SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง สังคมออนไลน์
วิชา คอมพิวเตอร์

จัดทาโดย
นางสาวเย็นฤดี พรรณทอง
ชั้นม.4/2 เลขที28
่

เสนอ
คุณครู จุฑารัตน์ ใจบุญ
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรน์
อาเภอ วังวิเศษ จังหวัดตรัง
คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่องสังคมออนไลน์
ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้จากเนื้อหาเกี่ยวกับสังคมออนไลน์ ผู้จัดทาได้เลือก
หัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้
จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆท่าน หากมีข้อผิดพลาดใดๆ ขอ อ ภัย ไว้
ณ ที่นี้ด้วย

ผู้จัดทา
เย็นฤดี พรรณทอง
สารบัญ
เรื่อง
ความหมายของสังคมออนไลน์
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
ประโยชน์และโทษของสังคมออนไลน์
อ้างอิง

หน้า
1
3
6
7
11
สังคมออนไลน์ (Social Media)
Social Media คืออะไร
สาหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรือหนีคาว่า Social Media ไปไม่ได้
เพราะไม่ว่าจะไปที่ไหน ก็จะพบเห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า
“Social Media” มันคืออะไรกันแน่
คาว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสังคมออนไลน์ ซึ่งมี
ขนาดใหม่มากในปัจจุบัน
คาว่า “Media” หมายถึง สื่อ ซึ่งก็คือ เนื้อหา เรื่องราว บทความ วีดีโอ
เพลง รูปภาพ เป็นต้น
ดังนั้นคาว่า Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลน์ที่มีการ
ตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือ
เว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้นั่นเอง
พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนุษย์หรือคนเราที่ต้องการ
ติดต่อสื่อสารหรือมีปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่แสดงเนื้อหา
อย่างเดียว บุคคลแต่ละคนไม่สามารถติดต่อหรือโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บ
พัฒนาเข้าสู่ยุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเว็บไซต์ที่เรียกว่า web application ซึ่งก็คือเว็บไซต์มีแอ
พลิเคชั่นหรือโปรแกรมต่างๆ ที่มีการโต้ตอบกับผู้ใช้งานมากขึ้น ผู้ใช้งานแต่ละคน
สามารถโต้ตอบกันได้ผ่านหน้าเว็บ

Wikipedia – เว็บไซต์ในรูปแบบข้อมูลอ้างอิง
MySpace – เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking
Facebook -เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking

สังคมเว็บไซต์ออนไลน์
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ (อังกฤษ: Social web) คนในสังคมหรือผู้คนต่างๆ ใช้ใน
การโต้ตอบกันกับส่วนอื่น ๆ โดยทั่วไปบนเวิลด์ไวด์เว็บ ผู้คนมากมายมารวมตัวกันมี
ความสนใจที่มีร่วมกัน แต่ก็ยังมีหลายวิธีที่ผู้คนในสังคมใช้กันในทุกวันนี้ ประเภทแรก
ของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ที่ทาขึ้นคือ “คนเป็นส่วนสาคัญของเว็บไซต์”
เช่น Bebo, Facebook และ MySpace เว็บไซต์ดังกล่าวจะส่งเสริมผู้คนเป็นจุดสาคัญของ
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การกระทาเช่นนี้ identity ออนไลน์ (และโปรไฟล์) ถูกสร้าง
โดยผู้ใช้แต่ละคนในหลายรูปแบบคล้ายกับหนังสือเดินทาง
ประเภทที่สองของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์จะเป็นตัวอย่างโดยเรียงลาดับ
ความสาคัญของงานต่างๆของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น หากมีความสนใจในการถ่ายภาพ
และต้องการแบ่งปันสิ่งนี้ให้กับผู้อื่นที่มีความสนใจในสิ่งเดียวกัน ก็มีเว็บไซต์การ
ถ่ายภาพเช่น Flickr, Kodak Gallery และ Photobucket
นอกจากนี้ยังมีวิธีที่สองของคนในสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ ชนิดทั่วไปที่ใช้มาก
ที่สุดและบ่อยที่สุดในทุกเวลาระยะทางและเฉพาะในเวิลด์ไวด์เว็บ ในสังคมเว็บไซต์
ออนไลน์นั้นไม่มีการติดต่อสื่อสารกันแบบตัวต่อตัวส่วนบุคคล ส่วนมากในสังคม
เว็บไซต์ออนไลน์ใน Flickr คือการแบ่งปันภาพถ่ายและการแสดงความคิดเห็นในรูปของ
ผู้อื่น อย่างไรก็ตามแต่สมาชิก Flickr มาจากพื้นที่ทั่วไปในท้องถิ่น
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์อาจใช้เรียกแตกต่างกันสองแนวความคิด แนวคิดแรกคือ
เป็นคาอธิบายของเว็บ 2.0 เทคโนโลยีที่เน้นการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและชุมชนก่อนสิ่ง
อื่นใด แนวคิดที่สองเป็นข้อเสนอสาหรับเครือข่ายในอนาคตคล้ายกับเวิลด์ไวด์เว็บ
คาอธิบายของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ [แก้]
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์สามารถอธิบายเป็นคนเชื่อมโยงกันและการโต้ตอบกับ
เนื้อหาการมีส่วนร่วมในลักษณะการสนทนาและมีส่วนร่วมทางอินเทอร์เน็ต การใช้งาน
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์สร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมการสื่อสารระหว่างผู้คน
ตัวอย่างการใช้งานสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ Twitter, Facebook, และ Jaiku
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์เป็นเครือข่ายแห่งอนาคต
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์จะเชื่อมโยงผู้คน องค์กร และความคิด การกล่าวถึง
วิธีการใช้คาในบริบทนี้ถูกแนะนาในกรกฎาคม 2004 เรียกว่า “สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ :
สร้างเครือข่ายสังคมกับ XDI” ในกระดาษได้อธิบายวิธีการแนะนาโพรโทคอลใหม่เพื่อ
ใช้สาหรับกระจายการแบ่งปันข้อมูลและประสานสื่อให้ตรงกัน, XDI, สามารถเปิดใช้
งานใหม่ของชั้นข้อมูลที่เชื่อถือได้แลกเปลี่ยนการใช้งาน มีการสร้างกุญแจซึ่งให้ในการ
บล็อกเลเยอร์นี้คือ I-names และ I-numbers (ขึ้นอยู่กับข้อกาหนด OASIS XRI), หน้า
Dataweb และ link contracts
การสร้างเครือข่ายสังคมเว็บไซต์ออนไลน์โดยใช้ FOAF ถูกใช้ตั้งแต่ปี 2000
การเปรียบเทียบเว็บไซต์สังคมออนไลน์ที่ดีที่สุดคือระบบธนาคารทั่วโลกและ
ระบบบัตรเครดิต โครงสร้างพื้นฐานนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกแลกเปลี่ยน
ข้อมูลทางการเงิน โดยทั่วไปหมายถึงการสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ให้บริการโดย
บุคคลที่สามที่มีความน่าเชื่อถือคือธนาคาร
สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ใช้วิธีเดียวกันสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนตัวที่
สาคัญโดยทั่วไปหมายถึงการสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ให้บริการ โดยบุคคลที่สามที่
มีความน่าเชื่อถือ
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
การจัดประเภทของโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) นั้นสามารถแยกได้ตามรูปแบบ
และวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ตามรูปแบบ แบ่งได้เป็น

1. Blog หรือ บล็อก คือเว็บไซต์รูปแบบหนึ่ง มาจากคาว่า Weblog (Website + Log)
ซึ่งคาว่า Log ในที่นี้หมายถึง “ปูม” ดังนั้น Blog จึงมีลักษณะเป็นเว็บไซต์ที่จัดเก็บข้อมูล
ด้วยวิธีเดียวกับปูม มีการเรียงลาดับตามวันที่บันทึก ข้อมูลใหม่ที่ Post จะอยู่
บนสุด ส่วนข้อมูลเก่าจะอยู่ล่างสุด โดยบล็อกสมัยนี้ไม่ได้อยู่ลาพังเดี่ยวๆ แต่มีลักษณะ
เป็น Community ที่รวบรวม Blog หลายๆ Blog เข้าไว้ด้วยกัน สามารถเชื่อมโยงผู้เขียน
(Blogger) ได้เป็นสังคมขนาดใหญ่ ในขณะเดียวกันก็เชื่อมโยงผู้อ่านไว้กับผู้เขียน
ได้ โดยสามารถคอมเม้นต์บทความ ติดตาม หรือกดโหวตได้ เช่น Blogger เป็นต้น
2. ไมโครบล็อก (Microblog) เป็นเว็บไซต์ขนาดเล็ก ใช้สาหรับส่งข้อความสั้นๆ ไม่กี่
ประโยค เพื่อบอกถึงสถานการณ์ และความเป็นไป ไมโครบล็อกที่มีผู้นิยมใช้บริการ เช่น
Twitter
3. โซเชียลเน็ตเวิร์คเว็บไซต์ (Social Network Website) คือเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อ
เป็นสังคมออนไลน์โดยเฉพาะ เช่น Facebook, Linkedin, Myspace, Hi5 เป็นต้น เว็บพวก
นี้มีจุดเด่นที่การแชร์คอนเท้นต์ ทั้งข้อความ รูปภาพ และวีดีโอ บางเว็บรวมไปถึง
บทความ เพลง และลิ้งค์ นอกจากนั้นยังมีฟังก์ชั่นในการแสดงความรู้สึก หรือมีส่วนร่วม
เช่น การกดไลค์ ( Like) การโหวต การอภิปราย ( Discuss) และการแสดงความคิดเห็น
เป็นต้น
4. เว็บโซเชียลบุ๊คมาร์ค (Bookmark Social Site) เป็นเว็บที่ให้เราเก็บหน้าเว็บ หรือ
เว็บไซต์ที่เราชื่นชอบ เพื่อเอาไว้เข้าชมทีหลัง แต่พอมาเป็นโซเชียลไซต์ เราจะสามารถ
แชร์ URL ของหน้าเว็บเหล่านั้น รวมถึงดูว่าคนอื่นเก็บหน้าเว็บอะไรไว้บ้าง เข้าชม และ
แสดงความคิดเห็นต่อหน้าเว็บต่างๆ ได้
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ตามวัตถุประสงค์ในการใช้งาน แบ่งได้เป็น
1. เผยแพร่ตัวตน ( Identity Network) เป็นเว็บไซต์โซเชียลที่มุ่งเน้นการนาเสนอตัวตน
ของผู้ใช้งาน เรื่องราวของตัวเอง ภาพถ่ายของตัวเอง สิ่งที่ตัวเองชอบ หรือว่าสนใจ ความ
คิดเห็น ความรู้สึกที่มีต่อสิ่งต่างๆ เว็บที่มีลักษณะดังกล่าว ได้แก่ Facebook, Myspace
เป็นต้น
2. เผยแพร่ผลงาน ( Creative Network) เป็นเว็บไซต์ที่เน้นไปที่ผลงานของเจ้าของเว็บ
มากกว่าตัวตนของเจ้าของผลงาน ส่วนมากเว็บโซเชียลเน็ตเวิร์คประเภทนี้ มักรวมผู้ที่
ทางานประเภทเดียวกันไว้ด้วยกัน เช่น เว็บรวมนักเขียนนิยาย เว็บรวมคนรักการ
ถ่ายภาพ เว็บรวมนักออกแบบกราฟิก ฯลฯ ซึ่งการสร้างเครือข่ายลักษณะนี้มักใช้ในการ
หาลูกค้า หรือเพื่อนร่วมอาชีพเป็นสาคัญ เช่น Coroflot, flickr, Multiply, DevianART
เป็นต้น
3. ความสนใจตรงกัน ( Interested Network) เว็บไซต์ประเภทนี้คล้ายๆ กับเว็บเผยแพร่
ผลงาน คือ รวบรวมผู้ที่สนใจในเรื่องเดียวกันมาไว้ด้วยกัน แต่ต่างกันที่
Interested
Network เจ้าของเว็บไม่ต้องเป็นเจ้าของผลงาน แค่แชร์ลิ้งค์ หรือเว็บที่ตัวเองสนใจ เช่น
Pinterest, del.licio.us, Digg, Zickr เป็นต้น
4. โลกเสมือน (Virtual life / Game online) เป็นลักษณะการจาลองตัวของผู้ใช้งานเป็น
ตัวละครตัวหนึ่งในเกม หรือสถานการณ์สมมุติ โดยมีเรื่องราว หรือภาระกิจให้ปฏิบัติ
โดยอาจจะปฏิบัติโดยลาพังแข่งกับผู้เล่นคนอื่น หรือร่วมกันเป็นทีมก็ได้ โดยในระหว่าง
เล่นสามารถพูดคุย หรือสื่อสารกับผู้เล่นอื่นๆ ได้ ทาให้มีลักษณะเป็น Social Network
แบบหนึ่ง เช่น Second Life, The SIM เป็นต้น
พฤติกรรมการใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ของคนไทย
พฤติกรรมของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต ปรับเปลี่ยนจากการรับข่าวสารจาก Portral Site มา
เป็นโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) เว็บไซต์ เริ่มเด่นชัดตั้งแต่ช่วงปี 2007 หรือ พ.ศ.
2550 เป็นต้นมา และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มีผลการศึกษาพบว่าประมาณ 1 ใน 3 ของ
ผู้ใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ใช้เพื่ออัพเดตข้อมูลข่าวสาร และอีก 1 ใน 3
เพื่อคุยกับเพื่อนและคนรู้จัก นั่นสะท้อนให้เห็นเป็นอย่างดีว่าผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต
ติดตามข่าวสารจากโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) มากขึ้น
ทาไมโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ถึงกลายมาเป็นเครื่องมือทางการตลาดยอดนิยม
ได้
เนื่องจากการโฆษณาผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social Network) นั้นต้นทุนต่าแต่มี
ประสิทธิผลสูง หรือหมายถึงมีประสิทธิภาพในการโฆษณาสูงมาก สามารถเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมายได้โดยตรง และกระจายการรับรู้ได้รวดเร็ว ทาให้ธุรกิจต่างๆ ต่างให้ความ
สนใจ โดยระยะแรกนั้นธุรกิจที่มีขนาดเล็ก มีเงินลงทุนน้อยได้ทดลองใช้งานก่อน และ
เมื่อประสบความสาเร็จ ก็ทาให้ธุรกิจขนาดใหญ่ต้องลงมาโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่าน
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ควบคู่ไปกับสื่อโฆษณาที่เป็น mass marketing อื่นๆ
สาหรับคุณผู้อ่านที่คิดจะลงโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค (
Social
Network) microBrand จะนาเสนอในโอกาสหน้าว่า โซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social Network)
แต่ละประเภทที่เราได้นาเสนอ ประเภทไหนเหมาะสาหรับอะไร และใช้งานอย่างไร
นอกจากนั้น microBrand จะพยายามสรรหาแง่มุมอื่นๆ ของโซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social
Network) มานาเสนอให้คุณๆ ได้อ่านกันอีก
ส่วนสาหรับท่านที่สนใจในข้อมูลทางสถิติ Fact หรือประเด็นน่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับโซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social Network) ในเชิงตัวเลข สามารถติดตามได้ใน พฤติกรรม
ของผู้ใช้งาน Social Network ในประเทศไทยประจาปี 2556 และกลยุทธิ์ในการทา
การตลาดบนโซเชียลเน็ตเวิร์ค

ประโยชน์และโทษของสังคมออนไลน์
ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊กและทวิตเตอร์นั้น นอกจากจะมีความเสี่ยงที่
เกิดจากอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เช่น การถูก hack ข้อมูล หรือการขโมยตัวตนใน
สื่อสังคมออนไลน์แล้ว ยังมีความเสี่ยงอีกอย่างหนึ่งที่อาจเกิดขึ้นจากตัวผู้ใช้งานสังคม
ออนไลน์เอง นั่นก็คือความเสี่ยงที่จะต้องรับผิดตามกฎหมายจากการโพสต์หรือส่งต่อ
ข้อความในสื่อสังคมออนไลน์
ความรับผิดตามกฎหมายจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์
ด้วยจุดเด่นของสื่อสังคมออนไลน์ที่สามารถมีความสะดวกและรวดเร็วในการเผยแพร่
และการรับข้อมูลข่าวสาร จึงทาให้สื่อสังคมออนไลน์ถูกนามาใช้ในการเผยแพร่และ
ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารทั้งของ ภาคประชาชน ภาครัฐ และภาคเอกชน เช่น ณ
ปัจจุบันซึ่งประเทศไทยกาลังประสบกับอุทกภัยครั้งใหญ่ ประชาชนชาวไทยต่างก็ตื่นตัว
ในการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับสถานการณ์น้าท่วมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่นเฟซบุ๊กและ
ทวิตเตอร์ เนื่องจากเป็นช่องทางที่มีข่าวสารครอบคลุมตั้งแต่การแจ้งพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่
ประสบอุทกภัย การแจ้งเส้นทางจราจร การแจ้งให้อพยพ การประสานงานเพื่อช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัย ไปจนถึงการวิพากษ์วิจารณ์การทางานของรัฐบาลและ ภาคส่วนต่าง ๆ ใน
การแก้ปัญหาอุทกภัยแบบนาทีต่อนาที โดยที่ประชาชนไม่ต้องรอรับข้อมูลจากสื่อหลัก
อย่างโทรทัศน์และวิทยุซึ่งอาจจะให้ข้อมูลได้ไม่เร็วทันใจประชาชนผู้กาลังตื่นตัวกับ
ภาวะวิกฤติ
อย่างไรก็ตาม ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในสังคมออนไลน์ของประชาชนชาวไทยในช่วง
อุทกภัยนั้นก็มิได้มีเฉพาะข่าวจริงที่เชื่อถือได้เสมอไป แต่กลับระคนไปด้วย ข่าวเท็จ ข่าว
มั่ว และข่าวลือ เนื่องจากผู้ใช้งานบางคนเมื่อได้รับข้อมูลที่หลั่งไหลผ่านหน้าเฟซบุ๊กและ
ทวิตเตอร์แล้วก็ส่งต่อทันทีโดยไม่ได้พิจารณาถึงแหล่งข่าวหรือความน่าเชื่อถือของ
ข่าวสารนั้น ๆ บางคนก็พยายามกุข่าวลือและสร้างกระแสต่าง ๆ โดยการโพสต์รูปที่มีการ
ตัดต่อและข้อความอันเป็นเท็จ หรือข้อความเกี่ยวกับสถานการณ์น้าท่วมที่เกินจริง
หรือไม่ชัดเจนในรายละเอียดซึ่งก่อให้เกิด ความสับสนและความตื่นตระหนกต่อ
ประชาชนผู้ได้รับข้อมูลข่าวสาร ไม่ว่าจะด้วยความคึกคะนองหรือด้วยการหวัง
ผลประโยชน์ทางธุรกิจก็ตามเช่น ในทวิตเตอร์ของบางคนมีการโพสต์ข้อความว่าพบศพ
เด็กหรือเจองูพิษหรือจระเข้ลอยมาตามน้าที่นั่นที่นี่ โพสต์ว่าให้รีบกักตุนสินค้าชนิดนั้น
ชนิดนี้ไว้เนื่องจากสินค้ากาลังจะขาดตลาด หรือโพสต์ว่าสถานที่นั้นสถานที่นี้มีน้าท่วม
สูง ไม่สามารถสัญจรผ่านหรือเข้าไปใช้บริการได้ แล้วมีการ
รีทวีตกันต่ออย่างแพร่หลาย ซึ่งปรากฏว่าเมื่อมีการตรวจสอบจากประชาชนในพื้นที่และ
จากแหล่งข่าวที่เชื่อถือได้ ก็พบว่าสถานการณ์ยังปกติและไม่มีเหตุการณ์ตามที่กล่าวอ้าง
แสดงให้เห็นว่าผู้ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์บางคน ยังขาดความรับผิดชอบต่อสังคมและ
ความตระหนักถึงความรับผิดตามกฎหมายในการใช้สื่อสังคมออนไลน์
ในทางกฎหมาย การใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ในทางที่ผิด เช่น การโพสต์รูปภาพหรือ
ข้อความที่ไม่เป็นความจริงโดยมีเจตนาที่จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือสร้าง
ความปั่นป่วนให้กับสังคมนั้น อาจเข้าข่าย เป็นการกระทาความผิดตาม มาตรา ๑๔ แห่ง
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ฐาน (๑)
นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จโดยประการที่น่าจะเกิด
ความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน หรือ (๒) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลอัน
เป็นเท็จโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิด
ความ ตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือ (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่
แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) หรือ (๒) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือ
ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
นอกจากความรับผิดตามกฎหมายจากการโพสต์รูปหรือข้อความอันเป็นเท็จดังกล่าวแล้ว
การใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นที่ระบายความแค้นหรือกลั่นแกล้งผู้อื่นโดยการโพสต์
ข้อความว่าร้ายผู้อื่นไม่ว่าจะด้วยความนึกสนุกหรือเพื่อต้องการให้คนที่อยู่ในเครือข่าย
สังคมออนไลน์ของผู้โพสต์ข้อความได้รับรู้ถึงความเลวร้ายหรือข้อมูลใน ด้านที่ไม่พึง
ประสงค์ของคนที่ถูกกล่าวถึง ไม่ว่าจะเป็นหัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน คู่อริสมัยเรียน
หรือคนรักเก่าของสามี แม้จะทาให้ผู้โพสต์ข้อความได้รับความสะใจในชั่วขณะหนึ่ง แต่
ก็อาจทาให้เกิดทุกข์มหันต์ตามมา เนื่องจาก การโพสต์ข้อความในลักษณะดังกล่าวอาจ
เป็นเหตุให้ผู้กระทาต้องรับผิดทั้งทางแพ่งและทางอาญา
ในทางอาญานั้น ผู้กระทาอาจต้องรับผิดฐานหมิ่นประมาทโดยการโฆษณาซึ่งต้องระวาง
โทษ จาคุกไม่เกิน สองปีและปรับไม่เกินสองแสนบาท หากกระทาการโพสต์หรือแสดง
ความคิดเห็นไม่ว่าจะด้วยข้อความ เอกสาร ภาพ เสียง วิดีโอ ภาพยนตร์ หรือตัวอักษรที่
ทาให้ปรากฏด้วยวิธีใด ๆ ที่เป็นการใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม ในลักษณะที่น่าจะทา
ให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง หรือแม้แต่ในกรณีที่ผู้ที่ถูกใส่ความ
เป็นผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว หากการใส่ความนั้นน่าจะเป็นเหตุให้ บิดา มารดา คู่สมรส หรือ
บุตรของผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือ ถูกเกลียดชังผู้ที่โพสต์ข้อความก็มีความผิดฐาน
หมิ่นประมาทผู้ตายโดยการโฆษณาเช่นกัน อย่างไรก็ตาม หากการโพสต์ข้อความนั้น
เป็นการแสดงความคิดเห็นหรือข้อความโดยสุจริตเป็นการติชมบุคคลอื่นหรือสิ่งใดด้วย
ความเป็นธรรม อันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทา เช่น การแสดงความคิดเห็นหรือติ
ชมบุคคลสาธารณะด้วยความเป็นธรรม หรือแสดงความคิดเห็นหรือข้อความโดยสุจริต
เพื่อป้องกันตนเองหรือป้องกันส่วนได้เสียเกี่ยวกับตนเองตาม คลองธรรม ก็อาจไม่มี
ความผิดฐานหมิ่นประมาท นอกจากนี้ ในกรณีที่การกระทาเป็นความผิดฐานหมิ่น
ประมาทหากผู้ถูกหาว่ากระทาความผิดพิสูจน์ได้ว่าข้อความที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้น
เป็นความจริง ผู้ถูกกล่าวหาก็ไม่ต้อง
รับโทษ แต่ในกรณีที่เป็นการใส่ความในเรื่องส่วนตัว ผู้ที่กระทาความผิดอาจต้องรับโทษ
แม้เรื่องที่ใส่ความจะเป็นเรื่องจริงก็ตาม เพราะกรณีการใส่ความในเรื่องส่วนตัวนั้น
กฎหมายห้ามไม่ให้พิสูจน์ว่าเรื่องที่ใส่ความเป็นเรื่องจริงหรือไม่จริงหากการพิสูจน์นั้น
จะไม่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๖ - ๓๓๐
ส่วนความรับผิดทางแพ่งนั้น หากข้อความที่โพสต์ไม่เป็นความจริงและก่อให้เกิดความ
เสียหายแก่ผู้ที่ถูกกล่าวถึง ผู้โพสต์ข้อความจะต้องรับผิดทางแพ่ง ฐานกระทาละเมิดโดย
การไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงเป็น ที่เสียหายแก่ชื่อเสียง เกียรติ
คุณหรือทางทามาหาได้หรือทางเจริญของผู้อื่น โดยจะต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ให้กับผู้ที่ต้องเสียหายจากการโพสต์ข้อความนั้น นอกเหนือจากโทษทางอาญาฐานหมิ่น
ประมาทโดยการโฆษณาที่กล่าวมาแล้ว เว้นแต่ในกรณีที่ผู้โพสต์ข้อความไม่รู้ว่าข้อความ
ที่โพสต์นั้นไม่เป็นความจริงและตนเองหรือผู้รับข้อความมีส่วนได้เสียโดยชอบเกี่ยวกับ
เรื่องที่โพสต์นั้น ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๓
ดังนั้น ผู้ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์จึงควรจะคิดให้ดีก่อนที่จะโพสต์รูปภาพ วิดีโอ
ข้อความหรือสื่อใด ๆ ลงในหน้าสื่อสังคมออนไลน์นั้น เนื่องจากเมื่อขึ้นชื่อว่า “สังคม”
ไม่ว่าจะสังคมในชีวิตจริงหรือในโลกออนไลน์ ก็ย่อมต้องมีกฎ กติกาที่เราต้องรักษา
เสมอเพื่อความสงบสุขของสังคม ดังสานวนกฎหมายของโรมันที่กล่าวไว้ว่า “Ubi
societas, ibi jus” “ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย”
อ้างอิง
- http://earthwara.blogspot.com/2012/07/blogpost_02.html
- http://krunum.wordpress.com/2010/06/02/socialnetwork/

More Related Content

What's hot

โซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คโซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
prakaytip
 
Teenhiphop
TeenhiphopTeenhiphop
Teenhiphop
Print25
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
Pitthaya Onsuk
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
Pitthaya Onsuk
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
mildthebest
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
She's Ning
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
Thanggwa Taemin
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
dargonbail
 
บทที่%202[1]
บทที่%202[1]บทที่%202[1]
บทที่%202[1]
teeraratWI
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
sirikandaTom
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
She's Ning
 

What's hot (15)

รายงาน1
รายงาน1รายงาน1
รายงาน1
 
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คโซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
 
Teenhiphop
TeenhiphopTeenhiphop
Teenhiphop
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
คู่มือการใช้งาน Web application facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Web application   facebook เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Web application   facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Web application facebook เบื้องต้น
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
Social media with Thailand
Social media with ThailandSocial media with Thailand
Social media with Thailand
 
Social network
Social networkSocial network
Social network
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่%202[1]
บทที่%202[1]บทที่%202[1]
บทที่%202[1]
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

Similar to สังคมออนไลน์

เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
Montita Kongmuang
 
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
Bank'Tanawat Kongchusri
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Poonyapat Wongpong
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
PangMy
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
Naruedee Chotsri
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
M'suKanya MinHyuk
 

Similar to สังคมออนไลน์ (20)

เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
 
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
2012education
2012education2012education
2012education
 
2012education1
2012education12012education1
2012education1
 
2
22
2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
2
22
2
 

สังคมออนไลน์

  • 1. รายงาน เรื่อง สังคมออนไลน์ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นางสาวเย็นฤดี พรรณทอง ชั้นม.4/2 เลขที28 ่ เสนอ คุณครู จุฑารัตน์ ใจบุญ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรน์ อาเภอ วังวิเศษ จังหวัดตรัง
  • 2. คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่องสังคมออนไลน์ ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้จากเนื้อหาเกี่ยวกับสังคมออนไลน์ ผู้จัดทาได้เลือก หัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้ จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆท่าน หากมีข้อผิดพลาดใดๆ ขอ อ ภัย ไว้ ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดทา เย็นฤดี พรรณทอง
  • 4. สังคมออนไลน์ (Social Media) Social Media คืออะไร สาหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรือหนีคาว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะไปที่ไหน ก็จะพบเห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” มันคืออะไรกันแน่ คาว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสังคมออนไลน์ ซึ่งมี ขนาดใหม่มากในปัจจุบัน คาว่า “Media” หมายถึง สื่อ ซึ่งก็คือ เนื้อหา เรื่องราว บทความ วีดีโอ เพลง รูปภาพ เป็นต้น ดังนั้นคาว่า Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลน์ที่มีการ ตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือ เว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้นั่นเอง พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนุษย์หรือคนเราที่ต้องการ ติดต่อสื่อสารหรือมีปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่แสดงเนื้อหา อย่างเดียว บุคคลแต่ละคนไม่สามารถติดต่อหรือโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บ พัฒนาเข้าสู่ยุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเว็บไซต์ที่เรียกว่า web application ซึ่งก็คือเว็บไซต์มีแอ พลิเคชั่นหรือโปรแกรมต่างๆ ที่มีการโต้ตอบกับผู้ใช้งานมากขึ้น ผู้ใช้งานแต่ละคน สามารถโต้ตอบกันได้ผ่านหน้าเว็บ Wikipedia – เว็บไซต์ในรูปแบบข้อมูลอ้างอิง
  • 6. Facebook -เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ (อังกฤษ: Social web) คนในสังคมหรือผู้คนต่างๆ ใช้ใน การโต้ตอบกันกับส่วนอื่น ๆ โดยทั่วไปบนเวิลด์ไวด์เว็บ ผู้คนมากมายมารวมตัวกันมี ความสนใจที่มีร่วมกัน แต่ก็ยังมีหลายวิธีที่ผู้คนในสังคมใช้กันในทุกวันนี้ ประเภทแรก ของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ที่ทาขึ้นคือ “คนเป็นส่วนสาคัญของเว็บไซต์” เช่น Bebo, Facebook และ MySpace เว็บไซต์ดังกล่าวจะส่งเสริมผู้คนเป็นจุดสาคัญของ การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การกระทาเช่นนี้ identity ออนไลน์ (และโปรไฟล์) ถูกสร้าง โดยผู้ใช้แต่ละคนในหลายรูปแบบคล้ายกับหนังสือเดินทาง ประเภทที่สองของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์จะเป็นตัวอย่างโดยเรียงลาดับ ความสาคัญของงานต่างๆของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น หากมีความสนใจในการถ่ายภาพ และต้องการแบ่งปันสิ่งนี้ให้กับผู้อื่นที่มีความสนใจในสิ่งเดียวกัน ก็มีเว็บไซต์การ ถ่ายภาพเช่น Flickr, Kodak Gallery และ Photobucket นอกจากนี้ยังมีวิธีที่สองของคนในสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ ชนิดทั่วไปที่ใช้มาก ที่สุดและบ่อยที่สุดในทุกเวลาระยะทางและเฉพาะในเวิลด์ไวด์เว็บ ในสังคมเว็บไซต์ ออนไลน์นั้นไม่มีการติดต่อสื่อสารกันแบบตัวต่อตัวส่วนบุคคล ส่วนมากในสังคม เว็บไซต์ออนไลน์ใน Flickr คือการแบ่งปันภาพถ่ายและการแสดงความคิดเห็นในรูปของ ผู้อื่น อย่างไรก็ตามแต่สมาชิก Flickr มาจากพื้นที่ทั่วไปในท้องถิ่น
  • 7. สังคมเว็บไซต์ออนไลน์อาจใช้เรียกแตกต่างกันสองแนวความคิด แนวคิดแรกคือ เป็นคาอธิบายของเว็บ 2.0 เทคโนโลยีที่เน้นการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและชุมชนก่อนสิ่ง อื่นใด แนวคิดที่สองเป็นข้อเสนอสาหรับเครือข่ายในอนาคตคล้ายกับเวิลด์ไวด์เว็บ คาอธิบายของสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ [แก้] สังคมเว็บไซต์ออนไลน์สามารถอธิบายเป็นคนเชื่อมโยงกันและการโต้ตอบกับ เนื้อหาการมีส่วนร่วมในลักษณะการสนทนาและมีส่วนร่วมทางอินเทอร์เน็ต การใช้งาน สังคมเว็บไซต์ออนไลน์สร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมการสื่อสารระหว่างผู้คน ตัวอย่างการใช้งานสังคมเว็บไซต์ออนไลน์ Twitter, Facebook, และ Jaiku สังคมเว็บไซต์ออนไลน์เป็นเครือข่ายแห่งอนาคต สังคมเว็บไซต์ออนไลน์จะเชื่อมโยงผู้คน องค์กร และความคิด การกล่าวถึง วิธีการใช้คาในบริบทนี้ถูกแนะนาในกรกฎาคม 2004 เรียกว่า “สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ : สร้างเครือข่ายสังคมกับ XDI” ในกระดาษได้อธิบายวิธีการแนะนาโพรโทคอลใหม่เพื่อ ใช้สาหรับกระจายการแบ่งปันข้อมูลและประสานสื่อให้ตรงกัน, XDI, สามารถเปิดใช้ งานใหม่ของชั้นข้อมูลที่เชื่อถือได้แลกเปลี่ยนการใช้งาน มีการสร้างกุญแจซึ่งให้ในการ บล็อกเลเยอร์นี้คือ I-names และ I-numbers (ขึ้นอยู่กับข้อกาหนด OASIS XRI), หน้า Dataweb และ link contracts การสร้างเครือข่ายสังคมเว็บไซต์ออนไลน์โดยใช้ FOAF ถูกใช้ตั้งแต่ปี 2000 การเปรียบเทียบเว็บไซต์สังคมออนไลน์ที่ดีที่สุดคือระบบธนาคารทั่วโลกและ ระบบบัตรเครดิต โครงสร้างพื้นฐานนี้ได้พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกแลกเปลี่ยน ข้อมูลทางการเงิน โดยทั่วไปหมายถึงการสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ให้บริการโดย บุคคลที่สามที่มีความน่าเชื่อถือคือธนาคาร สังคมเว็บไซต์ออนไลน์ใช้วิธีเดียวกันสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนตัวที่ สาคัญโดยทั่วไปหมายถึงการสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ให้บริการ โดยบุคคลที่สามที่ มีความน่าเชื่อถือ
  • 8. โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) มีกี่ประเภท อะไรบ้าง การจัดประเภทของโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) นั้นสามารถแยกได้ตามรูปแบบ และวัตถุประสงค์ในการใช้งาน โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ตามรูปแบบ แบ่งได้เป็น 1. Blog หรือ บล็อก คือเว็บไซต์รูปแบบหนึ่ง มาจากคาว่า Weblog (Website + Log) ซึ่งคาว่า Log ในที่นี้หมายถึง “ปูม” ดังนั้น Blog จึงมีลักษณะเป็นเว็บไซต์ที่จัดเก็บข้อมูล ด้วยวิธีเดียวกับปูม มีการเรียงลาดับตามวันที่บันทึก ข้อมูลใหม่ที่ Post จะอยู่ บนสุด ส่วนข้อมูลเก่าจะอยู่ล่างสุด โดยบล็อกสมัยนี้ไม่ได้อยู่ลาพังเดี่ยวๆ แต่มีลักษณะ เป็น Community ที่รวบรวม Blog หลายๆ Blog เข้าไว้ด้วยกัน สามารถเชื่อมโยงผู้เขียน (Blogger) ได้เป็นสังคมขนาดใหญ่ ในขณะเดียวกันก็เชื่อมโยงผู้อ่านไว้กับผู้เขียน ได้ โดยสามารถคอมเม้นต์บทความ ติดตาม หรือกดโหวตได้ เช่น Blogger เป็นต้น 2. ไมโครบล็อก (Microblog) เป็นเว็บไซต์ขนาดเล็ก ใช้สาหรับส่งข้อความสั้นๆ ไม่กี่ ประโยค เพื่อบอกถึงสถานการณ์ และความเป็นไป ไมโครบล็อกที่มีผู้นิยมใช้บริการ เช่น Twitter 3. โซเชียลเน็ตเวิร์คเว็บไซต์ (Social Network Website) คือเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อ เป็นสังคมออนไลน์โดยเฉพาะ เช่น Facebook, Linkedin, Myspace, Hi5 เป็นต้น เว็บพวก นี้มีจุดเด่นที่การแชร์คอนเท้นต์ ทั้งข้อความ รูปภาพ และวีดีโอ บางเว็บรวมไปถึง บทความ เพลง และลิ้งค์ นอกจากนั้นยังมีฟังก์ชั่นในการแสดงความรู้สึก หรือมีส่วนร่วม เช่น การกดไลค์ ( Like) การโหวต การอภิปราย ( Discuss) และการแสดงความคิดเห็น เป็นต้น 4. เว็บโซเชียลบุ๊คมาร์ค (Bookmark Social Site) เป็นเว็บที่ให้เราเก็บหน้าเว็บ หรือ เว็บไซต์ที่เราชื่นชอบ เพื่อเอาไว้เข้าชมทีหลัง แต่พอมาเป็นโซเชียลไซต์ เราจะสามารถ แชร์ URL ของหน้าเว็บเหล่านั้น รวมถึงดูว่าคนอื่นเก็บหน้าเว็บอะไรไว้บ้าง เข้าชม และ แสดงความคิดเห็นต่อหน้าเว็บต่างๆ ได้
  • 9. โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ตามวัตถุประสงค์ในการใช้งาน แบ่งได้เป็น 1. เผยแพร่ตัวตน ( Identity Network) เป็นเว็บไซต์โซเชียลที่มุ่งเน้นการนาเสนอตัวตน ของผู้ใช้งาน เรื่องราวของตัวเอง ภาพถ่ายของตัวเอง สิ่งที่ตัวเองชอบ หรือว่าสนใจ ความ คิดเห็น ความรู้สึกที่มีต่อสิ่งต่างๆ เว็บที่มีลักษณะดังกล่าว ได้แก่ Facebook, Myspace เป็นต้น 2. เผยแพร่ผลงาน ( Creative Network) เป็นเว็บไซต์ที่เน้นไปที่ผลงานของเจ้าของเว็บ มากกว่าตัวตนของเจ้าของผลงาน ส่วนมากเว็บโซเชียลเน็ตเวิร์คประเภทนี้ มักรวมผู้ที่ ทางานประเภทเดียวกันไว้ด้วยกัน เช่น เว็บรวมนักเขียนนิยาย เว็บรวมคนรักการ ถ่ายภาพ เว็บรวมนักออกแบบกราฟิก ฯลฯ ซึ่งการสร้างเครือข่ายลักษณะนี้มักใช้ในการ หาลูกค้า หรือเพื่อนร่วมอาชีพเป็นสาคัญ เช่น Coroflot, flickr, Multiply, DevianART เป็นต้น 3. ความสนใจตรงกัน ( Interested Network) เว็บไซต์ประเภทนี้คล้ายๆ กับเว็บเผยแพร่ ผลงาน คือ รวบรวมผู้ที่สนใจในเรื่องเดียวกันมาไว้ด้วยกัน แต่ต่างกันที่ Interested Network เจ้าของเว็บไม่ต้องเป็นเจ้าของผลงาน แค่แชร์ลิ้งค์ หรือเว็บที่ตัวเองสนใจ เช่น Pinterest, del.licio.us, Digg, Zickr เป็นต้น 4. โลกเสมือน (Virtual life / Game online) เป็นลักษณะการจาลองตัวของผู้ใช้งานเป็น ตัวละครตัวหนึ่งในเกม หรือสถานการณ์สมมุติ โดยมีเรื่องราว หรือภาระกิจให้ปฏิบัติ โดยอาจจะปฏิบัติโดยลาพังแข่งกับผู้เล่นคนอื่น หรือร่วมกันเป็นทีมก็ได้ โดยในระหว่าง เล่นสามารถพูดคุย หรือสื่อสารกับผู้เล่นอื่นๆ ได้ ทาให้มีลักษณะเป็น Social Network แบบหนึ่ง เช่น Second Life, The SIM เป็นต้น พฤติกรรมการใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ของคนไทย พฤติกรรมของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต ปรับเปลี่ยนจากการรับข่าวสารจาก Portral Site มา เป็นโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) เว็บไซต์ เริ่มเด่นชัดตั้งแต่ช่วงปี 2007 หรือ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มีผลการศึกษาพบว่าประมาณ 1 ใน 3 ของ ผู้ใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ใช้เพื่ออัพเดตข้อมูลข่าวสาร และอีก 1 ใน 3
  • 10. เพื่อคุยกับเพื่อนและคนรู้จัก นั่นสะท้อนให้เห็นเป็นอย่างดีว่าผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต ติดตามข่าวสารจากโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) มากขึ้น ทาไมโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ถึงกลายมาเป็นเครื่องมือทางการตลาดยอดนิยม ได้ เนื่องจากการโฆษณาผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social Network) นั้นต้นทุนต่าแต่มี ประสิทธิผลสูง หรือหมายถึงมีประสิทธิภาพในการโฆษณาสูงมาก สามารถเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายได้โดยตรง และกระจายการรับรู้ได้รวดเร็ว ทาให้ธุรกิจต่างๆ ต่างให้ความ สนใจ โดยระยะแรกนั้นธุรกิจที่มีขนาดเล็ก มีเงินลงทุนน้อยได้ทดลองใช้งานก่อน และ เมื่อประสบความสาเร็จ ก็ทาให้ธุรกิจขนาดใหญ่ต้องลงมาโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่าน โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ควบคู่ไปกับสื่อโฆษณาที่เป็น mass marketing อื่นๆ สาหรับคุณผู้อ่านที่คิดจะลงโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social Network) microBrand จะนาเสนอในโอกาสหน้าว่า โซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social Network) แต่ละประเภทที่เราได้นาเสนอ ประเภทไหนเหมาะสาหรับอะไร และใช้งานอย่างไร นอกจากนั้น microBrand จะพยายามสรรหาแง่มุมอื่นๆ ของโซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social Network) มานาเสนอให้คุณๆ ได้อ่านกันอีก ส่วนสาหรับท่านที่สนใจในข้อมูลทางสถิติ Fact หรือประเด็นน่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับโซเชียลเน็ตเวิร์ค ( Social Network) ในเชิงตัวเลข สามารถติดตามได้ใน พฤติกรรม ของผู้ใช้งาน Social Network ในประเทศไทยประจาปี 2556 และกลยุทธิ์ในการทา การตลาดบนโซเชียลเน็ตเวิร์ค ประโยชน์และโทษของสังคมออนไลน์ ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊กและทวิตเตอร์นั้น นอกจากจะมีความเสี่ยงที่ เกิดจากอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เช่น การถูก hack ข้อมูล หรือการขโมยตัวตนใน สื่อสังคมออนไลน์แล้ว ยังมีความเสี่ยงอีกอย่างหนึ่งที่อาจเกิดขึ้นจากตัวผู้ใช้งานสังคม ออนไลน์เอง นั่นก็คือความเสี่ยงที่จะต้องรับผิดตามกฎหมายจากการโพสต์หรือส่งต่อ ข้อความในสื่อสังคมออนไลน์ ความรับผิดตามกฎหมายจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์
  • 11. ด้วยจุดเด่นของสื่อสังคมออนไลน์ที่สามารถมีความสะดวกและรวดเร็วในการเผยแพร่ และการรับข้อมูลข่าวสาร จึงทาให้สื่อสังคมออนไลน์ถูกนามาใช้ในการเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารทั้งของ ภาคประชาชน ภาครัฐ และภาคเอกชน เช่น ณ ปัจจุบันซึ่งประเทศไทยกาลังประสบกับอุทกภัยครั้งใหญ่ ประชาชนชาวไทยต่างก็ตื่นตัว ในการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับสถานการณ์น้าท่วมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่นเฟซบุ๊กและ ทวิตเตอร์ เนื่องจากเป็นช่องทางที่มีข่าวสารครอบคลุมตั้งแต่การแจ้งพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่ ประสบอุทกภัย การแจ้งเส้นทางจราจร การแจ้งให้อพยพ การประสานงานเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย ไปจนถึงการวิพากษ์วิจารณ์การทางานของรัฐบาลและ ภาคส่วนต่าง ๆ ใน การแก้ปัญหาอุทกภัยแบบนาทีต่อนาที โดยที่ประชาชนไม่ต้องรอรับข้อมูลจากสื่อหลัก อย่างโทรทัศน์และวิทยุซึ่งอาจจะให้ข้อมูลได้ไม่เร็วทันใจประชาชนผู้กาลังตื่นตัวกับ ภาวะวิกฤติ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในสังคมออนไลน์ของประชาชนชาวไทยในช่วง อุทกภัยนั้นก็มิได้มีเฉพาะข่าวจริงที่เชื่อถือได้เสมอไป แต่กลับระคนไปด้วย ข่าวเท็จ ข่าว มั่ว และข่าวลือ เนื่องจากผู้ใช้งานบางคนเมื่อได้รับข้อมูลที่หลั่งไหลผ่านหน้าเฟซบุ๊กและ ทวิตเตอร์แล้วก็ส่งต่อทันทีโดยไม่ได้พิจารณาถึงแหล่งข่าวหรือความน่าเชื่อถือของ ข่าวสารนั้น ๆ บางคนก็พยายามกุข่าวลือและสร้างกระแสต่าง ๆ โดยการโพสต์รูปที่มีการ ตัดต่อและข้อความอันเป็นเท็จ หรือข้อความเกี่ยวกับสถานการณ์น้าท่วมที่เกินจริง หรือไม่ชัดเจนในรายละเอียดซึ่งก่อให้เกิด ความสับสนและความตื่นตระหนกต่อ ประชาชนผู้ได้รับข้อมูลข่าวสาร ไม่ว่าจะด้วยความคึกคะนองหรือด้วยการหวัง ผลประโยชน์ทางธุรกิจก็ตามเช่น ในทวิตเตอร์ของบางคนมีการโพสต์ข้อความว่าพบศพ เด็กหรือเจองูพิษหรือจระเข้ลอยมาตามน้าที่นั่นที่นี่ โพสต์ว่าให้รีบกักตุนสินค้าชนิดนั้น ชนิดนี้ไว้เนื่องจากสินค้ากาลังจะขาดตลาด หรือโพสต์ว่าสถานที่นั้นสถานที่นี้มีน้าท่วม สูง ไม่สามารถสัญจรผ่านหรือเข้าไปใช้บริการได้ แล้วมีการ รีทวีตกันต่ออย่างแพร่หลาย ซึ่งปรากฏว่าเมื่อมีการตรวจสอบจากประชาชนในพื้นที่และ จากแหล่งข่าวที่เชื่อถือได้ ก็พบว่าสถานการณ์ยังปกติและไม่มีเหตุการณ์ตามที่กล่าวอ้าง แสดงให้เห็นว่าผู้ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์บางคน ยังขาดความรับผิดชอบต่อสังคมและ ความตระหนักถึงความรับผิดตามกฎหมายในการใช้สื่อสังคมออนไลน์
  • 12. ในทางกฎหมาย การใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ในทางที่ผิด เช่น การโพสต์รูปภาพหรือ ข้อความที่ไม่เป็นความจริงโดยมีเจตนาที่จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือสร้าง ความปั่นป่วนให้กับสังคมนั้น อาจเข้าข่าย เป็นการกระทาความผิดตาม มาตรา ๑๔ แห่ง พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ฐาน (๑) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จโดยประการที่น่าจะเกิด ความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน หรือ (๒) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลอัน เป็นเท็จโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิด ความ ตื่นตระหนกแก่ประชาชน หรือ (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่ แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) หรือ (๒) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือ ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ นอกจากความรับผิดตามกฎหมายจากการโพสต์รูปหรือข้อความอันเป็นเท็จดังกล่าวแล้ว การใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นที่ระบายความแค้นหรือกลั่นแกล้งผู้อื่นโดยการโพสต์ ข้อความว่าร้ายผู้อื่นไม่ว่าจะด้วยความนึกสนุกหรือเพื่อต้องการให้คนที่อยู่ในเครือข่าย สังคมออนไลน์ของผู้โพสต์ข้อความได้รับรู้ถึงความเลวร้ายหรือข้อมูลใน ด้านที่ไม่พึง ประสงค์ของคนที่ถูกกล่าวถึง ไม่ว่าจะเป็นหัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน คู่อริสมัยเรียน หรือคนรักเก่าของสามี แม้จะทาให้ผู้โพสต์ข้อความได้รับความสะใจในชั่วขณะหนึ่ง แต่ ก็อาจทาให้เกิดทุกข์มหันต์ตามมา เนื่องจาก การโพสต์ข้อความในลักษณะดังกล่าวอาจ เป็นเหตุให้ผู้กระทาต้องรับผิดทั้งทางแพ่งและทางอาญา ในทางอาญานั้น ผู้กระทาอาจต้องรับผิดฐานหมิ่นประมาทโดยการโฆษณาซึ่งต้องระวาง โทษ จาคุกไม่เกิน สองปีและปรับไม่เกินสองแสนบาท หากกระทาการโพสต์หรือแสดง ความคิดเห็นไม่ว่าจะด้วยข้อความ เอกสาร ภาพ เสียง วิดีโอ ภาพยนตร์ หรือตัวอักษรที่ ทาให้ปรากฏด้วยวิธีใด ๆ ที่เป็นการใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม ในลักษณะที่น่าจะทา ให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง หรือแม้แต่ในกรณีที่ผู้ที่ถูกใส่ความ เป็นผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว หากการใส่ความนั้นน่าจะเป็นเหตุให้ บิดา มารดา คู่สมรส หรือ บุตรของผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือ ถูกเกลียดชังผู้ที่โพสต์ข้อความก็มีความผิดฐาน หมิ่นประมาทผู้ตายโดยการโฆษณาเช่นกัน อย่างไรก็ตาม หากการโพสต์ข้อความนั้น เป็นการแสดงความคิดเห็นหรือข้อความโดยสุจริตเป็นการติชมบุคคลอื่นหรือสิ่งใดด้วย ความเป็นธรรม อันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทา เช่น การแสดงความคิดเห็นหรือติ
  • 13. ชมบุคคลสาธารณะด้วยความเป็นธรรม หรือแสดงความคิดเห็นหรือข้อความโดยสุจริต เพื่อป้องกันตนเองหรือป้องกันส่วนได้เสียเกี่ยวกับตนเองตาม คลองธรรม ก็อาจไม่มี ความผิดฐานหมิ่นประมาท นอกจากนี้ ในกรณีที่การกระทาเป็นความผิดฐานหมิ่น ประมาทหากผู้ถูกหาว่ากระทาความผิดพิสูจน์ได้ว่าข้อความที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้น เป็นความจริง ผู้ถูกกล่าวหาก็ไม่ต้อง รับโทษ แต่ในกรณีที่เป็นการใส่ความในเรื่องส่วนตัว ผู้ที่กระทาความผิดอาจต้องรับโทษ แม้เรื่องที่ใส่ความจะเป็นเรื่องจริงก็ตาม เพราะกรณีการใส่ความในเรื่องส่วนตัวนั้น กฎหมายห้ามไม่ให้พิสูจน์ว่าเรื่องที่ใส่ความเป็นเรื่องจริงหรือไม่จริงหากการพิสูจน์นั้น จะไม่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๖ - ๓๓๐ ส่วนความรับผิดทางแพ่งนั้น หากข้อความที่โพสต์ไม่เป็นความจริงและก่อให้เกิดความ เสียหายแก่ผู้ที่ถูกกล่าวถึง ผู้โพสต์ข้อความจะต้องรับผิดทางแพ่ง ฐานกระทาละเมิดโดย การไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงเป็น ที่เสียหายแก่ชื่อเสียง เกียรติ คุณหรือทางทามาหาได้หรือทางเจริญของผู้อื่น โดยจะต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ให้กับผู้ที่ต้องเสียหายจากการโพสต์ข้อความนั้น นอกเหนือจากโทษทางอาญาฐานหมิ่น ประมาทโดยการโฆษณาที่กล่าวมาแล้ว เว้นแต่ในกรณีที่ผู้โพสต์ข้อความไม่รู้ว่าข้อความ ที่โพสต์นั้นไม่เป็นความจริงและตนเองหรือผู้รับข้อความมีส่วนได้เสียโดยชอบเกี่ยวกับ เรื่องที่โพสต์นั้น ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๓ ดังนั้น ผู้ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์จึงควรจะคิดให้ดีก่อนที่จะโพสต์รูปภาพ วิดีโอ ข้อความหรือสื่อใด ๆ ลงในหน้าสื่อสังคมออนไลน์นั้น เนื่องจากเมื่อขึ้นชื่อว่า “สังคม” ไม่ว่าจะสังคมในชีวิตจริงหรือในโลกออนไลน์ ก็ย่อมต้องมีกฎ กติกาที่เราต้องรักษา เสมอเพื่อความสงบสุขของสังคม ดังสานวนกฎหมายของโรมันที่กล่าวไว้ว่า “Ubi societas, ibi jus” “ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย”