SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ประโยชน์ของชาอู่หลง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาว.กานต์ชนก อิ่นแก้ว
ชั้น ม.6/13 เลขที่ 48
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ประโยชน์ของชาอู่หลง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Benefits of Oolong Tea
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว กาต์ชนก อิ่นแก้ว
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ขั้นตอนการหมักนั้นจะช่วยทาให้สีของน้าชาเข้มขึ้น ชาแบบนี้ที่รู้จักกันก็คือ “ชาอู่หลง” หรือ “ชาอูหลง” เป็นที่
นิยมดื่มกันมากในแถบประเทศจีนตอนกลาง แถบมณฑลฝูเจี๋ยน กวางตุ้ง เป็นชาที่มีรสชาติเข้มข้นและมีกลิ่นหอม
น้าชาที่ได้จะมีสีแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิต เช่น สีเหลืองอมเขียว สีน้าตาลอมเขียว สีน้าตาล
อมเหลือง สีน้าตาลอมส้ม เป็นต้น ส่วนในประเทศไทยนั้นได้มีการผลิตชาอู่หลงในแถบยอดดอยแม่สลอง ดอยวาวี
จังหวัดเชียงราย ซึ่งชาที่ได้จะมีคุณภาพที่ดี รสชุ่มคอ และมีกลิ่นหอม ซึ่งเป็นที่รู้จักและนิยมดื่มกันมากขึ้น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาชาอู่หลง มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นสาเหตุของโรคต่าง ๆ หลายโรค และช่วยชะลอวัย
2. ประโยชน์และช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง
3. เพื่อศึกษาการช่วยต้านอาการอักเสบและบวม
4. เพื่อศึกษาช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดหัวใจ
5. เพื่อศึกษาช่วยลดระดับน้าตาในเลือด ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวาน
6. เพื่อนศึกษาช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1 ชาอู่หลง มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นสาเหตุของโรคต่าง ๆ หลายโรค และช่วยชะลอวัย
2 ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง
3 ช่วยต้านอาการอักเสบและบวม
4 ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดหัวใจ
5 ช่วยลดระดับน้าตาในเลือด ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวาน
6 ช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคความดันโลหิตสูง
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
-เพื่อศึกษาประโยชน์ของชาอู่หลง ที่มีความหลากหลายทางด้านสรรพคุณในการรักษา และบารุงร่างกายและ
ประโยชน์ของชาอู้หลง
ชา คือ ชื่อเรียกของพืชชนิดหนึ่งที่นิยมน ามาท าเป็นเครื่องดื่ม ชาเป็นเครื่องดื่มที่เป็นที่นิยม
อย่างแพร่หลายของผู้บริโภคทั่วโลกเช่นเดียวกับกาแฟ มีผู้บริโภคมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลกรอง
จากน า โดยได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นชาวเอเชีย เช่น จีน ญี่ปุ่น หรือแม้แต่ชาว
ยุโรป ซึ่งชาที่นิยมดื่มกันในปัจจุบันนี มี 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ชาด า ชาเขียว และชาอู่หลง
ได้มีการกล่าวถึงต านานการก าเนิดชาและประเพณีการดื่มชาไว้อย่างมากมาย โดยจีนเป็นชนชาติแรก
ที่เริ่มน าชามาท าเป็นเครื่องดื่ม มีการผลิตชาและท าไร่ชามานานกว่า 0000 ปมมาแล้ว เช่น มีเรื่องเล่าว่า
ในเมืองจีนเกิดการระบาดของอหิวาตกโรค ผู้คนล้มตายกันมาก มีหมอจีนคนหนึ่งสังเกตเห็นว่า สาเหตุ
ของโรคระบาดมาจากน าสกปรกที่ชาวบ้านใช้ดื่มกิน จึงพยายามหาวิธีที่จะให้ชาวบ้านหันมาดื่มน าต้ม
สุกแทนน าดิบ โดยทดลองน าใบไม้หลายชนิดมาต้มน าร้อน เพื่อให้มีกลิ่นหอมและรสดีชวนดื่ม เมื่อ
ชาวบ้านดื่มน าชากันมากขึ น โรคห่าก็ค่อยๆ หมดไปในที่สุด ตั งแต่นั นมาชาวจีนก็นิยมดื่มน าชาใน
ชีวิตประจ าวันมาจนปัจจุบัน (“วัฒนธรรมการดื่มชาของคนจีน”, 0553)
ปม 080 ก่อนคริสต์ศักราช ทางภาคใต้ของจีนมีก๊กเล็กชื่อ หวูกั๋ว กษัตริย์ของก๊กนี โปรดจัดงาน
เลี ยงขุนนาง และดื่มเหล้ากันจนเมาไปหมด แต่มีขุนนางคนหนึ่งชื่อเหว่ยจาวดื่มเหล้าไม่เก่ง กษัตริย์ก็
เลยโปรดให้เขาดื่มชาแทนเหล้า หลังจากนั นปัญญาชนก็เริ่มใช้ชาเลี ยงแขก จนถึงสมัยราชวงศ์ถังการ
ดื่มชาได้กลายเป็นความเคยชินของชาวจีน เล่ากันว่า ประเพณีนี ยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับศาสนาพุทธ
ประมาณปม ค.ศ. 713 – 741 ในพุทธศาสนานิกายเซนของจีน พระสงฆ์และศาสนิกชนในวัดต้องนั่ง
เข้าฌานเป็นเวลานาน บางครั งรู้สึกง่วงและอยากกินของเล่น เจ้าอาวาสก็คิดวิธีให้ดื่มชาเพื่อท าให้
ประสาทดื่น หลังจากนั นวิธีนี ก็ได้เผยแพร่ไปตามท้องถิ่นต่าง ๆ ในช่วงเวลาเดียวกันในสมัยราชวงศ์ถัง
ตามบ้านเศรษฐียังมีการจัดห้องต้มน าชา ชิมชาและอ่านหนังสือโดยเฉพาะ (“เล่าเรื่องชาจีน-ชาอู
หลง”, 0555)
ปม ค.ศ 780 นายลู่อวี่ ผู้เชี่ยวชาญด้านใบชาของถังได้รวบรวมประสบการณ์การปลูกชา ผลิต
ใบและดื่มชา และได้เขียนต าราชาซึ่งเป็นหนังสือเกี่ยวกับชาเล่มแรกของจีน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง ฮ่องเต้
ซ่งฮุยจง ชอบจัดงานเลี ยงน าชาขุนนางผู้ใหญ่ และทรงต้มน าชาเอง ในพระราชวังหลวงของสมัย
ราชวงศ์ถัง ยังจัดงานน าชาเลี ยงทูตานุทูตต่างประเทศ ปัจจุบันในวันเทศกาลเช่นวันขึ นปมใหม่หรือวัน
ตรุษจีน หน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ของจีนส่วนมากจะจัดงานเลี ยงน าชาสัมมนา
การดื่มชาได้กลายสัญลักษณ์และวัฒนธรรมพิเศษชนิดหนึ่งของประเทศจีนไปแล้ว ตั งแต่สมัย
โบราณจนถึงปัจจุบัน ท้องถิ่นต่างๆ ของจีนมักมีโรงน าชาหรือร้านน าชามากมาย ที่ถนนเฉียนเหมินซึ่ง
2
เป็นย่านคึกคักของกรุงปักกิ่งก็มีร้านน าชาเฉพาะกลุ่ม ผู้คนสามารถดื่มชา กินอาหารพื นเมืองและชม
การแสดงต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นวิธีพักผ่อนที่สบาย ในทางภาคใต้ของจีนนอกจากจะมีร้านน าชาและโรง
น าชาแล้ว ยังมีเพิงน าชากลางแจ้ง ส่วนมากจะสร้างตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ นักท่องเที่ยวมักจะนั่ง
ดื่มชาและชมวิวไปด้วย
ชาเป็นผลผลิตทางการเกษตรจากยอดอ่อน ใบ และก้านของต้นชา ซึ่งชาทุกชนิดสามารถผลิต
ได้จากต้นชาต้นเดียวกัน แต่ผ่านกรรมวิธีแปรรูปแตกต่างกันออกไป รวมถึงเครื่องดื่มกลิ่นหอมที่ท า
จากพืชตากแห้งชนิดต่าง ๆ น ามาชงหรือต้มกับน าร้อน จึงท าให้เกิดการผลิตชาในรูปแบบต่าง ๆ กว่า
3,000 ชนิด ชาเป็นพืชกึ่งร้อน สามารถขึ นได้ดีในเขตอบอุ่น และมีฝนตก ซึ่งสามารถปลูกได้ในพื นที่มี
4
ความสูงกว่าระดับน าทะเล 1,000 – 0,000 เมตร ผลผลิตส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย โดยประเทศที่
ส่งออกชามากที่สุดในโลกคือจีนและอินเดีย และมากกว่าครึ่งหนึ่งของชาที่ส่งออกถูกดื่มโดยชาว
อังกฤษ ที่นิยมดื่มกันมากกว่า 14 ล้านลิตรต่อปม
ในปม 1861 ดร.เอ็ดเวิร์ด สมิท กล่าวว่า การบริโภคชาที่เพิ่มสูงขึ นอย่างก้าวกระโดดของ
ประชากรโลก เป็นข้อพิสูจน์ที่สะท้อนให้เห็นว่าชาเป็นเครื่องดื่มที่มีรสชาติที่น่าพึงพอใจ และมี
ประโยชน์ต่อสุขภาพ ได้รับการยกย่องให้เป็นเครื่องดื่มที่มีประสิทธิภาพในการบรรเทาอาการไม่พึง
ประสงค์ต่างๆ ได้แบบครอบจักรวาลมาแต่ครั งประวัติศาสตร์ ซึ่งมีตั งแต่อาการง่วงเหงาหาวนอน ไม่
สดชื่นกระปรี กระเปร่า อาการหวัด อาการปวดศีรษะ อาหารไม่ย่อย บ ารุงผิว และช่วยพัฒนาระบบ
ภูมิคุ้มกันให้มีประสิทธิภาพ (ศักดิ์ บวร, 2549, หน้า 7)
ชามิใช่เป็นเพียงเครื่องดื่มยอดนิยมเท่านั น แต่ยังได้ชื่อว่าเป็นเครื่องดื่มอมตะ เพราะจากการ
วิจัยสมัยใหม่มีการยืนยันมากขึ นเรื่อยๆว่า ชาช่วยชะลอความแก่ ท าให้อายุยืนยาวได้ โดยเฉพาะชา
เขียว ชาเขียวเป็นชาประเภทหนึ่งที่ไม่ผ่านการหมัก ท าให้ไม่สูญเสียคุณค่าทางโภชนาการที่เป็น
องค์ประกอบที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ซึ่งมีหลายงานวิจัยได้ยืนยันว่าในชาเขียวมี Caffeine ซึ่งช่วยให้
สมองสดชื่นแจ่มใส และมี Catechin ช่วยป้องกันการเกิดโรงมะเร็ง ลดความเสี่ยงจากโรคหลอดเลือด
หัวใจตีบ ลดคอเลสเตอรอลในเลือดและรักษาสุขภาพในช่องปากได้ดี (Pastore & Fratellone,
0006)
การดื่มน าชาจะช่วยขจัดพิษและเกลือที่สะสมในร่างกาย คือการชงชาด้วยน าเดือดจัด หรือต้ม
ใบชาแล้วดื่มตามใจชอบ ชาจะเข้าเส้นปอดช่วยละลายเสมหะขับน า เข้าเส้นหัวใจช่วยดับร้อนถอนพิษ
ชาช่วยขจัดพิษและเกลือที่สะสมในร่างกาย ป้องกันนิ่วในไต นิ่วในถุงน าดี ป้องกันโรคเก๊าต์ นอกจากนี
ยังช่วยลดคอเลสเตอรอล ป้องกันหลอดเลือดแข็ง เพราะในชามีสารที่ช่วยให้เส้นเลือดฝอยมีความ
ยืดหยุ่นดี ช่วยต้านมะเร็ง เป็นตัวช่วยในการรักษาโรคเบาหวาน อีกทั งยังช่วยชะลอความชราด้วย
(หมอไพร, 0550, หน้า 70)
3
ส าหรับในประเทศไทย มีการปลูกชามากในจังหวัดเชียงราย เพราะชาจะเจริญเติบโตได้ดีใน
ภูมิประเทศเป็นภูเขาสูง และมีอุณหภูมิความเย็นที่เหมาะสม ในส่วนของคนไทยนั นรู้จักการบริโภคน า
ชาตั งแต่สมัยสุโขทัย การบริโภคน าชาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการต้อนรับแขกบ้านแขกเรือน มิตร
สหาย ตลอดจนเป็นเครื่องดื่มที่ดื่มกันในชีวิตประจ าวัน ด้วยตัวชานั นเหมาะกับสังคมไทยที่เมื่อดื่มแล้ว
รู้สึกสดชื่น เพราะภูมิอากาศที่ร้อนท าให้การดื่มน าชาได้รับความนิยม และแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ร้าน
น าชาไม่ได้ท าหน้าที่เป็นแค่ร้านดื่มน าชา แต่ยังท าหน้าเป็นสถานที่พบปะมิตรสหาย ตลอดจนเป็น
สถานที่แสดงออกทางความคิดเห็นของกลุ่มต่างๆ พฤติกรรมการบริโภคน าชาตั งแต่สมัยโบราณเป็น
การบริโภคในรูปแบบการชงชาดื่มเองและไม่มีส่วนผสมของน าตาล ซึ่งการดื่มชาที่ชงเองนอกจากจะ
ได้รับรสชาติและกลิ่นหอมแท้จากชาแล้วยังได้รับประโยชน์จากสารต้านอนุมูลอิสระที่ดีกว่าเครื่องดื่ม
ชาเขียวส าเร็จรูป
ในปัจจุบันผู้บริโภคให้ความส าคัญกับสุขภาพมากยิ่งขึ น โดยเฉพาะผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเมือง
ใหญ่ สินค้าหรือบริการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจึงมีบทบาทต่อพฤติกรรมการบริโภคเป็นอย่างสูง ดังจะ
เห็นได้จากการเจริญเติบโตของธุรกิจสถานออกก าลังกาย สปา รวมทั งอาหารและเครื่องดื่มเพื่อ
สุขภาพ ซึ่งชาเขียวพร้อมดื่มเป็นเครื่องมืออีกชนิดหนึ่งที่ได้รับการตอบรับจากผู้บริโภคเป็นอย่างสูง
เพราะกระแสการรับวัฒนธรรมจากญี่ปุ่น ไม่ว่าจะเป็นแฟชั่นหรือการบริโภคอาหารญี่ปุ่น ปัจจัย
ดังกล่าวล้วนผลักดันให้เกิดเป็นกระแสการบริโภคชาเขียวพร้อมดื่ม และด้วยรสชาติความอร่อย แก้
กระหาย ท าให้รู้สึกสดชื่น รวมไปถึงเทคนิคการโฆษณาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มชาเขียว หรือข้อมูลต่าง ๆ
5
เกี่ยวกับสรรพคุณของชาเขียวที่มีต่อร่างกาย เช่น ช่วยลดระดับไขมันในเลือด ลดความอ้วน และ
ป้องกันโรคมะเร็ง เป็นต้น เป็นแรงจูงใจท าให้เกิดกระแสการบริโภคชาเขียวเพิ่มขึ น ถ้าจะดื่มเพื่อที่จะ
ได้รับประโยชน์จากสารโพลีฟมนอล อาจจะต้องดื่มหลายขวดต่อวัน ซึ่งแทนที่จะได้ประโยชน์อาจท าให้
เสียสุขภาพ เพราะชาพร้อมดื่มเป็นน าชาที่เจือจาง ที่ปรุงแต่งกลิ่นและรสด้วยน าตาล หากดื่มมาก ๆ
อาจท าให้เกิดโรคอ้วน และการบริโภคชาเขียวส าเร็จในปริมาณสูง ติดต่อกันเป็นเวลานานสามารถ
ส่งผลเสียต่อตับได้ ซึ่งมีมากมายหลากหลายแบรนด์ในท้องตลาด ซึ่งผู้บริโภคควรทราบถึงข้อมูล
เบื องต้นเกี่ยวกับชาเขียวเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและไม่ส่งผลเสียต่อร่างกาย การดื่มชาเพื่อให้ได้
รสชาติที่ดี และมีสรรพคุณอย่างเต็มที่นั น จึงต้องดื่มชาด้วยวิธีการชงและดื่มขณะที่ยังอุ่นอยู่ ซึ่งข้อมูล
ความรู้เหล่านี เริ่มมีกระแสการดื่มชาชงเกิดขึ น ไม่ว่าจะเป็นชาเขียว ชาอู่หลง รวมถึงชาสมุนไพร และ
ยังมีแนวโน้มการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง
จากที่กล่าวมาข้างต้นจึงท าให้ผู้วิจัยเล็งเห็นถึงโอกาสในการลงทุนท าธุรกิจ และผู้วิจัยเองนั นมี
ความชอบในธุรกิจประเภทนี เป็นทุนเดิม จึงเริ่มด าเนินการวิจัยธุรกิจร้านน าชาภายใต้ชื่อ Master Tea
ซึ่งเป็นการจิบน าชา ของว่าง รวมทั งอาหารในใจกลางเมือง ท่ามกลางบรรยากาศแสนอบอุ่น สบายๆ
กระบวนการผลิตชาเขียว ชาอู่หลง
การเก็บใบชา (Tea plucking) เป็นขั้นตอนที่สาคัญเนื่องจากต้องอาศัยความละเอียดในการเก็บ การเก็บใบชา
ต้องใช้แรงงานคนในการเก็บจึงจะได้ยอดใบชาที่มีคุณภาพดี การเก็บจะต้องเลือกเก็บเฉพาะยอดชาที่ตูมและใบที่
ต่าจากยอดตูมลงมา 2 ใบ (เก็บ 1 ยอด 2 ใบ) เนื่องจาก polyphenols ซึ่งเป็นสารสาคัญในชาจะมีอยู่มาก
เฉพาะในยอดชาเท่านั้น
การผึ่งชา (Withering) เป็นขั้นตอนที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารต่าง ๆ
ในใบชา การผึ่งชาจะทาให้น้าในใบชาระเหยไป ทาให้ใบชาเหี่ยวและจะมีการซึมผ่านของสารต่าง ๆ ภายในและ
ภายนอกเซลล์ ในการผึ่งชานี้เอง เอนไซม์ polyphenol oxidase จะเร่งปฏิกิริยา oxidation และ
polymerization ทาให้สาร polyphenol เกิดปฏิกิริยาเคมีได้เป็นองค์ประกอบใหม่ที่ทาให้ชามีสี กลิ่น และ
รสชาติที่แตกต่างกันไป
การนึ่งชา (Steaming) หรือการคั่วชา (Pan firing) เป็นขั้นตอนที่ให้ความร้อนกับใบชาเพื่อทาลายเอนไซม์
polyphenol oxidase ทาให้หยุดปฏิกิริยาการหมัก
การนวดชา (Rolling) เป็นขั้นตอนที่ใช้น้าหนักกดทับลงใบชา เป็นการขยี้ใบชาเพื่อให้เซลล์แตก เมื่อเซลล์แตกจะ
ทาให้สารประกอบต่าง ๆ ที่อยู่ในเซลล์ไหลออกมานอกเซลล์และเคลือบอยู่บนส่วนต่าง ๆของใบชา
การหมักชา (Fermentation) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเริ่มตั้งแต่การผึ่งชา และนวดชา ก่อนที่จะ
ถึงขั้นตอนการหยุดปฏิกิริยาเอนไซม์ polyphenol oxidase ด้วยความร้อน (steaming หรือ firing) ใน
กระบวนการนี้เอนไซม์ polyphenol oxidase จะเร่งปฏิกิริยา oxidation ทาให้ polyphenols เกิด oxidized
และเกิดปฏิกิริยา polymerization ได้เป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่าง polyphenols ที่มีโมเลกุลใหญ่ขึ้น ซึ่ง
ทาให้ชาเกิดกลิ่น สี และรสชาติที่แตกต่างกันไปตามองค์ประกอบทางเคมีที่อยู่ในชาและตามกรรมวิธีการผลิต
6
การอบแห้ง (Drying) เป็นขั้นตอนการอบแห้งเพื่อลดความชื้นในใบชาให้เหลือประมาณ 5% เพื่อให้สามารถเก็บ
ใบชาไว้ได้นาน
การคัดบรรจุ (Sorting and packing) หลังการอบแห้งจะเป็นการคัดเลือกเศษกิ่งก้านของใบชา และสิ่งเจือปน
ต่าง ๆ ออกจากใบชา เสร็จแล้วนามาบรรจุใส่ถุงเพื่อรอจาหน่ายต่อไป
ประโยชน์ของชาอู่หลง
1. ชาอู่หลง เป็นชาที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางมาเป็นระยะเวลานาน มีจุดเด่นตรงที่มีกลิ่นหอมละมุนชุ่ม
ติดคอ ให้รสชาติที่เข้มกว่าชาเขียว แต่ฝาดน้อยกว่าชาดา โดยจัดเป็นเครื่องดื่มที่รายงานการศึกษาถึงผลดีต่อ
ร่างกายหลายด้าน
2. จากการศึกษาวิจัยของชาวสหรัฐอเมริกา และได้มีการตีพิมพ์ลงในวารสาร Journal of Nutrition ได้ระบุว่า
ชาอู่หลงเป็นตัวช่วยในการล้างพิษ สามารถช่วยกาจัดอนุมูลอิสระที่ทาลาย DNA ในกระแสเลือดได้ดี
3. ชาอู่หลงมีสารต้านอนุมูลอิสระสูง จึงช่วยต่อต้านริ้วรอยทีเกิดจากการเผชิญกับรังสีอัลตร้าไวโอเล็ต มลภาวะ
ต่าง ๆ และความเครียด จึงช่วยชะความแก่ได้อีกด้วย
4. รายงานของกองการป้องกันโรคและกองงานโภชนาการ ในกรมการแพทย์ของประเทศจีน ได้รายงานว่า ชาอู่
หลงมีฤทธิ์ยับยั้งสาร DEAN ที่ทาให้เกิดมะเร็งปอด และสาร MNNG ที่เป็นสารก่อมะเร็งในกระเพาะอาหาร
และลาไส้
5. ช่วยลดการสะสมและช่วยควบคุมปริมาณของไขมันในเลือด ช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคอ้วน (OTPPS
เป็นสารในกลุ่มโพลีฟีนอล มีความสาคัญต่อการลดและควบคุมปริมาณของไขมันในร่างก่าย โดยพบว่าสารใน
กลุ่มนี้สามารถยับยั้งการทางานของเอนไซม์ไลเปสซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เกี่ยวกับการดูดซึมไขมันที่ลาไส้เล็ก ซึ่งเป็น
กลไกเดียวกันกับยาลดความอ้วนบางชนิดในปัจจุบัน และยังมีรายด้วยว่าการดื่มชาอู่หลงหลังการรับประทาน
อาหารจะช่วยลดระดับไตรกลีเซอไรด์ได้อย่างมีนัยสาคัญ ช่วยเพิ่มการขับไขมันออกทางอุจจาระ มีคุณสมบัติ
ช่วยกระตุ้นการเผาผลาญพลังงาน โดยมีรายงานว่าชาอู่หลงสามารถเพิ่มอัตราการเผาผลาญพลังงานได้ดีกว่า
ชาเขียวถึง 2 เท่า) (บางข้อมูลระบุว่าชาอู่หลงสามารถช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลได้ถึง 4% และช่วยลด
ระดับไขมันเลว (LDL) ที่เป็นโทษต่อร่างกายลงได้ถึง 8%)
6. การดื่มชาอู่หลง น่าจะมีประสิทธิภาพในการป้องกันและบาบัดภาวะอ้วนลงพุง หรือ Metabolic syndrome
ได้ โดยมีการศึกษาวิจัยที่แสดงให้เห็นผลของการดื่มชาอู่หลงต่อการลดความอ้วนในผู้ที่มีภาวะน้าหนักเกิน
และโรคอ้วน ซึ่งเป็นการศึกษาของ Rong-rong H และคณะ ได้พบว่าการบริโภคชาเขียววันละ 8 กรัม
ติดต่อกัน 6 สัปดาห์ จะทาให้น้าหนักตัวลดลงมากกว่า 1 กิโลกรัม ไขมันที่สะสมในร่างกายก็ลดลง 12% และ
มีความสัมพันธ์กับเส้นรอบวงเอวที่ลดลงด้วย ส่วนการศึกษาของ Junichi N และคณะ ได้พบว่าการดื่มชาอู่
หลงติดต่อกันเป็นเวลา 12 สัปดาห์ จะช่วยทาให้ไขมันในช่องท้องลดลง โดยไม่มีผลข้างเคียงใด ๆ
เช่นเดียวกับการศึกษาของ Maekawa T และคณะ ทีได้พบว่า การดื่มชาอู่หลงสามารถทาให้น้าหนักตัว ดัชนี
มวลกาย มวลไขมันรวมในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง เส้นรอบวงเอว เส้นรอบวงสะโพก และความหนาของชั้น
ไขมันใต้ผิวหนังลดลงอย่างปลอดภัย ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Nakamura J และคณะ ที่พบว่าการดื่ม
ชาอู่หลงสามารถช่วยลดไขมันสะสมในช่องท้องและขนาดรอบวงเอว ส่วนการศึกษาจาจีนซึ่งมีกลุ่มตัวอย่าง
เป็นคนอ้วนจานวน 102 ราย พบว่า เมื่อให้กลุ่มตัวอย่างดื่มชาอู่หลงทุกวัน ติดต่อกัน 6 สัปดาห์ พบว่าร้อยละ
22 ของกลุ่มตัวอย่างมีน้าหนักตัวลดลงเกินกว่า 3 กิโลกรัม โดย่สวนที่ลดเป็นจะเป็นไขมันบริเวณพุงมากกว่า
ส่วนอื่น ๆ
7
7. ชาอู่หลงสามารถช่วยเพิ่มกระบวนเมทาบอลิซึม (Metabolism) หรือกระบวนการเผาผลาญพลังงานได้ดีกว่า
ชาชนิดอื่น ๆ โดยมีรายงานว่าการดื่มชาอู่หลงจะช่วยเพิ่มการเผาผลาญขณะพักในเวลา 120 นาที หลังการ
ดื่มประมาณ 10% เมื่อเทียบกับชาเขียวซึ่งจะเพิ่มได้เพียง 4% ด้วยเหตุนี้เองชาอู่หลงจึงเป็นเครื่องดื่มที่เหมาะ
สาหรับผู้ที่นิยมกินเนื้อสัตว์เป็นชีวิตจิตใจ และผู้ที่ต้องการลดลดระดับคอเลสเตอรอลและไขมันในเลือดสูง
หมายเหตุ : สาหรับผู้ที่ต้องการลดน้าหนักหรือลดความอ้วนด้วยการดื่มชาอู่หลงเพียงอย่างเดียวเป็นสิ่งที่ไม่แนะนาให้
ทาครับ หากคุณต้องการลดน้าหนักคุณก็ต้องใช้วิธีการอื่น ๆ ควบคู่ไปด้วย เช่น การออกกาลังกายอย่างเสมอ ควบคุม
อาหาร มีอารมณ์แจ่มใสเบิกบาน ไม่เครียด เป็นต้น สาหรับชาอู่หลงสาเร็จรูปที่วางขายตามท้องตลาดนั้น อันนี้ไม่ผม
ขอแนะนาครับ ซื้อแบบที่เป็น “ใบชาอู่หลง”มาชงดื่มเองจะได้ประโยชน์สูงสุดครับ เพราะชาอู่หลงแบบสาเร็จนั้น ถ้า
หากลองสังเกตดูที่ฉลากโภชนาการข้างขวดแล้วคุณก็จะพบว่าบางยี่ห้อมีการเติมน้าตาลลงไปมากถึง 28 กรัมต่อ 1
ขวด ซึ่งแน่นอนว่ากินให้ตายยังไงน้าหนักก็ไม่ลดลงอย่างแน่นอน แต่ถ้าจะซื้อมาดื่มจริง ๆ ก็ควรจะเลือกเป็นแบบที่ไม่
ใส่น้าตาล
8
วิธีชงชาอู่หลง
การชงชาอู่หลง ให้มีรสชาติดีนั้นมีข้อสาคัญหลักอยู่ 4 ประการ ได้แก่
 ปริมาณของใบชา : การจะใช้ในปริมาณเท่าใดนั้นจะอยู่กับลักษณะของใบชา (เช่น กลมแน่น กลมหลวม หรือ
เป็นเส้น) ถ้าใบชาที่ใช้มีลักษณะกลมแน่น ให้ใช้ชาประมาณ 25% ของกาชา (เมื่อแช่อยู่ในน้าร้อนจะคลายตัว
จนเป็นใบชัดเจน ถ้าใส่มากเกินไปจะทาให้การคลายตัวไม่ดี รสชาติที่ได้จะไม่ได้มาตรฐาน) เมื่อคลายเต็มที่
ควรจะมีปริมาณ 90% ของกาชา ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของใบชา และขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละคน
ด้วยนะครับ ว่าต้องการให้มีรสชาติเข้มข้นมากน้อยเพียงใด
 อุณหภูมิของน้า : น้าที่ใช้ชงไม่จาต้องใช้น้าร้อนเกิน 100 องซาเซลเซียส แต่ให้ดูว่าจะชงชาประเภทใด เช่น
อุณหภูมิต่ากว่า 80 องศาเซลเซียส จะใช้ชงกับชาเขียวทั่วไป อุณหภูมิ 80-90 องศาเซลเซียส จะเหมาะกับชา
ที่เป็นรูปทรงบอบบางแตกหักง่ายหรือชาที่มีใบอ่อนมาก ส่วนอุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียวขึ้นไปนั้นจะเหมาะ
สาหรับชาที่รูปทรงแน่นกลมแข็ง
 เวลาในการชง : เวลาเป็นตัวบ่งบอกว่า น้าชาที่ได้จะมีรสอ่อนหรือแก่ โดยปกติแล้วชาประเภททรงกลมแน่น
จะใช้เวลาในการชงครั้งแรกประมาณ 45-60 วินาที แต่ถ้าชงครั้งต่อ ๆ ไป ก็ให้เพิ่มเป็น 10-15 วินาทีต่อครั้ง
 กาชาที่ใช้ชง : กาที่ใช้ควรทามาจากดินเผา เพราะกาดินเผาจะเก็บความร้อนได้ดีกว่า และให้การตอบสนองที่
ดีกว่ากาที่ทามาจากวัสดุแบบอื่น
ที่มา ที่มาของชาอู่หลง
สาหรับวิธีการชงชงอู่หลงนั้น มีขั้นตอนง่าย ๆ ดังนี้ครับ
1. ใส่ใบชาลงไปในกาประมาณ 1/6-1/4 ของ
ปริมาตรกา
2. รินน้าเดือดลงในกาครึ่งหนึ่ง แล้วเทน้าทิ้งทันที
(ไม่ควรเกิน 5 วินาที) เพื่อเป็นการล้างและอุ่นใบ
ชาให้ตื่นตัว
3. ขั้นตอนต่อมาให้รินน้าเดือดลงในชากาอีกครั้งจน
เต็ม แล้วปิดฝากาทิ้งไว้ประมาณ 45-60 วินาที
4. เมื่อเสร็จแล้วให้รินน้าชาลงในแก้วดื่ม (ในการรินแต่ละครั้ง จะต้องรินน้าออกให้หมดจากกา มิฉะนั้นจะทาให้
น้าชาที่เหลือคากามีรสขมและฝาดมากขึ้น ซึ่งอาจทาให้เสียรสชาติได้)
5. ใบชาสามารถชงซ้าได้ประมาณ 4-6 ครั้ง และในการชงแต่ละครั้งให้เพิ่มเวลาครั้งละประมาณ 10-15 วินาที
เช่น ชงรอบแรกใช้เวลา 60 วินาที พอจะชงครั้งที่สองก็ให้เพิ่มเป็น 70-75 วินาที เป็น

More Related Content

What's hot

น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงNitikan2539
 
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอChicharito Iamjang
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ploypoll
 
สังคมออนไลน์
สังคมออนไลน์สังคมออนไลน์
สังคมออนไลน์YenrudeePantong28
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์tangkwakamonwan
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์anmor aunttt
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
10657065 747554985324701 2086860594_n
10657065 747554985324701 2086860594_n10657065 747554985324701 2086860594_n
10657065 747554985324701 2086860594_nMilk MK
 
ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือJiranun Phahonthammasan
 

What's hot (20)

2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงงานหม่าล่า
โครงงานหม่าล่าโครงงานหม่าล่า
โครงงานหม่าล่า
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง
 
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Travel check in
Travel check inTravel check in
Travel check in
 
สังคมออนไลน์
สังคมออนไลน์สังคมออนไลน์
สังคมออนไลน์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
10657065 747554985324701 2086860594_n
10657065 747554985324701 2086860594_n10657065 747554985324701 2086860594_n
10657065 747554985324701 2086860594_n
 
ควยยยย
ควยยยยควยยยย
ควยยยย
 
ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือ
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

เครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทยเครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทยWaraporn Chiangbun
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sompoii Tnpc
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานFah Phatcharida
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ Warittha Nokmeerod
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15KUMBELL
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ rujira plumjit
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพpaifahnutya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ploypoll
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์greatzaza007
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
2560 project no.03,28
2560 project  no.03,282560 project  no.03,28
2560 project no.03,28
 
เครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทยเครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทย
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
2561 project 41
2561 project 412561 project 41
2561 project 41
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ประโยชน์ของชาอู่หลง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาว.กานต์ชนก อิ่นแก้ว ชั้น ม.6/13 เลขที่ 48 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ประโยชน์ของชาอู่หลง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Benefits of Oolong Tea ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว กาต์ชนก อิ่นแก้ว ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ขั้นตอนการหมักนั้นจะช่วยทาให้สีของน้าชาเข้มขึ้น ชาแบบนี้ที่รู้จักกันก็คือ “ชาอู่หลง” หรือ “ชาอูหลง” เป็นที่ นิยมดื่มกันมากในแถบประเทศจีนตอนกลาง แถบมณฑลฝูเจี๋ยน กวางตุ้ง เป็นชาที่มีรสชาติเข้มข้นและมีกลิ่นหอม น้าชาที่ได้จะมีสีแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิต เช่น สีเหลืองอมเขียว สีน้าตาลอมเขียว สีน้าตาล อมเหลือง สีน้าตาลอมส้ม เป็นต้น ส่วนในประเทศไทยนั้นได้มีการผลิตชาอู่หลงในแถบยอดดอยแม่สลอง ดอยวาวี จังหวัดเชียงราย ซึ่งชาที่ได้จะมีคุณภาพที่ดี รสชุ่มคอ และมีกลิ่นหอม ซึ่งเป็นที่รู้จักและนิยมดื่มกันมากขึ้น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาชาอู่หลง มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นสาเหตุของโรคต่าง ๆ หลายโรค และช่วยชะลอวัย 2. ประโยชน์และช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง 3. เพื่อศึกษาการช่วยต้านอาการอักเสบและบวม 4. เพื่อศึกษาช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดหัวใจ 5. เพื่อศึกษาช่วยลดระดับน้าตาในเลือด ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวาน 6. เพื่อนศึกษาช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคความดันโลหิตสูง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1 ชาอู่หลง มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นสาเหตุของโรคต่าง ๆ หลายโรค และช่วยชะลอวัย 2 ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง 3 ช่วยต้านอาการอักเสบและบวม 4 ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดหัวใจ 5 ช่วยลดระดับน้าตาในเลือด ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวาน 6 ช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) -เพื่อศึกษาประโยชน์ของชาอู่หลง ที่มีความหลากหลายทางด้านสรรพคุณในการรักษา และบารุงร่างกายและ ประโยชน์ของชาอู้หลง ชา คือ ชื่อเรียกของพืชชนิดหนึ่งที่นิยมน ามาท าเป็นเครื่องดื่ม ชาเป็นเครื่องดื่มที่เป็นที่นิยม อย่างแพร่หลายของผู้บริโภคทั่วโลกเช่นเดียวกับกาแฟ มีผู้บริโภคมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลกรอง จากน า โดยได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นชาวเอเชีย เช่น จีน ญี่ปุ่น หรือแม้แต่ชาว ยุโรป ซึ่งชาที่นิยมดื่มกันในปัจจุบันนี มี 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ชาด า ชาเขียว และชาอู่หลง ได้มีการกล่าวถึงต านานการก าเนิดชาและประเพณีการดื่มชาไว้อย่างมากมาย โดยจีนเป็นชนชาติแรก ที่เริ่มน าชามาท าเป็นเครื่องดื่ม มีการผลิตชาและท าไร่ชามานานกว่า 0000 ปมมาแล้ว เช่น มีเรื่องเล่าว่า ในเมืองจีนเกิดการระบาดของอหิวาตกโรค ผู้คนล้มตายกันมาก มีหมอจีนคนหนึ่งสังเกตเห็นว่า สาเหตุ ของโรคระบาดมาจากน าสกปรกที่ชาวบ้านใช้ดื่มกิน จึงพยายามหาวิธีที่จะให้ชาวบ้านหันมาดื่มน าต้ม สุกแทนน าดิบ โดยทดลองน าใบไม้หลายชนิดมาต้มน าร้อน เพื่อให้มีกลิ่นหอมและรสดีชวนดื่ม เมื่อ ชาวบ้านดื่มน าชากันมากขึ น โรคห่าก็ค่อยๆ หมดไปในที่สุด ตั งแต่นั นมาชาวจีนก็นิยมดื่มน าชาใน ชีวิตประจ าวันมาจนปัจจุบัน (“วัฒนธรรมการดื่มชาของคนจีน”, 0553) ปม 080 ก่อนคริสต์ศักราช ทางภาคใต้ของจีนมีก๊กเล็กชื่อ หวูกั๋ว กษัตริย์ของก๊กนี โปรดจัดงาน เลี ยงขุนนาง และดื่มเหล้ากันจนเมาไปหมด แต่มีขุนนางคนหนึ่งชื่อเหว่ยจาวดื่มเหล้าไม่เก่ง กษัตริย์ก็ เลยโปรดให้เขาดื่มชาแทนเหล้า หลังจากนั นปัญญาชนก็เริ่มใช้ชาเลี ยงแขก จนถึงสมัยราชวงศ์ถังการ ดื่มชาได้กลายเป็นความเคยชินของชาวจีน เล่ากันว่า ประเพณีนี ยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับศาสนาพุทธ ประมาณปม ค.ศ. 713 – 741 ในพุทธศาสนานิกายเซนของจีน พระสงฆ์และศาสนิกชนในวัดต้องนั่ง เข้าฌานเป็นเวลานาน บางครั งรู้สึกง่วงและอยากกินของเล่น เจ้าอาวาสก็คิดวิธีให้ดื่มชาเพื่อท าให้ ประสาทดื่น หลังจากนั นวิธีนี ก็ได้เผยแพร่ไปตามท้องถิ่นต่าง ๆ ในช่วงเวลาเดียวกันในสมัยราชวงศ์ถัง ตามบ้านเศรษฐียังมีการจัดห้องต้มน าชา ชิมชาและอ่านหนังสือโดยเฉพาะ (“เล่าเรื่องชาจีน-ชาอู หลง”, 0555) ปม ค.ศ 780 นายลู่อวี่ ผู้เชี่ยวชาญด้านใบชาของถังได้รวบรวมประสบการณ์การปลูกชา ผลิต ใบและดื่มชา และได้เขียนต าราชาซึ่งเป็นหนังสือเกี่ยวกับชาเล่มแรกของจีน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง ฮ่องเต้ ซ่งฮุยจง ชอบจัดงานเลี ยงน าชาขุนนางผู้ใหญ่ และทรงต้มน าชาเอง ในพระราชวังหลวงของสมัย ราชวงศ์ถัง ยังจัดงานน าชาเลี ยงทูตานุทูตต่างประเทศ ปัจจุบันในวันเทศกาลเช่นวันขึ นปมใหม่หรือวัน ตรุษจีน หน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ของจีนส่วนมากจะจัดงานเลี ยงน าชาสัมมนา การดื่มชาได้กลายสัญลักษณ์และวัฒนธรรมพิเศษชนิดหนึ่งของประเทศจีนไปแล้ว ตั งแต่สมัย โบราณจนถึงปัจจุบัน ท้องถิ่นต่างๆ ของจีนมักมีโรงน าชาหรือร้านน าชามากมาย ที่ถนนเฉียนเหมินซึ่ง 2 เป็นย่านคึกคักของกรุงปักกิ่งก็มีร้านน าชาเฉพาะกลุ่ม ผู้คนสามารถดื่มชา กินอาหารพื นเมืองและชม การแสดงต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นวิธีพักผ่อนที่สบาย ในทางภาคใต้ของจีนนอกจากจะมีร้านน าชาและโรง น าชาแล้ว ยังมีเพิงน าชากลางแจ้ง ส่วนมากจะสร้างตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ นักท่องเที่ยวมักจะนั่ง ดื่มชาและชมวิวไปด้วย ชาเป็นผลผลิตทางการเกษตรจากยอดอ่อน ใบ และก้านของต้นชา ซึ่งชาทุกชนิดสามารถผลิต ได้จากต้นชาต้นเดียวกัน แต่ผ่านกรรมวิธีแปรรูปแตกต่างกันออกไป รวมถึงเครื่องดื่มกลิ่นหอมที่ท า จากพืชตากแห้งชนิดต่าง ๆ น ามาชงหรือต้มกับน าร้อน จึงท าให้เกิดการผลิตชาในรูปแบบต่าง ๆ กว่า 3,000 ชนิด ชาเป็นพืชกึ่งร้อน สามารถขึ นได้ดีในเขตอบอุ่น และมีฝนตก ซึ่งสามารถปลูกได้ในพื นที่มี
  • 4. 4 ความสูงกว่าระดับน าทะเล 1,000 – 0,000 เมตร ผลผลิตส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย โดยประเทศที่ ส่งออกชามากที่สุดในโลกคือจีนและอินเดีย และมากกว่าครึ่งหนึ่งของชาที่ส่งออกถูกดื่มโดยชาว อังกฤษ ที่นิยมดื่มกันมากกว่า 14 ล้านลิตรต่อปม ในปม 1861 ดร.เอ็ดเวิร์ด สมิท กล่าวว่า การบริโภคชาที่เพิ่มสูงขึ นอย่างก้าวกระโดดของ ประชากรโลก เป็นข้อพิสูจน์ที่สะท้อนให้เห็นว่าชาเป็นเครื่องดื่มที่มีรสชาติที่น่าพึงพอใจ และมี ประโยชน์ต่อสุขภาพ ได้รับการยกย่องให้เป็นเครื่องดื่มที่มีประสิทธิภาพในการบรรเทาอาการไม่พึง ประสงค์ต่างๆ ได้แบบครอบจักรวาลมาแต่ครั งประวัติศาสตร์ ซึ่งมีตั งแต่อาการง่วงเหงาหาวนอน ไม่ สดชื่นกระปรี กระเปร่า อาการหวัด อาการปวดศีรษะ อาหารไม่ย่อย บ ารุงผิว และช่วยพัฒนาระบบ ภูมิคุ้มกันให้มีประสิทธิภาพ (ศักดิ์ บวร, 2549, หน้า 7) ชามิใช่เป็นเพียงเครื่องดื่มยอดนิยมเท่านั น แต่ยังได้ชื่อว่าเป็นเครื่องดื่มอมตะ เพราะจากการ วิจัยสมัยใหม่มีการยืนยันมากขึ นเรื่อยๆว่า ชาช่วยชะลอความแก่ ท าให้อายุยืนยาวได้ โดยเฉพาะชา เขียว ชาเขียวเป็นชาประเภทหนึ่งที่ไม่ผ่านการหมัก ท าให้ไม่สูญเสียคุณค่าทางโภชนาการที่เป็น องค์ประกอบที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ซึ่งมีหลายงานวิจัยได้ยืนยันว่าในชาเขียวมี Caffeine ซึ่งช่วยให้ สมองสดชื่นแจ่มใส และมี Catechin ช่วยป้องกันการเกิดโรงมะเร็ง ลดความเสี่ยงจากโรคหลอดเลือด หัวใจตีบ ลดคอเลสเตอรอลในเลือดและรักษาสุขภาพในช่องปากได้ดี (Pastore & Fratellone, 0006) การดื่มน าชาจะช่วยขจัดพิษและเกลือที่สะสมในร่างกาย คือการชงชาด้วยน าเดือดจัด หรือต้ม ใบชาแล้วดื่มตามใจชอบ ชาจะเข้าเส้นปอดช่วยละลายเสมหะขับน า เข้าเส้นหัวใจช่วยดับร้อนถอนพิษ ชาช่วยขจัดพิษและเกลือที่สะสมในร่างกาย ป้องกันนิ่วในไต นิ่วในถุงน าดี ป้องกันโรคเก๊าต์ นอกจากนี ยังช่วยลดคอเลสเตอรอล ป้องกันหลอดเลือดแข็ง เพราะในชามีสารที่ช่วยให้เส้นเลือดฝอยมีความ ยืดหยุ่นดี ช่วยต้านมะเร็ง เป็นตัวช่วยในการรักษาโรคเบาหวาน อีกทั งยังช่วยชะลอความชราด้วย (หมอไพร, 0550, หน้า 70) 3 ส าหรับในประเทศไทย มีการปลูกชามากในจังหวัดเชียงราย เพราะชาจะเจริญเติบโตได้ดีใน ภูมิประเทศเป็นภูเขาสูง และมีอุณหภูมิความเย็นที่เหมาะสม ในส่วนของคนไทยนั นรู้จักการบริโภคน า ชาตั งแต่สมัยสุโขทัย การบริโภคน าชาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการต้อนรับแขกบ้านแขกเรือน มิตร สหาย ตลอดจนเป็นเครื่องดื่มที่ดื่มกันในชีวิตประจ าวัน ด้วยตัวชานั นเหมาะกับสังคมไทยที่เมื่อดื่มแล้ว รู้สึกสดชื่น เพราะภูมิอากาศที่ร้อนท าให้การดื่มน าชาได้รับความนิยม และแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ร้าน น าชาไม่ได้ท าหน้าที่เป็นแค่ร้านดื่มน าชา แต่ยังท าหน้าเป็นสถานที่พบปะมิตรสหาย ตลอดจนเป็น สถานที่แสดงออกทางความคิดเห็นของกลุ่มต่างๆ พฤติกรรมการบริโภคน าชาตั งแต่สมัยโบราณเป็น การบริโภคในรูปแบบการชงชาดื่มเองและไม่มีส่วนผสมของน าตาล ซึ่งการดื่มชาที่ชงเองนอกจากจะ ได้รับรสชาติและกลิ่นหอมแท้จากชาแล้วยังได้รับประโยชน์จากสารต้านอนุมูลอิสระที่ดีกว่าเครื่องดื่ม ชาเขียวส าเร็จรูป ในปัจจุบันผู้บริโภคให้ความส าคัญกับสุขภาพมากยิ่งขึ น โดยเฉพาะผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเมือง ใหญ่ สินค้าหรือบริการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจึงมีบทบาทต่อพฤติกรรมการบริโภคเป็นอย่างสูง ดังจะ เห็นได้จากการเจริญเติบโตของธุรกิจสถานออกก าลังกาย สปา รวมทั งอาหารและเครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพ ซึ่งชาเขียวพร้อมดื่มเป็นเครื่องมืออีกชนิดหนึ่งที่ได้รับการตอบรับจากผู้บริโภคเป็นอย่างสูง เพราะกระแสการรับวัฒนธรรมจากญี่ปุ่น ไม่ว่าจะเป็นแฟชั่นหรือการบริโภคอาหารญี่ปุ่น ปัจจัย ดังกล่าวล้วนผลักดันให้เกิดเป็นกระแสการบริโภคชาเขียวพร้อมดื่ม และด้วยรสชาติความอร่อย แก้ กระหาย ท าให้รู้สึกสดชื่น รวมไปถึงเทคนิคการโฆษณาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มชาเขียว หรือข้อมูลต่าง ๆ
  • 5. 5 เกี่ยวกับสรรพคุณของชาเขียวที่มีต่อร่างกาย เช่น ช่วยลดระดับไขมันในเลือด ลดความอ้วน และ ป้องกันโรคมะเร็ง เป็นต้น เป็นแรงจูงใจท าให้เกิดกระแสการบริโภคชาเขียวเพิ่มขึ น ถ้าจะดื่มเพื่อที่จะ ได้รับประโยชน์จากสารโพลีฟมนอล อาจจะต้องดื่มหลายขวดต่อวัน ซึ่งแทนที่จะได้ประโยชน์อาจท าให้ เสียสุขภาพ เพราะชาพร้อมดื่มเป็นน าชาที่เจือจาง ที่ปรุงแต่งกลิ่นและรสด้วยน าตาล หากดื่มมาก ๆ อาจท าให้เกิดโรคอ้วน และการบริโภคชาเขียวส าเร็จในปริมาณสูง ติดต่อกันเป็นเวลานานสามารถ ส่งผลเสียต่อตับได้ ซึ่งมีมากมายหลากหลายแบรนด์ในท้องตลาด ซึ่งผู้บริโภคควรทราบถึงข้อมูล เบื องต้นเกี่ยวกับชาเขียวเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและไม่ส่งผลเสียต่อร่างกาย การดื่มชาเพื่อให้ได้ รสชาติที่ดี และมีสรรพคุณอย่างเต็มที่นั น จึงต้องดื่มชาด้วยวิธีการชงและดื่มขณะที่ยังอุ่นอยู่ ซึ่งข้อมูล ความรู้เหล่านี เริ่มมีกระแสการดื่มชาชงเกิดขึ น ไม่ว่าจะเป็นชาเขียว ชาอู่หลง รวมถึงชาสมุนไพร และ ยังมีแนวโน้มการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากที่กล่าวมาข้างต้นจึงท าให้ผู้วิจัยเล็งเห็นถึงโอกาสในการลงทุนท าธุรกิจ และผู้วิจัยเองนั นมี ความชอบในธุรกิจประเภทนี เป็นทุนเดิม จึงเริ่มด าเนินการวิจัยธุรกิจร้านน าชาภายใต้ชื่อ Master Tea ซึ่งเป็นการจิบน าชา ของว่าง รวมทั งอาหารในใจกลางเมือง ท่ามกลางบรรยากาศแสนอบอุ่น สบายๆ กระบวนการผลิตชาเขียว ชาอู่หลง การเก็บใบชา (Tea plucking) เป็นขั้นตอนที่สาคัญเนื่องจากต้องอาศัยความละเอียดในการเก็บ การเก็บใบชา ต้องใช้แรงงานคนในการเก็บจึงจะได้ยอดใบชาที่มีคุณภาพดี การเก็บจะต้องเลือกเก็บเฉพาะยอดชาที่ตูมและใบที่ ต่าจากยอดตูมลงมา 2 ใบ (เก็บ 1 ยอด 2 ใบ) เนื่องจาก polyphenols ซึ่งเป็นสารสาคัญในชาจะมีอยู่มาก เฉพาะในยอดชาเท่านั้น การผึ่งชา (Withering) เป็นขั้นตอนที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารต่าง ๆ ในใบชา การผึ่งชาจะทาให้น้าในใบชาระเหยไป ทาให้ใบชาเหี่ยวและจะมีการซึมผ่านของสารต่าง ๆ ภายในและ ภายนอกเซลล์ ในการผึ่งชานี้เอง เอนไซม์ polyphenol oxidase จะเร่งปฏิกิริยา oxidation และ polymerization ทาให้สาร polyphenol เกิดปฏิกิริยาเคมีได้เป็นองค์ประกอบใหม่ที่ทาให้ชามีสี กลิ่น และ รสชาติที่แตกต่างกันไป การนึ่งชา (Steaming) หรือการคั่วชา (Pan firing) เป็นขั้นตอนที่ให้ความร้อนกับใบชาเพื่อทาลายเอนไซม์ polyphenol oxidase ทาให้หยุดปฏิกิริยาการหมัก การนวดชา (Rolling) เป็นขั้นตอนที่ใช้น้าหนักกดทับลงใบชา เป็นการขยี้ใบชาเพื่อให้เซลล์แตก เมื่อเซลล์แตกจะ ทาให้สารประกอบต่าง ๆ ที่อยู่ในเซลล์ไหลออกมานอกเซลล์และเคลือบอยู่บนส่วนต่าง ๆของใบชา การหมักชา (Fermentation) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเริ่มตั้งแต่การผึ่งชา และนวดชา ก่อนที่จะ ถึงขั้นตอนการหยุดปฏิกิริยาเอนไซม์ polyphenol oxidase ด้วยความร้อน (steaming หรือ firing) ใน กระบวนการนี้เอนไซม์ polyphenol oxidase จะเร่งปฏิกิริยา oxidation ทาให้ polyphenols เกิด oxidized และเกิดปฏิกิริยา polymerization ได้เป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่าง polyphenols ที่มีโมเลกุลใหญ่ขึ้น ซึ่ง ทาให้ชาเกิดกลิ่น สี และรสชาติที่แตกต่างกันไปตามองค์ประกอบทางเคมีที่อยู่ในชาและตามกรรมวิธีการผลิต
  • 6. 6 การอบแห้ง (Drying) เป็นขั้นตอนการอบแห้งเพื่อลดความชื้นในใบชาให้เหลือประมาณ 5% เพื่อให้สามารถเก็บ ใบชาไว้ได้นาน การคัดบรรจุ (Sorting and packing) หลังการอบแห้งจะเป็นการคัดเลือกเศษกิ่งก้านของใบชา และสิ่งเจือปน ต่าง ๆ ออกจากใบชา เสร็จแล้วนามาบรรจุใส่ถุงเพื่อรอจาหน่ายต่อไป ประโยชน์ของชาอู่หลง 1. ชาอู่หลง เป็นชาที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางมาเป็นระยะเวลานาน มีจุดเด่นตรงที่มีกลิ่นหอมละมุนชุ่ม ติดคอ ให้รสชาติที่เข้มกว่าชาเขียว แต่ฝาดน้อยกว่าชาดา โดยจัดเป็นเครื่องดื่มที่รายงานการศึกษาถึงผลดีต่อ ร่างกายหลายด้าน 2. จากการศึกษาวิจัยของชาวสหรัฐอเมริกา และได้มีการตีพิมพ์ลงในวารสาร Journal of Nutrition ได้ระบุว่า ชาอู่หลงเป็นตัวช่วยในการล้างพิษ สามารถช่วยกาจัดอนุมูลอิสระที่ทาลาย DNA ในกระแสเลือดได้ดี 3. ชาอู่หลงมีสารต้านอนุมูลอิสระสูง จึงช่วยต่อต้านริ้วรอยทีเกิดจากการเผชิญกับรังสีอัลตร้าไวโอเล็ต มลภาวะ ต่าง ๆ และความเครียด จึงช่วยชะความแก่ได้อีกด้วย 4. รายงานของกองการป้องกันโรคและกองงานโภชนาการ ในกรมการแพทย์ของประเทศจีน ได้รายงานว่า ชาอู่ หลงมีฤทธิ์ยับยั้งสาร DEAN ที่ทาให้เกิดมะเร็งปอด และสาร MNNG ที่เป็นสารก่อมะเร็งในกระเพาะอาหาร และลาไส้ 5. ช่วยลดการสะสมและช่วยควบคุมปริมาณของไขมันในเลือด ช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคอ้วน (OTPPS เป็นสารในกลุ่มโพลีฟีนอล มีความสาคัญต่อการลดและควบคุมปริมาณของไขมันในร่างก่าย โดยพบว่าสารใน กลุ่มนี้สามารถยับยั้งการทางานของเอนไซม์ไลเปสซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เกี่ยวกับการดูดซึมไขมันที่ลาไส้เล็ก ซึ่งเป็น กลไกเดียวกันกับยาลดความอ้วนบางชนิดในปัจจุบัน และยังมีรายด้วยว่าการดื่มชาอู่หลงหลังการรับประทาน อาหารจะช่วยลดระดับไตรกลีเซอไรด์ได้อย่างมีนัยสาคัญ ช่วยเพิ่มการขับไขมันออกทางอุจจาระ มีคุณสมบัติ ช่วยกระตุ้นการเผาผลาญพลังงาน โดยมีรายงานว่าชาอู่หลงสามารถเพิ่มอัตราการเผาผลาญพลังงานได้ดีกว่า ชาเขียวถึง 2 เท่า) (บางข้อมูลระบุว่าชาอู่หลงสามารถช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลได้ถึง 4% และช่วยลด ระดับไขมันเลว (LDL) ที่เป็นโทษต่อร่างกายลงได้ถึง 8%) 6. การดื่มชาอู่หลง น่าจะมีประสิทธิภาพในการป้องกันและบาบัดภาวะอ้วนลงพุง หรือ Metabolic syndrome ได้ โดยมีการศึกษาวิจัยที่แสดงให้เห็นผลของการดื่มชาอู่หลงต่อการลดความอ้วนในผู้ที่มีภาวะน้าหนักเกิน และโรคอ้วน ซึ่งเป็นการศึกษาของ Rong-rong H และคณะ ได้พบว่าการบริโภคชาเขียววันละ 8 กรัม ติดต่อกัน 6 สัปดาห์ จะทาให้น้าหนักตัวลดลงมากกว่า 1 กิโลกรัม ไขมันที่สะสมในร่างกายก็ลดลง 12% และ มีความสัมพันธ์กับเส้นรอบวงเอวที่ลดลงด้วย ส่วนการศึกษาของ Junichi N และคณะ ได้พบว่าการดื่มชาอู่ หลงติดต่อกันเป็นเวลา 12 สัปดาห์ จะช่วยทาให้ไขมันในช่องท้องลดลง โดยไม่มีผลข้างเคียงใด ๆ เช่นเดียวกับการศึกษาของ Maekawa T และคณะ ทีได้พบว่า การดื่มชาอู่หลงสามารถทาให้น้าหนักตัว ดัชนี มวลกาย มวลไขมันรวมในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง เส้นรอบวงเอว เส้นรอบวงสะโพก และความหนาของชั้น ไขมันใต้ผิวหนังลดลงอย่างปลอดภัย ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Nakamura J และคณะ ที่พบว่าการดื่ม ชาอู่หลงสามารถช่วยลดไขมันสะสมในช่องท้องและขนาดรอบวงเอว ส่วนการศึกษาจาจีนซึ่งมีกลุ่มตัวอย่าง เป็นคนอ้วนจานวน 102 ราย พบว่า เมื่อให้กลุ่มตัวอย่างดื่มชาอู่หลงทุกวัน ติดต่อกัน 6 สัปดาห์ พบว่าร้อยละ 22 ของกลุ่มตัวอย่างมีน้าหนักตัวลดลงเกินกว่า 3 กิโลกรัม โดย่สวนที่ลดเป็นจะเป็นไขมันบริเวณพุงมากกว่า ส่วนอื่น ๆ
  • 7. 7 7. ชาอู่หลงสามารถช่วยเพิ่มกระบวนเมทาบอลิซึม (Metabolism) หรือกระบวนการเผาผลาญพลังงานได้ดีกว่า ชาชนิดอื่น ๆ โดยมีรายงานว่าการดื่มชาอู่หลงจะช่วยเพิ่มการเผาผลาญขณะพักในเวลา 120 นาที หลังการ ดื่มประมาณ 10% เมื่อเทียบกับชาเขียวซึ่งจะเพิ่มได้เพียง 4% ด้วยเหตุนี้เองชาอู่หลงจึงเป็นเครื่องดื่มที่เหมาะ สาหรับผู้ที่นิยมกินเนื้อสัตว์เป็นชีวิตจิตใจ และผู้ที่ต้องการลดลดระดับคอเลสเตอรอลและไขมันในเลือดสูง หมายเหตุ : สาหรับผู้ที่ต้องการลดน้าหนักหรือลดความอ้วนด้วยการดื่มชาอู่หลงเพียงอย่างเดียวเป็นสิ่งที่ไม่แนะนาให้ ทาครับ หากคุณต้องการลดน้าหนักคุณก็ต้องใช้วิธีการอื่น ๆ ควบคู่ไปด้วย เช่น การออกกาลังกายอย่างเสมอ ควบคุม อาหาร มีอารมณ์แจ่มใสเบิกบาน ไม่เครียด เป็นต้น สาหรับชาอู่หลงสาเร็จรูปที่วางขายตามท้องตลาดนั้น อันนี้ไม่ผม ขอแนะนาครับ ซื้อแบบที่เป็น “ใบชาอู่หลง”มาชงดื่มเองจะได้ประโยชน์สูงสุดครับ เพราะชาอู่หลงแบบสาเร็จนั้น ถ้า หากลองสังเกตดูที่ฉลากโภชนาการข้างขวดแล้วคุณก็จะพบว่าบางยี่ห้อมีการเติมน้าตาลลงไปมากถึง 28 กรัมต่อ 1 ขวด ซึ่งแน่นอนว่ากินให้ตายยังไงน้าหนักก็ไม่ลดลงอย่างแน่นอน แต่ถ้าจะซื้อมาดื่มจริง ๆ ก็ควรจะเลือกเป็นแบบที่ไม่ ใส่น้าตาล
  • 8. 8 วิธีชงชาอู่หลง การชงชาอู่หลง ให้มีรสชาติดีนั้นมีข้อสาคัญหลักอยู่ 4 ประการ ได้แก่  ปริมาณของใบชา : การจะใช้ในปริมาณเท่าใดนั้นจะอยู่กับลักษณะของใบชา (เช่น กลมแน่น กลมหลวม หรือ เป็นเส้น) ถ้าใบชาที่ใช้มีลักษณะกลมแน่น ให้ใช้ชาประมาณ 25% ของกาชา (เมื่อแช่อยู่ในน้าร้อนจะคลายตัว จนเป็นใบชัดเจน ถ้าใส่มากเกินไปจะทาให้การคลายตัวไม่ดี รสชาติที่ได้จะไม่ได้มาตรฐาน) เมื่อคลายเต็มที่ ควรจะมีปริมาณ 90% ของกาชา ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของใบชา และขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละคน ด้วยนะครับ ว่าต้องการให้มีรสชาติเข้มข้นมากน้อยเพียงใด  อุณหภูมิของน้า : น้าที่ใช้ชงไม่จาต้องใช้น้าร้อนเกิน 100 องซาเซลเซียส แต่ให้ดูว่าจะชงชาประเภทใด เช่น อุณหภูมิต่ากว่า 80 องศาเซลเซียส จะใช้ชงกับชาเขียวทั่วไป อุณหภูมิ 80-90 องศาเซลเซียส จะเหมาะกับชา ที่เป็นรูปทรงบอบบางแตกหักง่ายหรือชาที่มีใบอ่อนมาก ส่วนอุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียวขึ้นไปนั้นจะเหมาะ สาหรับชาที่รูปทรงแน่นกลมแข็ง  เวลาในการชง : เวลาเป็นตัวบ่งบอกว่า น้าชาที่ได้จะมีรสอ่อนหรือแก่ โดยปกติแล้วชาประเภททรงกลมแน่น จะใช้เวลาในการชงครั้งแรกประมาณ 45-60 วินาที แต่ถ้าชงครั้งต่อ ๆ ไป ก็ให้เพิ่มเป็น 10-15 วินาทีต่อครั้ง  กาชาที่ใช้ชง : กาที่ใช้ควรทามาจากดินเผา เพราะกาดินเผาจะเก็บความร้อนได้ดีกว่า และให้การตอบสนองที่ ดีกว่ากาที่ทามาจากวัสดุแบบอื่น ที่มา ที่มาของชาอู่หลง สาหรับวิธีการชงชงอู่หลงนั้น มีขั้นตอนง่าย ๆ ดังนี้ครับ 1. ใส่ใบชาลงไปในกาประมาณ 1/6-1/4 ของ ปริมาตรกา 2. รินน้าเดือดลงในกาครึ่งหนึ่ง แล้วเทน้าทิ้งทันที (ไม่ควรเกิน 5 วินาที) เพื่อเป็นการล้างและอุ่นใบ ชาให้ตื่นตัว 3. ขั้นตอนต่อมาให้รินน้าเดือดลงในชากาอีกครั้งจน เต็ม แล้วปิดฝากาทิ้งไว้ประมาณ 45-60 วินาที 4. เมื่อเสร็จแล้วให้รินน้าชาลงในแก้วดื่ม (ในการรินแต่ละครั้ง จะต้องรินน้าออกให้หมดจากกา มิฉะนั้นจะทาให้ น้าชาที่เหลือคากามีรสขมและฝาดมากขึ้น ซึ่งอาจทาให้เสียรสชาติได้) 5. ใบชาสามารถชงซ้าได้ประมาณ 4-6 ครั้ง และในการชงแต่ละครั้งให้เพิ่มเวลาครั้งละประมาณ 10-15 วินาที เช่น ชงรอบแรกใช้เวลา 60 วินาที พอจะชงครั้งที่สองก็ให้เพิ่มเป็น 70-75 วินาที เป็น