชนเทศบาลตำาบลต้นเปา รวมทั้งได้สร้างชุด
รวมถึงสร้างคู่มือการตีกลองปู่จาและการตบมะผาบให้กับนักเรียนและครู
ทั้งสามโรงเรียนเพื่อช่วยในการอนุรักษ์วัฒนธรรมการตีกลองปู่จา
13
2. การปรับประยุกต์ใช้เพื่อนำาไปสู่การท่องเที่ยว
2.1 การส่งเสริมกิจกรรมการตีกลองปู่จาแก่ชุมชนโดยผ่าน
โรงเรียนในชุมชนเพื่อปรับประยุกต์เข้าสู่การท่องเที่ยว ดังนี้
1) การจัดกลองปู่จาร่วมกับขบวนแห่
2) การประกวดการตีกลองปู่จาในรูปแบบดั้งเดิมและรูป
แบบใหม่
3) การประกวดการนำากลองปู่จาเข้าร่วมกับวงดนตรีใน
รูปแบบ Contemporary
2.2 จัดโครงการอนุรักษ์และส่งเสริมงานประเพณีโดยให้กลอง
ปู่จาเข้าร่วมในงานที่เทศบาลตำาบลต้นเปาได้สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น
ด้วยการจัดงาน เช่น
- มหัศจรรย์ล้านนากระดาษสาบ้านต้นเปา
- งานเทศกาลร่มบ่อสร้างและหัตถกรรมอำาเภอสันกำาแพง
- งานมหกรรมโคมลอยบ้านหนองโค้ง
- หัตถกรรมอำาเภอสันกำาแพง
- งานประเพณีสรงนำ้าพระธาตุวัดพระนอน(พระบ้าน)แม่ปูคา
เป็นต้น
การปรับประยุกต์ใช้เพื่อเข้าสู่การท่องเที่ยว กลองปู่จาเป็นก
ลองที่อยู่ในวัดใช้ตีประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งพิธีกรรมบางอย่าง
เพื่อใช้กลองปู่จาเริ่มหายไปเช่น การใช้ตีถวายกัณฑ์เทศน์ ปัจจุบันใช้
วงปี่พาทย์แทนเนื่องจากได้รับวัฒนธรรมดนตรีปี่พาทย์มาจากภาคกลาง
หรือการใช้ตีเพื่อส่งสัญญาณว่าวันพรุ่งนี้จะเป็นวันพระปัจจุบันก็ใช้เสียง
ตามสายแทน ทำาให้กิจกรรมการตีกลองปู่จาเริ่มหมดไป รวมทั้งการหาผู้
สืบทอดไม่มี การขาดผู้สืบทอดย่อมเป็นการส่งสัญญาณของการสูญหาย
ทางวัฒนธรรม การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตีกลองปู่จาเพื่อเป็นแรงผลัก
ดันให้กับเยาวชนภายในหมู่บ้านต่าง ๆ ที่อยู่ในเทศบาลตำาบลต้นเปา
ช่วยกันรักษากลองปู่จามิให้สูญหาย
การส่งเสริมการตีกลองปู่จาเพื่อเข้าสู่การท่องเที่ยวนั้นต้องได้
รับความร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่ายที่อยู่ในเทศบาลตำาบลต้นเปา จากการ
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมงานประเพณีและเทศกาลที่มีตลอดทั้งปีของ
ชุมชนนั้น มีส่วนที่จะผลักดันให้กลองปู่จามีการดำารงอยู่ในวัฒนธรรม
โดยการนำาออกมาเผยแพร่สู่สายตาประชาชนที่มาร่วมงาน การรื้อฟื้น
และการปรับประยุกต์กลองปู่จาเพื่อเข้าสู่การท่องเที่ยวนั้นเป็นการเติม
เต็มให้งานประเพณีมีความงดงามและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
14
5. อภิปรายผล
1. รื้อฟื้นองค์ความรู้วัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองและการ
แสดงพื้นเมืองในเทศบาลตำาบลต้นเปา
การรื้อฟื้นกลองปู่จาและการตบมะผาบโดยการจัดอบรมให้กับ
นักเรียนและครูโรงเรียน บ้านหนองโค้ง โรงเรียนสันมะฮกฟ้า และ
โรงเรียนบ้านบ่อสร้างนรากรประสาทนั้นได้รับความร่วมมือ ในการที่จะ
อนุรักษ์เกี่ยวกับกลองปู่จาและการตบมะผาบ ซึ่งทั้งกลองปู่จาและการตบ
มะผาบนั้นถือว่าเป็นดนตรีและการแสดงที่มีความผูกพันกับวิถีชีวิตไม่
เพียงแต่ชาวเทศบาลตำาบลต้นเปาเท่านั้นแต่รวมถึงความผูกพันกับชาว
ล้านนาด้วย
เทศบาลตำาบลต้นเปาเป็นแหล่งหัตถกรรม แหล่งเศรษฐกิจ
รวมทั้งเป็นพื้นที่ที่มีบุคคลภายนอกจำานวนมากต้องการเป็นเจ้าของ
สำาหรับที่อยู่อาศัยและการทำามาหากิน ทำาให้พื้นที่ในเขตเทศบาลตำาบล
ต้นเปาเป็นแหล่งทำาเลทองเจ้าของที่ดินจำานวนมาก ชาวบ้านได้ขายที่ดิน
ให้กับนายทุนเพื่อสร้างหมู่บ้านจัดสรรหรืออื่น ๆ ทำาให้ชาวตำาบลต้นเปา
มีเงินจากการขายที่ดิน นำาไปซื้อสิ่งอำานวยความสะดวก เช่น โทรทัศน์
ตู้เย็น เครื่องเสียง รถยนต์ หรือสร้างบ้านใหม่ รวมทั้งการส่งบุตรหลาน
เข้ามาเรียนหนังสือในเมืองในความเชื่อที่ว่าโรงเรียนในเมืองดีกว่า
โรงเรียนในชุมชน การเข้ามาเรียนหนังสือในเมืองทำาให้เยาวชนเกิด
การแข่งในด้านการเรียน จึงต้องมีการเรียนพิเศษในวันเสาร์และวัน
อาทิตย์ ทำาให้เยาวชนในพื้นที่เริ่มห่างไกลจากวัฒนธรรมที่เคยสืบทอด
ต่อกันมา แต่มีการรับรู้วัฒนธรรมใหม่ที่แตกต่างกันวัฒนธรรมดั้งเดิมจน
เกิดการต่อต้านวัฒนธรรมเดิม ทำาให้วัฒนธรรมบางอย่างได้สูญหายไป
โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัฒนธรรมดนตรี ซึ่งมีความสอดคล้องกับสุริยา สมุทร
คุปติ์ พัฒนา กิติอาษา และ ศิลปกิจ ตี่ขันกุล(2541:1) อธิบายว่า
วัฒนธรรมในบริบทโลกสมัยใหม่ไม่ได้หมายถึงแบบแผนของวิถีชีวิตที่
ครั้งหนึ่งของคนในสังคมดั้งเดิมยึดถือร่วมกันอีกต่อไป ในโลกสมัยใหม่
วัฒนธรรมเป็นผลผลิตของอุดมการณ์และอำานาจรัฐ เป็นผลผลิตของ
สื่อมวลชน วัฒนธรรมในโลกสมัยใหม่เป็นผลผลิตของกระบวนการที่รี
ยกว่า โลกาภิวัตน์ที่ข้อมูลข่าวสาร อุดมการณ์ความคิด เทคโนโลยี เงิน
ตรา หรือผู้คนที่ต่างติดต่อและมีอิทธิพลต่อกันและตรงกันข้าม เรียกว่า
วัฒนธรรมประชา และสตอเรย์ (Storey อ้างใน สุริยา สมุทรคุปติ์
พัฒนา กิติอาษา และ ศิลปกิจ ตี่ขันกุล,2541: 16) ได้อธิบายว่า
วัฒนธรรมประชา หมายถึง วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นภายหลังจากการพัฒนา
อุตสาหกรรมและการเกิดชุมชนเมือง วัฒนธรรมประชาในแง่นี้สะท้อน
ให้เห็นถึง อิทธิพลของสื่อมวลชน และการคมนาคมสื่อสารของโลกสมัย
15
ใหม่ วิธีการผลิตแบบอุตสาหกรรมและวิถีชีวิตในเองทำาให้คนจำานวน
มากเปลี่ยนแปลงไปจากวิถีการเกษตรกรรมและวัฒนธรรมชนบทอย่าง
สิ้นเชิง โลกความทันสมัยก่อให้เกิดรูปแบบวัฒนธรรมสมัยใหม่ที่เปลี่ยน
วิถีชีวิตแบบดั้งเดิม
การรื้อฟื้นการตีกลองปู่จาและการตบมะผาบ เพื่อให้องค์
ความรู้ยังคงดำารงอยู่และได้รับการสืบทอด ผู้วิจัยได้จดบันทึกเป็นโน้ต
ดนตรีไทยและโน้ตดนตรีสากล และบันทึกรายละเอียดท่าของการตบมะ
ผาบเพื่อเป็นคู่มือในการศึกษา รวมทั้งได้จัดทำาสาระเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ
ตีกลองปู่จาและการตบมะผาบ เพื่อเป็นการรื้อฟื้นขึ้นมาใหม่อีกครั้ง
2. การปรับประยุกต์ใช้เพื่อนำาไปสู่การท่องเที่ยว
เทศบาลตำาบลต้นเปาเป็นแหล่งเศรษฐกิจและแหล่งท่องเที่ยว
ที่มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความสนใจในการ
เข้าไปชม เทศบาลตำาบลต้นเปามีการจัดงานเทศกาลและงานประเพณี
เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวเกือบตลอดทั้งปี การจัดงานเพื่อส่งเสริมการท่อง
เที่ยวนี้มีรูปแบบที่หลากหลายกันออกไป แต่สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือ
การนำาวัฒนธรรมดนตรีเข้าไปเพื่อสร้างสีสันและความสนุกสนานให้กับ
งานขบวนต่าง ๆ
กลองปู่จาเป็นกลองที่มีความยิ่งใหญ่อลังการมีเสียงที่นุ่ม
นวลและดัง ผู้ฟังสามารถได้รับความสนุกสนานกับเสียงเครื่องประกอบ
จังหวะเช่น สว่า ฆ้อง รวมทั้งลีลาของผู้บรรเลง รวมทั้งการตบมะผาบที่
ใช้แสดงสำาหรับการไหว้ครู เป็นการอบอุ่นร่างกายมีท่าทางที่สวยงาม
ใช้ประกอบการตีกลองปู่จา การนำากลองปู่จาเข้าขบวนแห่ หรือสามารถ
นำากลองปู่จาประกอบเครื่องดนตรีชนิดอื่นถือว่าเป็นการส่งเสริมเพื่อให้
กลองปู่จายังดำารงอยู่ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของ
การนำาเสนองานรูปแบบของการปรับประยุกต์ให้เข้ากับการเป็นแหล่ง
ท่องเที่ยว ซึ่ง อมรา พงษาพิชย์ (2542: 16-17)อธิบายว่า การปรับตัว
(Adaptation) เป็นความหมายของการปรับเปลี่ยนส่วนใดส่วนหนึ่งหรือ
หลายส่วนเพื่อให้ความสัมพันธ์ลงตัว โดยพิจารณาประเด็นดังต่อไปนี้
- การปรับตัวด้านองค์ประกอบด้านศิลปวัฒนธรรม เช่น
วรรณคดี ดนตรี การแสดง และศิลปกรรม รวมทั้งสังคมวัฒนธรรมที่เป็น
วิถีชีวิต ความเชื่อ ฯลฯ
- องค์ประกอบต่าง ๆ ของวัฒนธรรมที่ร้อยประสานเข้าเป็น
วัฒนธรรมที่เป็นองค์รวม มีลักษณะเฉพาะของแต่ละสังคมวัฒนธรรม
- การปฏิสัมพันธ์กับสังคมข้างเคียง หรือการค้นพบสิ่งใหม่
ภายในสังคมของตนเองและทำาให้เกิดการปรับเปลี่ยนเพื่อความคงอยู่
ของสังคมและวัฒนธรรมนั้น ๆ
16
- วัฒนธรรมคือระบบสัญลักษณ์ องค์ประกอบแต่ละส่วนมี
ความหมายและสื่อความหมายที่ลึกซึ้งและกว้างขวางกว่าข้อเท็จจริง
- การดำาเนินชีวิตต้องดำาเนินเป็นกลุ่ม การปรับเปลี่ยนสังคม
วัฒนธรรม เป็น การปรับเปลี่ยนในกลุ่มมากกว่าในระดับ
ปัจเจกบุคคล การสืบทอดวัฒนธรรมต้องถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปอีกรุ่น
หนึ่ง เป็นกลุ่ม การปรับตัวทางวัฒนธรรมจึงเป็นการปรับเปลี่ยนของกลุ่ม
- พฤติกรรมของมนุษย์ยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนได้ ไม่มี
พฤติกรรมใดที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เลย
- การถ่ายทอดวัฒนธรรมมีจากรุ่นหนึ่งไปสู่รุ่นหนึ่งมี
กระบวนการและขั้นตอน
การปรับเปลี่ยนทางวัฒนธรรมเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมีมนุษย์
เป็นตัวควบคุมปรากฏการณ์นี้
ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวัฒนธรรมดนตรีพื้นเมือง
ล้านนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลองปู่จา การนำากลองปู่จามาปรับประยุกต์
ให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบันเป็นสิ่งจะทำาให้กลองปู่จายังคงดำารงอยู่ได้
ในปัจจุบัน
6. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการอนุรักษ์และส่งเสริมการตีกลองปู่จา
1. ด้านนักดนตรี ควรมีการสั่งสอนสะสมจังหวะกลองปู่จา อาจ
ทำาได้ในรูปแบบการเรียน แบบตีพร้อม ๆ กัน หลาย ๆ ชุด เพื่ออนุรักษ์
แบบแผนด้านสำาเนียงกลอง กระสวนจังหวะ และรายละเอียดอื่น ๆ ในรูป
แบบดั้งเดิม และในรูปแบบการปรับประยุกต์ให้มีความหลากหลายให้เข้า
กับดนตรีอื่น ๆ ได้
2. ด้านหน่วยงานรัฐ องค์การบริหารส่วนตำาบล สมควรให้มีการตี
กลองปู่จา ตามประเพณีดั้งเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา ร่วมทั้งปรับประยุกต์
เพื่อให้เหมาะสมกับยุคสมัย และแหล่งท่องเที่ยว
7. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการศึกษาวิจัย
1. ควรมีการศึกษาทำานองกลองปู่จาที่ยังไม่มีการบันทึก แล้วนำามา
บันทึกข้อมูลเก็บรวบรวม
2. ควรมีการศึกษาความแตกต่างของทำานองกลองปู่จา ในแต่ละ
พื้นที่ที่ยังมีการอนุรักษ์ไว้
3. ควรมีการวิจัยด้านวัฒนธรรมและความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน
กับกลองปู่จา
4. ควรมีการอนุรักษ์และส่งเสริมกลองปู่จา โดยหน่วยงานทุก
หน่วยงานควรให้ความสำาคัญ มีการส่งเสริมให้มีการสืบทอดจากปราชญ์
17
นักดนตรีพื้นเมือง เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้กลองปู่จา เพื่อนำาไปใช้ใน
กิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่บ้าน เป็นการส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมทาง
ดนตรีไว้ หรือจัดเป็นหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียนในโรงเรียน
อ้างอิง
จีระวัฒน์ บุญลำ้า. ศึกษากลองปู่จาในจังหวัดลำาพูน. ปริญญานิพนธ์
หลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2551 หน้า
เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี.(2539) การดนตรีไทยทางเลือกแห่งนิยามดนตรี
วิทยาหรือมนุษยสังคีตวิทยา,
คำาดนตรี 1 (1))
ชูสิทธิ์ ชูชาติ.(2538) การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของชาวเชียงใหม่;
เจ็ดทศวรรษราชภัฏเชียงใหม่กับงาน
สืบสานวัฒนธรรม. เชียงใหม่ : สถาบันราชภัฏเชียงใหม่.
ยงยุทธ ธีรศิลป์. (2537) หนทางการเผยแพร่และอนุรักษ์วัฒนธรรม
ท้องถิ่นภาคเหนือ;เจ็ดทศวรรษ:
ราชภัฎเชียงใหม่กับสืบสานวัฒนธรรม.เชียงใหม่ : สถาบัน
ราชภัฎเชียงใหม่
ศิราพร ฐิตะฐาน (2524) เอกสารการสอนชุดวิชาไทยศึกษา
อารยธรรมเล่มที่ 12-15
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สงัด ภูเขาทอง. ประชุมบทความทางวิชาการ (ม.ป.ป )หน้า 1
สุริยา สมุทรคุปติ์ พัฒนา กิติอาษา และ ศิลปกิจ ตี่ขันกุล. (2541).แต่ง
องค์ทรงเครื่อง: “ลิเก” ในวัฒนธรรม
ประชาไทย. กรุงเทพฯ : สมบูรณ์การพิมพ์.
อมรา พงษาพิชญ์.(2542) วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์ :
วิเคราะห์สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา.
พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

More Related Content

Similar to ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผศ.ดร .ธนพชร

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗Boonlert Aroonpiboon
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทยbabyoam
 
ดนตรีจีน
ดนตรีจีนดนตรีจีน
ดนตรีจีนJintana Barton
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 

Similar to ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผศ.ดร .ธนพชร (10)

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
สิ่งพิมพ์11ok
สิ่งพิมพ์11okสิ่งพิมพ์11ok
สิ่งพิมพ์11ok
 
ท่ารำหาดส้มแป้น
ท่ารำหาดส้มแป้นท่ารำหาดส้มแป้น
ท่ารำหาดส้มแป้น
 
P97926870419
P97926870419P97926870419
P97926870419
 
Brochure
BrochureBrochure
Brochure
 
Brochure1
Brochure1Brochure1
Brochure1
 
ดนตรีจีน
ดนตรีจีนดนตรีจีน
ดนตรีจีน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 

More from kawla2012

บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่kawla2012
 
Basic sound engineer
Basic sound engineerBasic sound engineer
Basic sound engineerkawla2012
 
การใช้งาน Nuendo 4
การใช้งาน Nuendo 4การใช้งาน Nuendo 4
การใช้งาน Nuendo 4kawla2012
 
สอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรีสอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรีkawla2012
 
สอบบรรจ คร ดนตรี
สอบบรรจ คร ดนตรีสอบบรรจ คร ดนตรี
สอบบรรจ คร ดนตรีkawla2012
 
สอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรีสอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรีkawla2012
 
สอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรีสอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรีkawla2012
 

More from kawla2012 (7)

บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
 
Basic sound engineer
Basic sound engineerBasic sound engineer
Basic sound engineer
 
การใช้งาน Nuendo 4
การใช้งาน Nuendo 4การใช้งาน Nuendo 4
การใช้งาน Nuendo 4
 
สอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรีสอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรี
 
สอบบรรจ คร ดนตรี
สอบบรรจ คร ดนตรีสอบบรรจ คร ดนตรี
สอบบรรจ คร ดนตรี
 
สอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรีสอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรี
 
สอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรีสอบบรรจุครูดนตรี
สอบบรรจุครูดนตรี
 

ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน ผศ.ดร .ธนพชร

  • 1. ดนตรีและการแสดงพื้นเมือง วิถีชีวิตของเทศบาลตำาบลต้นเปา ตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน Folk Music and Folk Performances: A Lifestyle of Ton Pao Sub-District from the Ancient of Days till the Present Day ธนพชร นุตสาระ สาขาวิชาดนตรีและศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Abstract The title of the research is Folk Music and Folk Performances: A Lifestyle of Ton Pao Sub-District from the Ancient of Days till the Present Day and is a qualitative research. The research is carried out using both anthropological and ethnomusicological studies. This research focuses on the study of a) Restoration of the traditional knowledge of music culture and folk dance b) The fine-tuning of the rich heritage for rejuvenating tourism in Ton Pao sub-district. The data for the study was collected following documentary reports and interview of people in Ton Pao sub-district. The research, involving a descriptive and qualitative analysis has thrown up the following results; The main aim was to restore the traditional knowledge of the musical culture of Klong Puja, an instrument used during Buddhist ceremonies. The physical appearance of Klong Puja, the percussion instrument is that of a double-sided drum whose body is usually made using a hollowed piece of Teak or Legumiosae wood about an inch thick. The two mouths or apertures of the drum are covered with either cow of buffalo skin. It has three small drums of different sizes call Look Tubb, Mai Koon (Hamer), Mai Saee or Mai Tabb The Mai Koon is made from a full knot of bamboo or wooden stub, measuring 1 -1.5 inches diameter with one side wound up with cotton.
  • 2. 2 Klong Mae or the mother drum produces Ta and Tuen sounds. Look Tubb has three different sounds. Klong Puja ensemble consists of; 1 Aui Gongs, 5-12 Yoong gongs, 1 big cymbal when the accompanying rhythm for Klong Puja is not fix. The characteristic of Klong Puja is that it plays both a fast and a slow rhythm. The project also involved imparting the knowledge of playing Klong Puja and Tobb-ma-paab to students and teachers of Baan Hnong Koong, San-ma Hok pha and Bob srang-na-ra-korn schools with the intention of reviving back the dying culture of Ton Pao Sub-district. Thus, in the attempt to conserve this tradition, the project also involved brining out handbooks on how to play Klong Puja and Tobb-ma-paab. As far as the process of rejuvenating this musical heritage for bringing about tourism is concerned, the schools within the community should support the activity of promoting Klong Puja. It include various method such as 1) introducing the Klong Puja as part of the parade, 2) organizing musical competition with focus on both the original as well as the modern form of art, 3) organizing musical competition of contemporary band that has as one of its component, the Klong Puja. Thus, Ton Pao sub-district should make a conservatory project while supporting and promoting those ceremonies that centers around Klong Puja performances so that the indigenous wisdom of this performing art is kept alive. Keyword: Folk music, Folk dance, Ethnomusicology, Creative-economic, Anthropology บทคัดย่อ งานวิจัยเรื่อง ดนตรีและการแสดงพื้นเมืองวิถีชีวิตของเทศบาล ตำาบลต้นเปาตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้ระเบียบ วิจัยทางด้านมานุษยวิทยา(Anthropology) และมานุษยวิทยาดนตรี
  • 3. 3 (Ethnomusicology) โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) รื้อฟื้นองค์ความรู้ วัฒนธรรมดนตรีและการแสดงพื้นเมืองในเทศบาลตำาบลต้นเปา 2) การ ปรับประยุกต์ใช้เพื่อนำาไปสู่การท่องเที่ยว ข้อมูลที่ได้จากการศึกษามา จากเอกสาร การสัมภาษณ์ รวมทั้งแบบสอบถามงานวิจัยนี้วิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพและเสนอผลการวิจัยแบบพรรณวิเคราะห์ผลการ ศึกษา พบว่า การรื้อฟื้นองค์ความรู้วัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองและการแสดงพื้น เมืองในเทศบาลตำาบลต้นเปา อำาเภอสันกำาแพง จังหวัดเชียงใหม่ กลองปู่จามีลักษณะทางกายภาพ กลองปู่จาเป็นกลองสองหน้า ขนาดใหญ่ ประกอบด้วย แม่กลอง 1 ใบ และลูกตุ๊บ 3 ใบมีขนาดลด หลั่นกันไป กลองปู่จานิยมทำาจากไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้สักทอง ไม้ประดู่ หุ้มด้วยหนังวัว หนังควายเผือก อุปกรณ์ที่ใช้ตีกลองปู่จา มีไม้ตีเรียกว่า ไม้ค้อน และไม้แสะหรือไม้แต๊บ ไม้ค้อนนิยมใช้ไม้ไผ่ที่มีปุ่มหรือไม้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้วถึง 1.5 นิ้ว กลึงไม้เหลาตรงปลายให้เป็นปุ่ม หรือนำาผ้ามาพันให้แน่นจนกลมได้ ขนาด กลองแม่จะตีเสียงต๊ะและเสียงเติ้ง เสียงลูกตุ๊บทั้งสามลูกจะมีเสียง ลดหลั่นกันตามลำาดับ วงกลองปู่จาประกอบด้วย 1) ฆ้องอุ้ย 1 ใบ 2) ฆ้องโหย่ง 5-12 ใบ 3) สว่าหรือ ฉว่า 1 คู่ เครื่องประกอบจังหวะขึ้นอยู่กับความต้องการ ของแต่ละคณะ ลักษณะการบรรเลงจะมีทั้งทำานองเร็วและทำานองช้า การรื้อฟื้นองค์ความรู้เกี่ยวกับกลองปู่จา ผู้วิจัยจัดอบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการตีกลองปู่จาและการตบมะผาบให้กับนักเรียนและครูของ โรงเรียนบ้านหนองโค้ง โรงเรียนสันมะฮกฟ้า และโรงเรียนบ้านบ่อสร้าง นรากรประสาท และสร้างคู่มือการเรียนการสอนการตีกลองปู่จาและการ ตบมะผาบ การปรับประยุกต์ใช้เพื่อนำาไปสู่การท่องเที่ยว โดยการส่งเสริม กิจกรรมการตีกลองปู่จาแก่ชุมชนโดยผ่านโรงเรียนในชุมชนเพื่อปรับ ประยุกต์เข้าสู่การท่องเที่ยว เช่น การจัดกลองปู่จาร่วมกับขบวนแห่ การประกวดการตีกลองปู่จาในรูปแบบดั้งเดิมและรูปแบบใหม่ การ ประกวดการนำากลองปู่จาเข้าร่วมกับ วงดนตรีในรูปแบบ Contemporary เป็นต้น รวมทั้งจัดโครงการอนุรักษ์และส่งเสริมงาน ประเพณีโดยให้กลองปู่จาเข้าร่วมในงานที่เทศบาลตำาบลต้นเปาได้ สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยการจัดงาน
  • 4. 4 1. ความเป็นมาและความสำาคัญของปัญหา เชียงใหม่เป็นจังหวัดที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นและหลากหลาย จาก การรับวัฒนธรรมภายนอกเข้ามาและปรับวัฒนธรรมต่าง ๆ นั้นให้เข้ากับ ลักษณะของตนเอง ดังที่ ยงยุทธ ธีรศิลป์(2537: 87) กล่าวว่า วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือมีวัฒนธรรมหลากหลาย ขึ้นอยู่กับภูมิหลัง และประวัติความเป็นมาของชุมชนในท้องถิ่นนั้น ซึ่งมี 3 รูปแบบ คือ 1) วัฒนธรรมดั้งเดิม เป็นวัฒนธรรมที่ชุมชนในท้องถิ่นได้ยึดถือปฏิบัติกัน มาแต่เดิมและยังไม่เปลี่ยนแปลง 2) วัฒนธรรมแบบดัดแปลงเป็น วัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลความเปลี่ยนแปลงจากวัฒนธรรมอื่น ๆ ซึ่งได้ นำามาดัดแปลงหรือประยุกต์ให้เข้ากับสภาพเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อ ประโยชน์แห่งการนำาไปใช้ในปัจจุบัน 3) วัฒนธรรมใหม่ หรือ วัฒนธรรมสร้างใหม่เป็นวัฒนธรรมที่คนในชุมชนนำามาอาจจะเป็น วัฒนธรรมเลียนแบบหรือคิดประดิษฐ์สร้างขึ้นมาภายหลัง แล้วนำามาใช้ เป็นวัฒนธรรมในสังคมท้องถิ่นนั้น ยังมีความสอดคล้องกับชูสิทธิ์ ชูชาติ (2538: 58) ที่กล่าวไว้ว่า การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมท้องถิ่นเกิดจาก ปัจจัยหลายประการ ท้องถิ่นมิได้อยู่โดดเดี่ยว แต่สัมพันธ์กับสังคมเมือง หลาย ๆ ด้าน เมื่อเมืองสัมพันธ์กับต่างประเทศ วัฒนธรรมเมืองและ วัฒนธรรมต่างประเทศจึงเข้าไปปะทะสัมพันธ์กับวัฒนธรรมท้องถิ่น ดัง นั้นชุมชนจึงได้รับผลจากความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมเมือง นอกจากนั้น ชุนชนยังมีการปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมใหม่ที่เกิดจากการแพร่ กระจายเข้ามา วัฒนธรรมสามารถเปลี่ยนแปลงและปรับประยุกต์ได้ไปตามกาล เวลาขึ้นอยู่กับกระแสวัฒนธรรมภายนอกที่เข้ามากระทบต่อสังคมใน ชุมชน ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์และบ่งบอกชาติ พันธ์ แสดงถึงความรุ่งเรืองของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี อารยธรรมของ แต่ละสังคมนั้นดนตรีเป็นส่วนที่เข้าไปมีองค์ประกอบร่วมเสมอ ดนตรีและ การแสดงนั้นเป็นสิ่งที่คนในสังคมสร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อใช้ในพิธีกรรม หรือการบันเทิง ดนตรีและการแสดงพื้นบ้านเป็นศิลปะอีกรูปแบบหนึ่งที่แสดงถึงอัต ลักษณ์ของท้องถิ่น ดังที่ เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี (2539)กล่าวว่า ดนตรี เป็นพลังงานสร้างสรรค์ของมนุษย์ ดนตรีจะมีในสังคมทุกวัฒนธรรม ดนตรีเข้าไปผูกพันใกล้ชิดกับวิถีชีวิตโดยเฉพาะชาวบ้าน เช่น บทบาท ในเชิงพิธีกรรม ศาสนพิธี บทบาทในฐานะสิ่งบันเทิง ในบางสถานการณ์ ดนตรีอาจบทบาทช่วยในด้านความรัก สามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ของคนในสังคมการศึกษาถึงบทบาทดนตรีในวัฒนธรรม จะช่วยสะท้อน
  • 5. 5 ภาพสังคมนั้นให้ชัดเจนยิ่งขึ้นและสงัด ภูเขาทอง (ม.ป.ป : 1) กล่าวว่า ด้วยธรรมชาติของสิ่งที่เป็นศิลปะทั้งหลายทั้งที่เข้ามาทางตรงหรือแฝง ในรูปของความบันเทิงต่าง ๆ ย่อมจะต้องแทรกซึมเข้าไปในจิตใจของ คนโดยผู้นั้นมิอาจรู้ตัว ในที่สุดก็เข้าไปฝังอยู่ในความคิด ซึ่ง ตนเองนั้นแหละจะเป็นผู้ให้คำาตอบได้ว่า สิ่งที่ตนรับไปดีหรือชั่ว ควรหรือไม่ควร แม้ว่ากว่าจะได้คำาตอบอาจต้องใช้เวลาไปบ้าง จะให้ผู้ อื่นเป็นผู้ตัดสินหาก็ไม่เพราะไม่มีผู้ใดที่จะสามารถหยั่งรู้ความคิดของผู้ อื่นได้ดีกว่าตนเอง และ ศิราพร ฐิตะฐาน (2524 ) กล่าวว่า เพลงของ ชาวบ้านซึ่งสืบทอดจากปากต่อปากมาชั่วอายุคน และชาวบ้านได้ร้อง เล่นกันในสังคมอย่างแพร่หลาย เพลงพื้นบ้านเป็นเพลงที่แม่ใช้ร้อง กล่อมลูกบ้าง เด็กร้องเล่นการประกอบการละเล่นบ้าง หรือหนุ่มสาวใช้ ร้องเล่นในเทศกาลต่าง ๆ เพลงพื้นบ้านจึงอยู่กับการดำารงชีวิตของคน ไทยอย่างใกล้ชิด เทศบาลตำาบลต้นเปาเป็นเทศบาลที่อยู่ใกล้กับเมืองเชียงใหม่มี ความเจริญจากการอยู่ใกล้เมือง มีสิ่งอำานวยความสะดวก มีเครื่อง อุปโภคบริโภคครบครัน บางชุมชนจัดเป็นพื้นที่หมู่บ้านจัดสรรส่วนมาก เป็นบุคคลคนภายนอกเข้ามาอาศัยอยู่ บางหมู่บ้านเป็นแหล่งท่องเที่ยว แหล่งหัตถกรรม มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยชาวต่างประเทศเข้ามาท่อง เที่ยวกันอย่างมากมาย สิ่งเหล่านี้ทำาให้เกิดเปลี่ยนแปลง ๆ ขึ้นมาทีละเล็ก ละน้อยโดยที่ชาวชุมชนเทศบาลตำาบลต้นเปาไม่รู้ตัว ผลที่ได้รับจากการ เปลี่ยนแปลง คือวัฒนธรรมประเพณีที่ขาดหายไป เช่นวัฒนธรรมดนตรี เป็นวัฒนธรรมที่ได้รับผลกระทบโดยตรง ดนตรีท้องถิ่นหรือดนตรีพื้น เมืองเป็นส่วนประกอบที่สำาคัญทั้งในด้านของพิธีกรรมและความบันเทิง ในอดีต เนื่องจากปัจจุบันมีวัฒนธรรมดนตรีจากภายนอกเข้ามาสู่ชุมชน โดยผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์เข้ามาภายในชุมชน รวมทั้งการไม่รับความ เอาใจใส่จากผู้ที่อยู่ในชุมชนเอง อาจเป็นเพราะว่าเทศบาลต้นเปาเป็น แหล่งเศรษฐกิจมากกว่าเป็นแหล่งวัฒนธรรม แต่อย่างไรก็ตาม วัฒนธรรมดนตรีในเทศบาลตำาบลต้นเปาไม่ได้ถูกสืบทอดต่อไปยัง เยาวชนไปอย่างน่าเสียดายคือ วัฒนธรรมการตีกลองปู่จา เป็นดนตรีที่ เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา กลองปู่จาเป็นกลองที่มีความสำาคัญต่อความเชื่อทางพระพุทธ ศาสนา วิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณีของชาวล้านนาสำาคัญยิ่ง ในวัน สำาคัญทางศาสนา ตามประเพณี 12 เดือน อาทิ เช่นวันวิสาขบูชา วัน มาฆบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันธรรมสวนะหรือแม้พิธีตั้ง ธรรมหลวงในวันเพ็ญเดือนยี่ (เดือน 12) งาน ปอยหลวงทำาบุญหยาด
  • 6. 6 นำ้ำอุทิศถวำยถำวรวัตถุ ประเพณีสรงนำ้ำธำตุต่ำง ๆ ก็มีกำรตีกลองปู่จำ เพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำ เช่นกัน นอกจำกนี้ยังมีบทบำทในกำรตีเพื่อบอก เหตุกำรณ์สำำคัญที่เกิดขึ้นในบ้ำนเมืองและในชุมชน อำทิเช่น เกิด สุริยุปรำคำ จันทรุปรำคำ หรือชำวเมืองเรียกว่ำ กบกินตะวันและกบกิน เดือน ตีเพื่อเตือนภัยต่ำง ๆ เช่น เกิดอัคคีภัย อุทกภัย หรือมีโจรผู้ร้ำยก็มี กำรตีกลองปู่จำเพื่อบอกเหตุ หรือใช้เป็นอำณัติสัญญำณต่ำง ๆ (จีระ วัฒน์ บุญลำ้ำ,2551:5) กำรรื้อฟื้นองค์ควำมรู้วัฒนธรรมดนตรีเกี่ยวกับกำรตีกลองปู่จำ กำรปรับประยุกต์กลองปู่จำเพื่อเข้ำสู่แหล่งท่องเที่ยวเพิ่มควำมน่ำสนใจ ให้กับสถำนที่มำกขึ้นและทำำให้กลองปู่จำมีกำรเคลื่อนไหวได้อีกครั้ง หนึ่ง เทศบำลตำำบลต้นเปำเป็นแหล่งเศรษฐกิจและแหล่งท่องเที่ยวที่ สำำคัญแห่งหนึ่ง มีกำรจัดรูปแบบของในประเพณีงำนเทศกำลตลอดทั้งปี รวมทั้งวัฒนธรรมประเพณีที่ยังมีอยู่คู่กับวัดในเทศบำลตำำบลต้นเปำ กำรศึกษำดนตรีและกำรแสดงพื้นเมืองของเทศบำลเมืองต้นเปำวิถี ชีวิตจำกอดีตถึงปัจจุบัน เป็นกำรรื้อฟื้นกลองปู่จำให้กลับมำสู่สังคม ปัจจุบันอีกครั้ง และสำมำรถเพิ่มคุณค่ำให้แก่พื้นที่ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในกำรส่งเสริมและฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมพื้น บ้ำนอีกด้วย 2. วัตถุประสงค์ 2.1 รื้อฟื้นองค์ควำมรู้วัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองและกำรแสดงพื้น เมืองในเทศบำลตำำบลต้นเปำ 2.2 กำรปรับประยุกต์ใช้เพื่อนำำไปสู่กำรท่องเที่ยว 3. วิธีกำรดำำเนินกำรวิจัย วิธีดำำเนินกำรศึกษำวิจัยเรื่อง ดนตรีและกำรแสดงพื้นเมืองวิถีชีวิต ของเทศบำลตำำบลต้นเปำตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน เทศบำลตำำบลต้นเปำ อำำเภอสันกำำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ในกำรดำำเนินกำรโดยใช้งำนวิจัย เชิงคุณภำพ และผสมผสำนกับกำรอบรมเชิงปฏิบัติกำร ซึ่งมีพื้นที่วิจัยคือ เทศบำลตำำบลต้นเปำ หลังจำกนั้นผู้วิจัยจะนำำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนำ วิเครำะห์ (Descriptive analysis) โดยศึกษำงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ศึกษำค้นคว้ำข้อมูลเอกสำร และกำรเก็บข้อมูลภำคสนำมโดยกำร สัมภำษณ์ กำรสังเกต รวมทั้งกำรอบรมเชิงปฏิบัติกำรเป็นหลัก 3.1 ขั้นตอนกำรดำำเนินกำรวิจัย แบ่งได้ดังนี้ 3.1.1 สำำรวจพื้นที่เป้ำหมำย เพื่อศึกษำบริบทชุมชน รวบรวมวิเครำะห์ปัญหำเกี่ยวกับเรื่องรำวของวัฒนธรรมดนตรี โดยกำร
  • 7. 7 ศึกษำสภำพกำรณ์ปัจจุบัน ในด้ำนที่ยังคงอยู่และที่สูญหำยไปของ เทศบำลตำำบลต้นเปำ รวมทั้งกระบวนกำรถ่ำยทอดดนตรี 3.1.2 ศึกษำจำกเอกสำรที่นำำเสนอแนวคิดและประสบกำรณ์ ของผู้เขียนโดยตรง ได้แก่ ตำำรำ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อด้ำนอินเตอร์เน็ต จำกบทควำมทำงวิชำกำร และจำกเอกสำรข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ศึกษำ 3.1.3 ระยะกำรดำำเนินกำรวิจัย ผู้วิจัยได้กำำหนดกิจกรรม หลักดังรำยละเอียดต่อไปนี้ 1) เตรียมควำมพร้อมด้วยกำรจัดประชุมผู้นำำท้อง ถิ่น เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจในโครงกำรวิจัย และกำรดำำเนินโครงกำรวิจัย รวมทั้งติดต่อสถำนศึกษำเพื่อที่จะได้คัดเลือกผู้ที่จะมำอบรมเชิงปฏิบัติ กำร 2) เก็บรวบรวมบริบทชุมชนในระดับหมู่บ้ำนด้ำน ประวัติศำสตร์ สภำพแวดล้อมลักษณะทำงวัฒนธรรมและสังคม เศรษฐกิจ โดยศึกษำควำมสัมพันธ์ด้ำนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม 3) อบรมปฏิบัติกำรด้ำนดนตรีและกำรแสดงพื้น เมือง 4) สรุปผลกำรวิจัยและจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม จัดทำำ สื่อ VCD และ Web Site 3.2. กลุ่มผู้ร่วมกระบวนกำรวิจัย กำรดำำเนินกำรวิจัยในครั้งนี้มีขอบเขตพื้นที่คือ เทศบำลตำำบลต้น เปำ อำำเภอสันกำำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีผู้ร่วมในกำรดำำเนินวิจัยครั้ง นี้ได้แก่ 3.2.1 ประชำกรเทศบำลตำำบลต้นเปำ กำำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน เจ้ำอำวำสวัดในเทศบำลตำำบลต้นเปำทั้งหมด 8 วัด 3.2.2 นักเรียนและครูจำกโรงเรียนบ้ำนบ่อสร้ำง โรงเรียน บ้ำนหนองโค้งและโรงเรียนสันมะโฮกฟ้ำ ทั้งหมดจำำนวน 36 คน 3.3. กิจกรรมในกำรดำำเนินกำรวิจัย สำำหรับกำรดำำเนินกำรวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดำำเนินกิจกรรมตำม ที่กำำหนดไว้เป็นขั้นตอนในแผนงำนวิจัย ดังนี้ 3.3.1 กำรจัดเวทีควำมรู้เพื่อสร้ำงควำมรู้เกี่ยวกับโครงกำร วิจัยระหว่ำงผู้วิจัยกับตัวแทนผู้ที่เข้ำร่วมโครงกำร 1) กิจกรรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรื้อฟื้นควำมรู้ใน ด้ำนกำรตีกลองปู่จำ
  • 8. 8 1.1 วิธีกำรดำำเนินกิจกรรม โดยจัดกำรอบรมกำรตี กลองปูจำให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้ำนหนองโค้ง โรงเรียนสันมะฮกฟ้ำ และโรงเรียนบ้ำนบ่อสร้ำง 1.2 ระยะเวลำในกำรดำำเนินกำรอบรมกำรตีกลองปู จำใช้เวลำทั้งหมด 15 ครั้ง โดยแบ่งเป็นโรงเรียนละ 5 ครั้ง 1.3 ผู้เข้ำร่วมกิจกรรม ได้แก่ นักเรียนและครู โรงเรียนบ้ำนหนองโค้ง โรงเรียนบ้ำนบ่อสร้ำง และโรงเรียนสันมะฮกฟ้ำ จำำนวน 36 คน 1.4 สถำนที่วัดหนองโค้ง วัดบ่อสร้ำง และวัดสัน มะฮกฟ้ำ 3.4 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดำำเนินกำรเก็บข้อมูลตำมขั้นตอนกำรวิจัย ดังนี้ 3.4.1 กำรเตรียมกำรวิจัย ผู้วิจัยและผู้ช่วยนักวิจัยได้เก็บ ข้อมูลจำกกำรสัมภำษณ์แบบเป็นทำงกำร และกำรเก็บข้อมูลอย่ำงไม่เป็น ทำงกำร ตลอดจนกำรเข้ำศึกษำพื้นที่เป็นระยะๆ และจดบันทึกในรูปแบบ เอกสำร บันทึกด้วยภำพถ่ำย กำรบันทึกถ้อยคำำด้วยเอ็มพีโฟว์ (MP4) 3.4.2 กำรดำำเนินกำรวิจัยในกำรศึกษำพื้นที่เชิงลึก โดยกำรเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่ำงกำรดำำเนินกำรโดยกำรสัมภำษณ์ กำรสังเกต กำรศึกษำชุมชน กำรนำำเสนอรำยงำนควำมก้ำวหน้ำ 3.4.3 กำรจัดกำรควำมรู้ ผู้วิจัยได้จัดรวบรวมข้อมูล โดยใช้วิธีกำรและเครื่องมือ คือ แบบประเมินควำมพึงพอใจ กำรสังเกต ระหว่ำงกำรดำำเนินกิจกรรม กำรสัมภำษณ์ แล้วนำำข้อมูลมำจดบันทึกใน รูปแบบของเอกสำรเป็นระยะ ๆ 3.3.4 สรุปกระบวนกำรกำรจัดของโครงกำรวิจัย ผู้วิจัยได้ เก็บรวบรวมข้อมูลจำกกำรจัดกิจกรรม กำรสัมภำษณ์ แบบประเมินควำม พึงพอใจ จำกนั้นนำำข้อมูลที่ได้มำจดบันทึกในรูปแบบเอกสำร และ บันทึกภำพ ส่วนกำรวิเครำะห์ควำมพึงพอใจนำำมำวิเครำะห์โดยกำรหำ ค่ำร้อยละ 3.5. กำรประมวลผลข้อมูลและกำรวิเครำะห์ข้อมูล กำรประมวลผลและกำรวิเครำะห์ข้อมูล ข้อมูลที่ได้จำกกำร สัมภำษณ์ กำรสังเกต กำรอบรม รวมทั้งแบบประเมินควำมพึงพอใจ ผู้ วิจัยจะนำำข้อมูลมำสรุปเป็นวิเครำะห์พรรณนำ 4. สรุปผล 1. รื้อฟื้นองค์ควำมรู้วัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองและกำรแสดงพื้น เมืองในเทศบำลตำำบลต้นเปำ อำำเภอสันกำำแพง จังหวัดเชียงใหม่ จำก
  • 9. 9 กำรสัมภำษณ์กำำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน เกี่ยวกับดนตรีพื้นเมืองสำมำรถสรุปได้ ว่ำ ปัจจุบันโรงเรียนที่อยู่ในเขตเทศบำลได้มีกำรเรียนกำรสอนเกี่ยวกับ ดนตรีพื้นเมือง ส่วนเจ้ำอำวำสหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับวัดเกี่ยวกับกลองปู่จำ สำมำรถสรุปได้ว่ำ กลองปู่จำที่ตั้งอยู่ในวัดจะใช้ต่อเมื่อมีกิจกรรมทำง พระพุทธศำสนำเท่ำนั้น ผู้ที่ตีเช่นผู้เฒ่ำผู้แก่รวมทั้งพระเณร ส่วนกำร สืบทอดเยำวชนในหมู่บ้ำนแต่ละหมู่บ้ำนไม่สนใจ เพรำะต้องไปเรียน พิเศษที่ในตัวเมืองเชียงใหม่ ผู้วิจัยจึงจัดโครงกำรอบรมกำรตีกลองปู่จำและกำรตบมะ ผำบขึ้นมำใหม่อีกครั้ง เพื่อรื้อฟื้นวัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองและกำรแสดง พื้นเมืองของเทศบำลตำำบลต้นเปำที่กำำลังสูญหำยไปจำกวัฒนธรรม ประเพณีของชำวเทศบำลตำำบลต้นเปำอีกครั้ง เนื่องจำกบทบำทของ กลองปู่จำมีเกี่ยวข้องกับพุทธศำสนำ กลองปู่จำจะใช้ตีก่อนวันพระ เพื่อ เตือนศรัทธำชำวบ้ำนให้รู้ว่ำพรุ่งนี้จะถึงวันพระ เพรำะในสมัยก่อนไม่มี สื่อใด ๆ ที่จะบอกวัน เดือน ปี นอกจำกปฏิทิน เนื่องจำกบำงครอบครัว ไม่มีปฏิทิน เป็นกำรให้เตรียมกำย เตรียมใจ ไปวัดทำำบุญตักบำตร ฟัง ธรรม จำำศีลภำวนำ หรือใช้ตีในลักษณะอื่นเช่น สมโภชงำนปอยหลวง หรือบอกเหตุ ลักษณะกำยภำพของกลองปู่จำเป็นกลองที่พัฒนำมำจำกกลอง ชัยมงคล กลองปู่จำเป็นกลอง สองหน้ำขนำดใหญ่ ประกอบด้วย แม่กลอง 1 ใบ และลูกตุ๊บ 3 ใบมีขนำดลดหลั่นกันไป กลองปู่จำนิยม ทำำจำกไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้สักทอง ไม้ประดู่ หุ้มด้วยหนังวัว หนังควำย เผือก อุปกรณ์ที่ใช้ตีกลองปู่จำ มีไม้ตีเรียกว่ำ ไม้ค้อน และไม้แสะหรือไม้ แต๊บ ไม้ค้อนนิยมใช้ไม้ไผ่ที่มีปุ่มหรือไม้ที่นำำมำเหลำให้ได้ขนำดเส้นผ่ำ ศูนย์กลำง 1 นิ้วถึง 1.5 นิ้ว และกลึงไม้เหลำตรงปลำยให้เป็นปุ่ม หรือ นำำผ้ำมำพันให้แน่นจนกลมได้ขนำด กลองหลวงหรือแม่กลองจะตีเสียงต๊ะและเสียงเติ้ง เสียงลูกตุ๊บทั้ง สำมลูกจะมีเสียงลดหลั่นกันตำมลำำดับ นอกจำกนั้นวงกลองปู่จำประกอบด้วย 1) ฆ้องอุ้ย 1 ใบ 2) ฆ้อง โหย่ง 5-12 ใบ 3) สว่ำหรือ ฉว่ำ 1 คู่ เครื่องประกอบจังหวะขึ้นอยู่กับ ควำมต้องกำรของแต่ละคณะ วิธีกำรตีกลองหลวง ไม้แสะจะใช้ตีเสียงต๊ะ ผู้ตีจะตีขอบกลองหลวง ไม้กลองจะตีเสียงเติ้ง ผู้ตีจะตีที่หน้ำกลอง
  • 10. 10 กำรตีเสียงต๊ะและเสียงเติ้งจะใช้ผู้ตี 2 คน คนหนึ่งจะทำำหน้ำที่ตี เสียงต๊ะและอีกคนหนึ่งจะทำำหน้ำที่ตีเสียงเติ้ง ลักษณะกำรบรรเลงจะมีทั้งทำำนองเร็วและทำำนองช้ำ ทำำนองหรือระบำำเป็นกำรเรียกจังหวะของกำรตีกลองปู่จำของชำว ล้ำนนำ ลักษณะทำำนองของกลองปู่จำจะปรำกฏเป็นประโยคยำวๆ มีกำร ซำ้ำประโยคขึ้นอยู่กับควำมต้องกำรของผู้ตี หลังจำกนั้นจะดำำเนิน ประโยคต่อไป ซึ่งในแต่ละประโยคผู้ตีสำมำรถจะใส่ลวดลำยของทำำนอง ลงไปได้อีก โน้ตไทย ทำำนองเสื้อขบตุ๊ รูปแบบจังหวะที่ 1 - - - เติ้ง - - - โมง - - - เติ้ง - - - โมง - - - เติ้ง - - - โมง - - - เติ้ง - - - โมง - - - - - - - - - - ตุ๊ บ - - - - - - - - - - - - - - - ตุ๊ บ - - - - - - - - - - ต๊ะ - - - - - - - - - ตะ - - - - - - - ต๊ะ - - - - - ต๊ะ - - - - - - - - - ตุง - - - - - ตุง - - - - - - - ตุง - - - - - - - - - ตุง - - - - - - - - - - - โมง - เติ้ง - - - - - - - - - - - - - โมง - เติ้ง - - - - - - - - - - - - - โมง - เติ้ง - - - - - - - - - - - - - โมง - - - เติ้ง - - - ตุ๊บ - - - - - - - ตุ๊บ - - - - - - - ตุ๊บ - - - - - ตุ๊บ - - - ตุ๊บ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ต๊ะ - - - - ต๊ะ - - - - - - - ตุง - - - - - - - ตุง - - - - - - - ตุง - - - ตุง - - - - - - - - - - - - - - - โมง - เติ้ง – เติ้ง - - - - - - - - - - - โมง - เติ้ง – เติ้ง - - - - - - - - - - - โมง - เติ้ง – เติ้ง - - - - - - เติ้ง - - - โมง - เติ้ง - -
  • 11. 11 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - เติ้ง - - - - - - - - - - ตุ๊บ - - - - - - - ตุ๊บ - - - - - - - ตุ๊บ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ตุง - - - - - - - ตุง - - - - - - - - - - - - - - - ตุง ลง(ฆ้องอุ้ย) โน้ตสากล ทำานองเสือขบตุ๊ การรื้อฟื้นองค์ความรู้เกี่ยวกับกลองปู่จา ผู้วิจัยจัดอบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการตีกลองปู่จาและการตบมะผาบให้กับนักเรียนและครูของ โรงเรียนบ้านหนองโค้ง โรงเรียนสันมะฮกฟ้า และโรงเรียนบ้านบ่อสร้าง นรากรประสาท ผู้วิจัยได้จัดวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียนและครูเรื่อง บทบาทหน้าที่ของกลองปู่จา วิธีการตี เทคนิคการตี การตบมะผาบ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และต่อยอดให้กับนักเรียนรุ่นต่อ ๆ ไปของชุมชน ในเทศบาลตำาบลต้นเปา นอกจากนั้นผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถามให้กับนักเรียนและครูทั้ง สามโรงเรียนเพื่อประเมินผลของโครงการ ดังนี้
  • 12. 12 1. ท่านมีความรู้เกี่ยวกับกลองปู่จาก่อนเรียน พบว่า นักเรียน ทั้งสามโรงเรียนรวมทั้งอาจารย์ที่เข้าร่วมรับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับ กลองปู่จาน้อยมาก ร้อยละ 78.38 2. ท่านมีความรู้เกี่ยวกับดนตรีพื้นเมืองอื่นๆ พบว่า นักเรียน และอาจารย์ที่เข้ารับ การอบรมมีความรู้เกี่ยวกับเครื่องดนตรีอื่น ๆ มากกว่ากลองปู่จา ร้อยละ 54.05 3. สถานที่มีความเหมาะสมการเรียนกลองปู่จาพบว่า สถาน ที่ที่ใช้ในการเรียนกลองปู่จามีความเหมาะสมมาก ร้อยละ 40.45 4. วิทยากรมีความรู้ในการอบรมการตีกลองปู่จาพบว่า วิทยากรที่นำามาอบรมการตีกลองปู่จามีความรู้มาก ร้อยเปอร์เซ็นต์เต็ม 5. ระยะเวลาในการอบรมการตีกลองปู่จามีความเหมาะสม พบว่า ระยะเวลาสำาหรับการอบรมการตีกลองปู่จามีความเหมาะสมมาก ร้อยละ 59.46 6. ท่านสามารถตีกลองปู่จาทำานองฟาดแส้ได้ พบว่า หลัง จากที่นักเรียนและอาจารย์เข้ารับการอบรมแล้วสามารถตีกลองปู่จา ทำานองฟาดแส้ได้มาก ร้อยละ 45.95 7. ท่านสามารถตีกลองปู่จาทำานองล่องน่านได้ พบว่า หลัง จากที่นักเรียนและอาจารย์เข้ารับการอบรมสามารถตีกลองปู่จาทำานอง ล่องน่านได้มาก ร้อยละ 78.38 8. ท่านเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของกลองปู่จากับวัด พบว่า นักเรียนและอาจารย์มีความเข้าเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของกลองปู่ จากับวัดมาก ร้อยละ 59.46 9. ท่านสามารถปฏิบัติการตบมะผาบได้ พบว่า นักเรียนและ อาจารย์ที่เข้ารับ การอบรมสามารถแสดงการตบมะผาบได้มาก ร้อยละ 59.46 10. ท่านมีความพึงพอใจในการเรียนกลองปู่จา พบว่า นักเรียนและอาจารย์มี ความพึงพอใจในการอบรมการเรียนกลองปู่ จาระดับมาก ร้อยละ 94.60 รวมทั้งข้อเสนอแนะอื่น ๆ เช่น ระยะเวลาในการฝึกควร มากกว่านี้ และควรมีการอบรม อย่างต่อเนื่อง ผู้วิจัยได้นำาความรู้เกี่ยวกับกลองปู่จาเข้าสู่ระบบการเรียน การสอนดนตรีท้องถิ่นในกลุ่มสาระศิลปะ เพื่อไม่ให้กลองปู่จาสูญหายไป จากสังคมประเพณีของชุมชนเทศบาลตำาบลต้นเปา รวมทั้งได้สร้างชุด รวมถึงสร้างคู่มือการตีกลองปู่จาและการตบมะผาบให้กับนักเรียนและครู ทั้งสามโรงเรียนเพื่อช่วยในการอนุรักษ์วัฒนธรรมการตีกลองปู่จา
  • 13. 13 2. การปรับประยุกต์ใช้เพื่อนำาไปสู่การท่องเที่ยว 2.1 การส่งเสริมกิจกรรมการตีกลองปู่จาแก่ชุมชนโดยผ่าน โรงเรียนในชุมชนเพื่อปรับประยุกต์เข้าสู่การท่องเที่ยว ดังนี้ 1) การจัดกลองปู่จาร่วมกับขบวนแห่ 2) การประกวดการตีกลองปู่จาในรูปแบบดั้งเดิมและรูป แบบใหม่ 3) การประกวดการนำากลองปู่จาเข้าร่วมกับวงดนตรีใน รูปแบบ Contemporary 2.2 จัดโครงการอนุรักษ์และส่งเสริมงานประเพณีโดยให้กลอง ปู่จาเข้าร่วมในงานที่เทศบาลตำาบลต้นเปาได้สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้วยการจัดงาน เช่น - มหัศจรรย์ล้านนากระดาษสาบ้านต้นเปา - งานเทศกาลร่มบ่อสร้างและหัตถกรรมอำาเภอสันกำาแพง - งานมหกรรมโคมลอยบ้านหนองโค้ง - หัตถกรรมอำาเภอสันกำาแพง - งานประเพณีสรงนำ้าพระธาตุวัดพระนอน(พระบ้าน)แม่ปูคา เป็นต้น การปรับประยุกต์ใช้เพื่อเข้าสู่การท่องเที่ยว กลองปู่จาเป็นก ลองที่อยู่ในวัดใช้ตีประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งพิธีกรรมบางอย่าง เพื่อใช้กลองปู่จาเริ่มหายไปเช่น การใช้ตีถวายกัณฑ์เทศน์ ปัจจุบันใช้ วงปี่พาทย์แทนเนื่องจากได้รับวัฒนธรรมดนตรีปี่พาทย์มาจากภาคกลาง หรือการใช้ตีเพื่อส่งสัญญาณว่าวันพรุ่งนี้จะเป็นวันพระปัจจุบันก็ใช้เสียง ตามสายแทน ทำาให้กิจกรรมการตีกลองปู่จาเริ่มหมดไป รวมทั้งการหาผู้ สืบทอดไม่มี การขาดผู้สืบทอดย่อมเป็นการส่งสัญญาณของการสูญหาย ทางวัฒนธรรม การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตีกลองปู่จาเพื่อเป็นแรงผลัก ดันให้กับเยาวชนภายในหมู่บ้านต่าง ๆ ที่อยู่ในเทศบาลตำาบลต้นเปา ช่วยกันรักษากลองปู่จามิให้สูญหาย การส่งเสริมการตีกลองปู่จาเพื่อเข้าสู่การท่องเที่ยวนั้นต้องได้ รับความร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่ายที่อยู่ในเทศบาลตำาบลต้นเปา จากการ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมงานประเพณีและเทศกาลที่มีตลอดทั้งปีของ ชุมชนนั้น มีส่วนที่จะผลักดันให้กลองปู่จามีการดำารงอยู่ในวัฒนธรรม โดยการนำาออกมาเผยแพร่สู่สายตาประชาชนที่มาร่วมงาน การรื้อฟื้น และการปรับประยุกต์กลองปู่จาเพื่อเข้าสู่การท่องเที่ยวนั้นเป็นการเติม เต็มให้งานประเพณีมีความงดงามและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
  • 14. 14 5. อภิปรายผล 1. รื้อฟื้นองค์ความรู้วัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองและการ แสดงพื้นเมืองในเทศบาลตำาบลต้นเปา การรื้อฟื้นกลองปู่จาและการตบมะผาบโดยการจัดอบรมให้กับ นักเรียนและครูโรงเรียน บ้านหนองโค้ง โรงเรียนสันมะฮกฟ้า และ โรงเรียนบ้านบ่อสร้างนรากรประสาทนั้นได้รับความร่วมมือ ในการที่จะ อนุรักษ์เกี่ยวกับกลองปู่จาและการตบมะผาบ ซึ่งทั้งกลองปู่จาและการตบ มะผาบนั้นถือว่าเป็นดนตรีและการแสดงที่มีความผูกพันกับวิถีชีวิตไม่ เพียงแต่ชาวเทศบาลตำาบลต้นเปาเท่านั้นแต่รวมถึงความผูกพันกับชาว ล้านนาด้วย เทศบาลตำาบลต้นเปาเป็นแหล่งหัตถกรรม แหล่งเศรษฐกิจ รวมทั้งเป็นพื้นที่ที่มีบุคคลภายนอกจำานวนมากต้องการเป็นเจ้าของ สำาหรับที่อยู่อาศัยและการทำามาหากิน ทำาให้พื้นที่ในเขตเทศบาลตำาบล ต้นเปาเป็นแหล่งทำาเลทองเจ้าของที่ดินจำานวนมาก ชาวบ้านได้ขายที่ดิน ให้กับนายทุนเพื่อสร้างหมู่บ้านจัดสรรหรืออื่น ๆ ทำาให้ชาวตำาบลต้นเปา มีเงินจากการขายที่ดิน นำาไปซื้อสิ่งอำานวยความสะดวก เช่น โทรทัศน์ ตู้เย็น เครื่องเสียง รถยนต์ หรือสร้างบ้านใหม่ รวมทั้งการส่งบุตรหลาน เข้ามาเรียนหนังสือในเมืองในความเชื่อที่ว่าโรงเรียนในเมืองดีกว่า โรงเรียนในชุมชน การเข้ามาเรียนหนังสือในเมืองทำาให้เยาวชนเกิด การแข่งในด้านการเรียน จึงต้องมีการเรียนพิเศษในวันเสาร์และวัน อาทิตย์ ทำาให้เยาวชนในพื้นที่เริ่มห่างไกลจากวัฒนธรรมที่เคยสืบทอด ต่อกันมา แต่มีการรับรู้วัฒนธรรมใหม่ที่แตกต่างกันวัฒนธรรมดั้งเดิมจน เกิดการต่อต้านวัฒนธรรมเดิม ทำาให้วัฒนธรรมบางอย่างได้สูญหายไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัฒนธรรมดนตรี ซึ่งมีความสอดคล้องกับสุริยา สมุทร คุปติ์ พัฒนา กิติอาษา และ ศิลปกิจ ตี่ขันกุล(2541:1) อธิบายว่า วัฒนธรรมในบริบทโลกสมัยใหม่ไม่ได้หมายถึงแบบแผนของวิถีชีวิตที่ ครั้งหนึ่งของคนในสังคมดั้งเดิมยึดถือร่วมกันอีกต่อไป ในโลกสมัยใหม่ วัฒนธรรมเป็นผลผลิตของอุดมการณ์และอำานาจรัฐ เป็นผลผลิตของ สื่อมวลชน วัฒนธรรมในโลกสมัยใหม่เป็นผลผลิตของกระบวนการที่รี ยกว่า โลกาภิวัตน์ที่ข้อมูลข่าวสาร อุดมการณ์ความคิด เทคโนโลยี เงิน ตรา หรือผู้คนที่ต่างติดต่อและมีอิทธิพลต่อกันและตรงกันข้าม เรียกว่า วัฒนธรรมประชา และสตอเรย์ (Storey อ้างใน สุริยา สมุทรคุปติ์ พัฒนา กิติอาษา และ ศิลปกิจ ตี่ขันกุล,2541: 16) ได้อธิบายว่า วัฒนธรรมประชา หมายถึง วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นภายหลังจากการพัฒนา อุตสาหกรรมและการเกิดชุมชนเมือง วัฒนธรรมประชาในแง่นี้สะท้อน ให้เห็นถึง อิทธิพลของสื่อมวลชน และการคมนาคมสื่อสารของโลกสมัย
  • 15. 15 ใหม่ วิธีการผลิตแบบอุตสาหกรรมและวิถีชีวิตในเองทำาให้คนจำานวน มากเปลี่ยนแปลงไปจากวิถีการเกษตรกรรมและวัฒนธรรมชนบทอย่าง สิ้นเชิง โลกความทันสมัยก่อให้เกิดรูปแบบวัฒนธรรมสมัยใหม่ที่เปลี่ยน วิถีชีวิตแบบดั้งเดิม การรื้อฟื้นการตีกลองปู่จาและการตบมะผาบ เพื่อให้องค์ ความรู้ยังคงดำารงอยู่และได้รับการสืบทอด ผู้วิจัยได้จดบันทึกเป็นโน้ต ดนตรีไทยและโน้ตดนตรีสากล และบันทึกรายละเอียดท่าของการตบมะ ผาบเพื่อเป็นคู่มือในการศึกษา รวมทั้งได้จัดทำาสาระเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ ตีกลองปู่จาและการตบมะผาบ เพื่อเป็นการรื้อฟื้นขึ้นมาใหม่อีกครั้ง 2. การปรับประยุกต์ใช้เพื่อนำาไปสู่การท่องเที่ยว เทศบาลตำาบลต้นเปาเป็นแหล่งเศรษฐกิจและแหล่งท่องเที่ยว ที่มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความสนใจในการ เข้าไปชม เทศบาลตำาบลต้นเปามีการจัดงานเทศกาลและงานประเพณี เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวเกือบตลอดทั้งปี การจัดงานเพื่อส่งเสริมการท่อง เที่ยวนี้มีรูปแบบที่หลากหลายกันออกไป แต่สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือ การนำาวัฒนธรรมดนตรีเข้าไปเพื่อสร้างสีสันและความสนุกสนานให้กับ งานขบวนต่าง ๆ กลองปู่จาเป็นกลองที่มีความยิ่งใหญ่อลังการมีเสียงที่นุ่ม นวลและดัง ผู้ฟังสามารถได้รับความสนุกสนานกับเสียงเครื่องประกอบ จังหวะเช่น สว่า ฆ้อง รวมทั้งลีลาของผู้บรรเลง รวมทั้งการตบมะผาบที่ ใช้แสดงสำาหรับการไหว้ครู เป็นการอบอุ่นร่างกายมีท่าทางที่สวยงาม ใช้ประกอบการตีกลองปู่จา การนำากลองปู่จาเข้าขบวนแห่ หรือสามารถ นำากลองปู่จาประกอบเครื่องดนตรีชนิดอื่นถือว่าเป็นการส่งเสริมเพื่อให้ กลองปู่จายังดำารงอยู่ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของ การนำาเสนองานรูปแบบของการปรับประยุกต์ให้เข้ากับการเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว ซึ่ง อมรา พงษาพิชย์ (2542: 16-17)อธิบายว่า การปรับตัว (Adaptation) เป็นความหมายของการปรับเปลี่ยนส่วนใดส่วนหนึ่งหรือ หลายส่วนเพื่อให้ความสัมพันธ์ลงตัว โดยพิจารณาประเด็นดังต่อไปนี้ - การปรับตัวด้านองค์ประกอบด้านศิลปวัฒนธรรม เช่น วรรณคดี ดนตรี การแสดง และศิลปกรรม รวมทั้งสังคมวัฒนธรรมที่เป็น วิถีชีวิต ความเชื่อ ฯลฯ - องค์ประกอบต่าง ๆ ของวัฒนธรรมที่ร้อยประสานเข้าเป็น วัฒนธรรมที่เป็นองค์รวม มีลักษณะเฉพาะของแต่ละสังคมวัฒนธรรม - การปฏิสัมพันธ์กับสังคมข้างเคียง หรือการค้นพบสิ่งใหม่ ภายในสังคมของตนเองและทำาให้เกิดการปรับเปลี่ยนเพื่อความคงอยู่ ของสังคมและวัฒนธรรมนั้น ๆ
  • 16. 16 - วัฒนธรรมคือระบบสัญลักษณ์ องค์ประกอบแต่ละส่วนมี ความหมายและสื่อความหมายที่ลึกซึ้งและกว้างขวางกว่าข้อเท็จจริง - การดำาเนินชีวิตต้องดำาเนินเป็นกลุ่ม การปรับเปลี่ยนสังคม วัฒนธรรม เป็น การปรับเปลี่ยนในกลุ่มมากกว่าในระดับ ปัจเจกบุคคล การสืบทอดวัฒนธรรมต้องถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปอีกรุ่น หนึ่ง เป็นกลุ่ม การปรับตัวทางวัฒนธรรมจึงเป็นการปรับเปลี่ยนของกลุ่ม - พฤติกรรมของมนุษย์ยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนได้ ไม่มี พฤติกรรมใดที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เลย - การถ่ายทอดวัฒนธรรมมีจากรุ่นหนึ่งไปสู่รุ่นหนึ่งมี กระบวนการและขั้นตอน การปรับเปลี่ยนทางวัฒนธรรมเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมีมนุษย์ เป็นตัวควบคุมปรากฏการณ์นี้ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวัฒนธรรมดนตรีพื้นเมือง ล้านนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลองปู่จา การนำากลองปู่จามาปรับประยุกต์ ให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบันเป็นสิ่งจะทำาให้กลองปู่จายังคงดำารงอยู่ได้ ในปัจจุบัน 6. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการอนุรักษ์และส่งเสริมการตีกลองปู่จา 1. ด้านนักดนตรี ควรมีการสั่งสอนสะสมจังหวะกลองปู่จา อาจ ทำาได้ในรูปแบบการเรียน แบบตีพร้อม ๆ กัน หลาย ๆ ชุด เพื่ออนุรักษ์ แบบแผนด้านสำาเนียงกลอง กระสวนจังหวะ และรายละเอียดอื่น ๆ ในรูป แบบดั้งเดิม และในรูปแบบการปรับประยุกต์ให้มีความหลากหลายให้เข้า กับดนตรีอื่น ๆ ได้ 2. ด้านหน่วยงานรัฐ องค์การบริหารส่วนตำาบล สมควรให้มีการตี กลองปู่จา ตามประเพณีดั้งเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา ร่วมทั้งปรับประยุกต์ เพื่อให้เหมาะสมกับยุคสมัย และแหล่งท่องเที่ยว 7. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการศึกษาวิจัย 1. ควรมีการศึกษาทำานองกลองปู่จาที่ยังไม่มีการบันทึก แล้วนำามา บันทึกข้อมูลเก็บรวบรวม 2. ควรมีการศึกษาความแตกต่างของทำานองกลองปู่จา ในแต่ละ พื้นที่ที่ยังมีการอนุรักษ์ไว้ 3. ควรมีการวิจัยด้านวัฒนธรรมและความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน กับกลองปู่จา 4. ควรมีการอนุรักษ์และส่งเสริมกลองปู่จา โดยหน่วยงานทุก หน่วยงานควรให้ความสำาคัญ มีการส่งเสริมให้มีการสืบทอดจากปราชญ์
  • 17. 17 นักดนตรีพื้นเมือง เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้กลองปู่จา เพื่อนำาไปใช้ใน กิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่บ้าน เป็นการส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมทาง ดนตรีไว้ หรือจัดเป็นหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียนในโรงเรียน อ้างอิง จีระวัฒน์ บุญลำ้า. ศึกษากลองปู่จาในจังหวัดลำาพูน. ปริญญานิพนธ์ หลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2551 หน้า เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี.(2539) การดนตรีไทยทางเลือกแห่งนิยามดนตรี วิทยาหรือมนุษยสังคีตวิทยา, คำาดนตรี 1 (1)) ชูสิทธิ์ ชูชาติ.(2538) การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของชาวเชียงใหม่; เจ็ดทศวรรษราชภัฏเชียงใหม่กับงาน สืบสานวัฒนธรรม. เชียงใหม่ : สถาบันราชภัฏเชียงใหม่. ยงยุทธ ธีรศิลป์. (2537) หนทางการเผยแพร่และอนุรักษ์วัฒนธรรม ท้องถิ่นภาคเหนือ;เจ็ดทศวรรษ: ราชภัฎเชียงใหม่กับสืบสานวัฒนธรรม.เชียงใหม่ : สถาบัน ราชภัฎเชียงใหม่ ศิราพร ฐิตะฐาน (2524) เอกสารการสอนชุดวิชาไทยศึกษา อารยธรรมเล่มที่ 12-15 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สงัด ภูเขาทอง. ประชุมบทความทางวิชาการ (ม.ป.ป )หน้า 1 สุริยา สมุทรคุปติ์ พัฒนา กิติอาษา และ ศิลปกิจ ตี่ขันกุล. (2541).แต่ง องค์ทรงเครื่อง: “ลิเก” ในวัฒนธรรม ประชาไทย. กรุงเทพฯ : สมบูรณ์การพิมพ์. อมรา พงษาพิชญ์.(2542) วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์ : วิเคราะห์สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.