SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การคิดแบบฮิวริสติกส์
บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หัวข้อ ครอบครัวพอเพียงกับโจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
400
กาหนดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เนื้อหา
จานวน
คาบ
แผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้
แนวคิดที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้
วันที่สอน
1. แบบรูปและ
ความสัมพันธ์
2. คาตอบของ
สมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
3. การแก้สมการ
เชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
4. โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับ
สมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
3
1
6
5
แผนที่ 1 (1 ชั่วโมง)
แผนที่ 2 (2 ชั่วโมง)
แผนที่ 3 (1 ชั่วโมง)
แผนที่ 4 (2 ชั่วโมง)
แผนที่ 5 (2 ชั่วโมง)
แผนที่ 6 (1 ชั่วโมง)
แผนที่ 7 (1 ชั่วโมง)
แผนที่ 8 (1 ชั่วโมง)
แผนที่ 9 (2 ชั่วโมง)
แผนที่ 10
(2 ชั่วโมง)
กระบวนการสืบสอบ
การเรียนแบบร่วมมือ
(เทคนิค TGT)
การคิดแบบฮิวริสติกส์
การคิดแบบฮิวริสติกส์
แผนบูรณาการภายในกลุ่มสาระ
กระบวนการสืบสอบ
การคิดแบบฮิวริสติกส์
การเรียนแบบร่วมมือ
(เทคนิค Jigsaw II)
การคิดแบบฮิวริสติกส์
บูรณาการอาเซียนศึกษา
การคิดแบบฮิวริสติกส์
การคิดแบบฮิวริสติกส์
บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
3 พ.ย. 57
7 พ.ย. 57
10 พ.ย. 57
13 พ.ย. 57 และ
14 พ.ย. 57
17 พ.ย. 57
21 พ.ย. 57
24 พ.ย. 57
28 พ.ย. 57
1 ธ.ค. 57 และ
2 ธ.ค. 57
8 ธ.ค. 57 และ
9 ธ.ค. 57
รวม
15
ชั่วโมง
10 แผน 3 แนวคิด 13 วัน
401
ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ผู้สอน นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์ จานวน 2 ชั่วโมง สอนวันที่ 8 ธ.ค. 57 และ 9 ธ.ค. 57
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลอง
ทางคณิตศาสตร์อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้
ตัวชี้วัด
ม 1/2 แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้
ม 1/3 เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์ หรือปัญหาและแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ
สาระสาคัญ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
มีปัญหาในชีวิตประจาวันมากมายที่สามารถใช้สมการช่วยในการแก้ปัญหา โดยเริ่มจากการ
เขียนความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการหาให้อยู่ในรูปของสมการ แล้วจึงแก้สมการหาคาตอบของสิ่งที่
ต้องการ สรุปขั้นตอนในการแก้โจทย์ปัญหาสมการได้ ดังนี้
1. วิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่าโจทย์กาหนดอะไรมาให้ และโจทย์ต้องการให้หาอะไร
2. กาหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ต้องการหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่โจทย์ต้องการ
3. เขียนสมการตามเงื่อนไขในโจทย์
4. แก้สมการเพื่อหาคาตอบที่โจทย์ต้องการ
5. ตรวจสอบคาตอบที่ได้กับเงื่อนไขในโจทย์
ดังนั้น เราจึงควรรู้จักเขียนสมการเพื่อหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ
1. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์ หรือปัญหาอย่างง่ายได้
2. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากโจทย์ปัญหาสมการที่กาหนดให้ได้
3. หาคาตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาสมการได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนมี
1. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2. ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
402
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. มีวินัย
3. ใฝุหาความรู้
4. อยู่อย่างพอเพียง
5. มุ่งมั่นในการทางาน
6. รักความเป็นไทย
7. มีจิตสาธารณะ
สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน ข้อที่
1. ความสามารถในการสื่อสาร
1.1 มีความสามารถในการรับ - ส่งสาร
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง
โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ
1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆได้
1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง
2. ความสามารถในการคิด
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้
2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้
3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงในสังคม
3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไขปัญหา
3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4.1 เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย
4.2 สามารถทางานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้
4.3 นาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
4.4 จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม
4.5 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง
403
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมตามวัย
5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
5.3 สามารถนาเทคโนโลยีไปใช้พัฒนาตนเอง
5.4 ใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
5.5 มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี
สาระการเรียนรู้
แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระราชดาริ เป็นหลักการเพื่อการพัฒนาคน
ให้มีหลักคิดและหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน
สังคม ประเทศชาติให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุล ตลอดจนพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
ในด้านต่าง ๆ โดยใช้คุณธรรมกากับความรู้ เป็นการฝึกให้คิด พูด ทา อย่างพอดี พอเหมาะ พอควร
บนหลักเหตุผล ไม่ประมาท โดยใช้สติและปัญญาในทางที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มทางเลือกและพัฒนา
ศักยภาพของแต่ละคน ให้สามารถอุ้มชูตัวเองและครอบครัวได้ โดยไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่นและ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสงบสุข รู้รักสามัคคี อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุลและยั่งยืน
และมีค่านิยมที่ดีงาม ร่วมรักษาคุณค่าของความเป็นไทย
หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียง คือ สติและปัญญา ผู้รู้จักตัวเอง ฝึกฝนตนจนเกิดปัญญา
สามารถตระหนักถึงคุณธรรม เช่น หิริโอตตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ความเมตตา
กรุณา การไม่เบียดเบียนใคร และไม่เบียดเบียนโลก รวมทั้งการมีปัญญารู้ว่า อะไรคือสิ่งที่ควรทา
เพื่อให้เกิดผลดีทั้งต่อตนและผู้อื่น ความพอเพียงจึงเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันที่ทุกคน
ต่างคานึงถึง การตัดสินใจเลือกกระทาสิ่งที่ดี และหน้าที่ในการสร้างพฤติกรรมนั้นๆอยู่เสมอ
จนกลายเป็นอุปนิสัยที่ดีและทาโดยอัตโนมัติ ไม่ลังเลสงสัยว่าทาไมผู้อื่นไม่ทา
การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีหลัก 3 ห่วง
ได้แก่ ห่วงความพอประมาณ ห่วงความมีเหตุผล ห่วงการมีภูมิคุ้มกันที่ดี และ 2 เงื่อนไข ได้แก่
เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือว่า
น้อยจนเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง หรือผู้อื่นให้เดือดร้อน
ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น
จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่า
จะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและ
การเปลี่ยนแปลงด้านการต่างๆที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่า
จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
404
และ 2 เงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่าง
รอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ
การวางแผน และความระมัดระวังในขั้นตอนปฏิบัติ
เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมี
ความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
ทั้งนี้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้มุ่งเน้นผลที่เกิดขึ้นอย่างสมดุลและยั่งยืนใน 4 มิติ
ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านวัฒนธรรม การนาแนวคิดปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ต้องเริ่มต้นจากตนเอง คนใกล้ตัว ซึ่งก็คือสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็งและมั่นคง
จึงจาเป็นต้องเริ่มต้นด้วยครอบครัวพอเพียงโดยนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์
ในการดารงชีวิต พัฒนาคุณภาพชีวิต มีความรับผิดชอบ รู้จักสร้างสัมพันธภาพที่ดี
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีความรู้ความเข้าใจ ประหยัดพลังงาน นาผลิตภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่
การบันทึกบัญชีรายรับ–รายจ่าย วางแผนการใช้เงินของตัวเอง การลดการเป็นหนี้และแสดงตัวอย่าง
การใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในการคิดคานวณแสดงเหตุผลประกอบในด้านความคุ้มค่า
หรือไม่คุ้มค่าในการเป็นหนี้ เปรียบเทียบกับการออม
405
ตัวอย่างที่ 7แม่เป็นตัวอย่างในการออมเงินและปลูกฝังให้ลูกออมเงินโดยในแต่ละวันแม่จะแบ่งเงินเพื่อ
เก็บออมและให้เงินลูกเพื่อเป็นค่าขนมไปโรงเรียนดังนี้ แม่แบ่งเงิน 150 บาท ไว้เป็นเงิน
ออมและลูกในอัตราส่วน 2 : 3 จงหาว่าแม่แบ่งเงินเพื่อเก็บออมวันละเท่าไร
วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้
ขั้นที่ 1 แม่แบ่งเงินเก็บออม 2 ส่วน จากทั้งหมด 5 ส่วนซึ่งเงินทั้งหมด 5 ส่วน
คิดเป็นเงิน 150
ขั้นที่ 2 เงิน 5 ส่วน คิดเป็น 150 บาท ถ้าจะหาเงิน 1 ส่วน จะต้องแบ่ง
150 บาท ออกเป็น 5 ส่วนด้วย
5 ส่วน เท่ากับ 150 บาท
1 1 1 1 1
1 ส่วน เท่ากับ เท่ากับ 30 บาท
2 ส่วน เท่ากับ 2 x 30 เท่ากับ 60 บาท
(เก็บออม)
3 ส่วน เท่ากับ 3 x 30 เท่ากับ 90 บาท
(ลูก)
ตอบ แม่เก็บออมวันละ 60 บาท
เก็บออม
2 ส่วน
ลูก
3 ส่วน
5 ส่วน
รวม เท่ากับ
150 บาท
150
5
150
5
150
5
150
5
150
5
406
ตัวอย่างที่ 8 ร้อยละ 60 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีทั้งหมด 420 คน
ปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน
จงหาว่ามีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนกี่คน
วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้
ตอบ มีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียน 252 คน
ตัวอย่างที่ 9 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท แต่นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และ
นาย ง 15 บาท และ 32 บาท ตามลาดับ ก่อนหน้านั้น นาย ง เป็นหนี้
นาย ค และนาย ข 3 บาท และ 7 บาทตามลาดับ ถ้ามีการชาระหนี้ทั้งหมดขึ้น
ใครจะมีเงิน 18 บาท
นักเรียนทั้งหมด
420 คน
ร้อยละ 60
หมายถึง
ถ้านักเรียน 100 คน
มีนักเรียนปลูกผัก 60 คน
60
100
60
100
60
1001 1 1 - - -
-
ปลูกผัก
100 คน 60 คน
- - -
60
100
นักเรียน
ทั้งหมด 1 คน
ปลูกผัก
252 คน
60
100
นักเรียน
ทั้งหมด 420 คน
ปลูกผัก
x 420
407
วิธีทา ข้อมูลที่โจทย์กาหนดให้ นามาหาความสัมพันธ์ได้ดังนี้
ขั้นที่ 1 ใช้จุด . แทน นาย ก , ข , ค , ง
ขั้นที่ 2 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท
นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และนาย ง 15 บาท และ 32 บาท
ขั้นที่ 3 นาย ง เป็นหนี้ นาย ค และนาย ข มาก่อน 3 บาท และ 7 บาท
เมื่อมีการชาระหนี้ทั้งหมด จะเกิดความสัมพันธ์ ดังนี้
3 + 15 = 18
ตอบ คนที่จะมีเงิน 18 บาท คือ นาย ค
.ง
.ก
.ข.ค 15 732
นาย ง
3 32 7
15 7
นาย ค นาย ก นาย ข
แทนการให้ยืม
.ง
.ก
.ข.ค
นาย ง
3 32 7
15 7
นาย ค นาย ก นาย ข
แทนการใช้คืน
408
ตัวอย่างที่ 10 ถ้าสามวันก่อนวันพรุ่งนี้ เป็นวันพฤหัสบดีแล้ว สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวันอะไร
วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้
ขั้นที่ 1 กาหนดวันพรุ่งนี้ แล้วหา 3 วันก่อนจากวันพรุ่งนี้
ขั้นที่ 2 หาวันนี้ และเมื่อวานนี้
ขั้นที่ 3 หาสี่วันต่อจากวันเมื่อวานนี้
ขั้นที่ 4 กาหนดวันทั้งหมด
สี่วันหลังจากเมื่อวาน
ตอบ สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวันอังคาร
พฤ
3 วันก่อนพรุ่งนี้
พรุ่งนี้
พฤ
3 วันก่อนพรุ่งนี้
พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้
พฤ
3 วันก่อนพรุ่งนี้
พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้
พฤ
3 วันก่อนพรุ่งนี้
พรุ่งนี้
ศ ส
เมื่อวานนี้ วันนี้
จ ออา
409
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
1. ครูและนักเรียนแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว
พระราชดาริที่แต่ละคนมีพื้นฐานมา ในประเด็นต่างๆดังนี้
- ข้อความ “3 ห่วง 2 เงื่อนไข” หมายถึงอะไร 3 ห่วงมีอะไรบ้าง 2 เงื่อนไข มี
อะไรบ้าง
- ใครเคยนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริแล้วบ้าง ใช้
อย่างไร
2. ครูยกตัวอย่างการนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากเรื่องใกล้ตัว เช่น
การแต่งกาย โดยอภิปรายร่วมกับนักเรียนแบบถาม – ตอบ ทีละประเด็นย่อย
1) หลักความพอประมาณ
- แต่งกายเหมาะสมกับเพศ แต่งกายให้ตรงตามเพศและให้เหมาะสมกับอายุ
- พอประมาณกับรายได้ ไม่แต่งกายเกินความพอดีกับฐานะหรือแต่งกายจนดูด้วย
เครื่องแต่งกายที่ประหยัดจนเกินไปจนไม่ภูมิฐานสมฐานะ
- พอประมาณและเหมาะสมกับสถานที่
- พอประมาณกับช่วงเวลาในแต่ละวันว่าช่วงเวลาใดควรแต่งอย่างไร
2) หลักความมีเหตุผล
- แต่งกายโดยคานึงถึงความเรียบร้อย/เพื่อความสวยงาม
- เพื่อการปกปูองผิวหนังและร่างกาย
- เพื่อปูองกันความร้อน/ความเย็น
- ปูองกันการบาดเจ็บและการติดเชื้อต่างๆ
- เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมสังคมกับผู้อื่นได้อย่างมั่นใจ
3) หลักภูมิคุ้มกัน
- แต่งกายให้รัดกุม เหมาะสมกับกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ
- ไม่แต่งกายล่อแหลม อุจาด และสื่อไปในทางยั่วยุทางเพศ
- ไม่แต่งกายที่ขัดกับขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของชุมชน
4) เงื่อนไขคุณธรรม
- การประหยัด ไม่ใช้จ่ายฟุุมเฟือย
- การรับผิดชอบต่อตนเอง
- การรู้จักกาลเทศะ
5) เงื่อนไขความรู้
- ความรู้เรื่องผ้าและคุณสมบัติของผ้าแต่ละชนิด
- การแต่งกายตามโอกาสต่างๆการออกแบบเสื้อผ้า
- สีของเสื้อผ้ากับงานที่ต้องเข้าไปมีส่วนร่วม
410
โดยเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ คือ
1) เศรษฐกิจ – ผู้มีบุคลิกภาพดี แต่งกายดีสามารถประกอบอาชีพนายแบบ
นางแบบได้และการใช้เสื้อผ้าที่ถูกต้องตามกาลเทศะ โดยไม่ต้องใช้ของแพงมากนักก็เป็นการประหยัด
หรืออาจจะดัดแปลงชุดเก่ามาออกแบบใช้ใหม่ก็ได้
2) สังคม – การแต่งกายที่เหมาะสมกับเพศ วัย ฐานะและสถานที่ทาให้ไม่เกิดปัญหา
สังคม ปัญหาอาชญากรรม
3) สิ่งแวดล้อม – การแต่งกายด้วยความประหยัด ใช้อย่างคุ้มค่า หรือมีการนากลับมา
ใช้ใหม่เป็นการร่วมรักษาวัตถุดิบจากธรรมชาติที่จะนามาผลิตเป็นผ้าได้
4) วัฒนธรรม – การแต่งกายเป็นการสืบทอดวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติมานาน
จนปัจจุบันเริ่มกลมกลืนกันหมด สมควรที่จะได้ให้ความสาคัญในฐานะเป็นวัฒนธรรมแขนงหนึ่ง
3. ครูยกตัวอย่างหมู่บ้าน/ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดระยอง เพื่อให้นักเรียนนามา
วิเคราะห์เพื่อประยุกต์ปฏิบัติตาม เช่น
- บ้านช่น หมู่ที่ 5 ต.ตะพง อ.เมืองระยอง โดดเด่นด้านการเพิ่มรายได้
- บ้านจารุง หมู่ที่ 7 ต.เนินฆ้อ อ.แกลง โดดเด่นด้านการดารงชีวิต
- บ้านปากปุา หมู่ที่ 4 ต.หนองตะพาน อ.บ้านค่าย โดดเด่นด้านการดารงชีวิต
- บ้านแม่น้าคู้ หมู่ที่ 1 ต.แม่น้าคู้ อ.ปลวกแดง โดดเด่นด้านการลดรายจ่าย
- บ้านคลองบางบ่อ หมู่ที่4 ต.ปลงตาเอี่ยม อ.วังจันทร์ โดดเด่นเรื่องการออม
- บ้านยายร้า หมู่ที่ 5 ต.สานักท้อน อ.บ้านฉาง โดดเด่นด้านเอื้ออาทร
โดยใช้ข้อมูลจากวารสาร เอกสารแผ่นพับ และเว็บไซต์
ขั้นสอน (การคิดแบบฮิวริสติกส์)
1. ขั้นสร้างความสัมพันธ์ (Relate)
1.1 ครูเชื่อมโยงแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้ตัวอย่างจากเอกสารแนะแนวทางที่
10 บนกระดานดาประกอบการถามตอบ และอภิปรายร่วมกับนักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้
- โจทย์กาหนดอะไรบ้าง
- โจทย์ให้หาอะไร
- จะมีวิธีการใดในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหานี้
- หากต้องการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาดังกล่าวจะทาได้ง่ายขึ้น โดยเขียนเป็นสมการ
แล้วหาคาตอบของสมการนั้น สมการของโจทย์ปัญหานี้เขียนได้อย่างไร
- มีวิธีการใดบ้างที่จะทาให้สร้างสมการของโจทย์ปัญหานี้ได้ง่ายขึ้น
- ข้อมูลที่โจทย์ให้มาสามารถเขียนโยงความสัมพันธ์ได้อย่างไรบ้าง
1.2 ครูสุ่มนักเรียนบางคนออกมาแสดงแนวคิดในประเด็นที่กาหนดหน้ากระดาน
แล้วให้นักเรียนคนอื่นร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดของเพื่อน
1.3 ครูและนักเรียนร่วมกันแก้สมการโจทย์ตัวอย่างจากเอกสารแนะแนวทางที่ 10
บนกระดานอย่างเป็นขั้นตอน โดยร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
411
1.4 สนับสนุนให้นักเรียนนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากตัวอย่างที่ 7
และตัวอย่างที่ 8 และใช้ตัวอย่างที่ 9 เป็นแนวคิดกรณีที่ไม่สนับสนุนให้นักเรียนเป็นหนี้
2. ขั้นสารวจตรวจค้น (Investigate)
2.1 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มย่อยกลุ่มละ 4-5 คน โดยในแต่ละกลุ่มมีนักเรียนคละ
ความสามารถทั้งเก่ง กลาง และอ่อน แล้วร่วมกันทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 การน้อมนาแนวคิด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยมีคะแนนเป็นทีมทั้งคะแนนจากการตอบ
คาถามในใบกิจกรรม และคะแนนการมีส่วนร่วมในการทางานกลุ่ม
2.2 ครูกระตุ้นและแนะนาให้นักเรียนคิดอย่างอิสระโดยใช้หลายๆวิธีในการเชื่อมโยง
ข้อมูลที่โจทย์ให้ แล้วสรุปเป็นวิธีของกลุ่มตามที่แต่ละคนสนใจ หรือตามความถนัด
3. ขั้นประเมินและติดต่อสื่อสาร (Evaluate and Communicate)
3.1 ครูแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนตรวจสอบคาตอบ และประเมินความถูกต้อง
ของแนวคิด ขั้นตอนวิธีการคิดรวมทั้งพิจารณาความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ โดยเน้นย้าให้
นักเรียนสารวจหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่กาหนดให้ แล้วจัดข้อมูลและการคิดให้เป็นระบบ
โดยใช้คาถามต่างๆ เช่น
- การโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่โจทย์กาหนดถูกต้อง เป็นระบบ และครบถ้วน
หรือไม่
- การเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์ในรูปของสมการถูกต้องหรือไม่
3.2 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองเพื่อประเมินคาตอบในการทากิจกรรมของกลุ่มตนเอง
โดยกาหนดเวลาประมาณ 5 - 10 นาที
3.3 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอแนวคิดหน้าห้อง
3.4 ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาตอบ และวิธีการคิดจากปัญหาในกิจกรรมสารวจ
ตรวจค้นที่ 10 การน้อมนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตอนที่ 1
โดยใช้การเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนอาสาออกมาแสดงวิธีคิดของตน และเปิดโอกาสให้เพื่อนคนอื่น
ร่วมวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์วิธีคิดของตน ทั้งนี้ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาอภิปราย
ตามความเหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดกับผลงานของเพื่อน
โดยไม่ต้องกังวลเรื่องความถูกผิดของความคิด
3.5 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าวิธีคิด หรือแนวคิดที่ร่วมกันนาเสนอนั้นวิธีใด
เหมือนกัน คล้ายกัน และแตกต่างกันในประเด็นใดบ้าง แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อจากัด และมีความเหมาะสม
กันสถานการณ์ใดบ้าง
3.6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนเสนอแนะแนวคิดที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามความเหมาะสม หรือ
ซักถามประเด็นที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิดต่อเนื่องจากปัญหาที่พบในกิจกรรม
ตามความเหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดกับผลงานของเพื่อน
412
4. ขั้นสร้างปัญหาหรือคาถาม (Create)
4.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มย่อยร่วมกันทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 การน้อมนา
แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตอนที่ 2 โดยครูแนะนาให้นักเรียน
ใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น การคิดย้อนกลับจากคาตอบไปยังโจทย์ปัญหา โดยกาหนดเวลาในการคิดระดม
สมองกันภายในกลุ่ม 10 นาที โดยครูแจ้งว่าถ้า กลุ่มใดคิดเสร็จก่อนเวลาให้ส่งตัวแทนกลุ่มมารับ
กระดาษขาวเทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นปูายนาเสนอผลงาน
4.2 เมื่อครบกาหนดเวลา ครูแจกกระดาษขาวเทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นปูาย
นาเสนอผลงานให้กลุ่มที่เหลือ
4.3 ครูให้นักเรียนอาสามาแสดงผลงานหน้าห้องโดยให้แสดงผลงานของกลุ่ม แล้วให้
นักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันหาคาตอบ หรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่น่าสนใจ จากนั้นนักเรียนกลุ่ม
เจ้าของผลงานเฉลยคาตอบ และแนวคิด
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปการเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์ในรูป
ของสมการ
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแนวคิด และขั้นตอนการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว พร้อมทั้งการตรวจสอบความถูกต้องและ
ความสมเหตุสมผลของคาตอบ
3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 10 เป็นการบ้าน ซึ่งครูแจกให้นักเรียนหรือนักเรียน
สามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์
www.pookpikschool.com
สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- เอกสารแนะแนวทางที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อยโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
- เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 การน้อมนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
- เอกสารแบบฝึกหัดที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
- เว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์
www.pookpikschool.com
413
การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัดและประเมินผล
1.1 ประเมินพฤติกรรมการเรียน
1.2 ตรวจความถูกต้องจากทาเอกสาร ดังนี้
- เอกสารแนะแนวทางที่ 10
- เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10
- เอกสารแบบฝึกหัดที่ 10
1.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
- รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
- มีวินัย
- ใฝุหาความรู้
- อยู่อย่างพอเพียง
- มุ่งมั่นในการทางาน
- รักความเป็นไทย
- มีจิตสาธารณะ
1.4 สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
2. เครื่องมือ
2.1 แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน
2.2 เอกสารประกอบนวัตกรรม ดังนี้
- เอกสารแนะแนวทางที่ 10
- เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10
- เอกสารแบบฝึกหัดที่ 10
2.3 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
- มีวินัย
- ใฝุหาความรู้
- อยู่อย่างพอเพียง
- มุ่งมั่นในการทางาน
- รักความเป็นไทย
- มีจิตสาธารณะ
414
2.4 แบบประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเรียน
ได้คะแนนร้อยละ 90-100 ระดับ 4 ถือว่า ดีมาก
ได้คะแนนร้อยละ 80-89 ระดับ 3 ถือว่า ดี
ได้คะแนนร้อยละ 70-79 ระดับ 2 ถือว่า พอใช้
ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 70 ระดับ 1 ถือว่า ต้องปรับปรุง
3.2 การประเมินความถูกต้องของทาเอกสารประกอบนวัตกรรม
ได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ระดับ 4 ถือว่า ดีมาก
ได้คะแนนร้อยละ 70-79 ระดับ 3 ถือว่า ดี
ได้คะแนนร้อยละ 60-69 ระดับ 2 ถือว่า พอใช้
ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 60 ระดับ 1 ถือว่า ต้องปรับปรุง
3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน
3.4 สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ
ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
เกณฑ์การสรุปผล
ดีมาก 13 - 15 คะแนน
ดี 09 - 12 คะแนน
พอใช้ 01 - 80 คะแนน
ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
415
การมอบหมายงาน
- ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 10 เป็นการบ้าน
แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุด
- ห้องจัดนิทรรศการและผลงานนักเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หรือของ
โรงเรียน เป็นต้น
- หนังสือ วารสาร แผ่นพับ และสื่อเกี่ยวกับแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว
พระราชดาริ
- เว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์
www.pookpikschool.com และเว็บไซต์อื่นๆ
ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ
- ครูควรโน้มน้าวให้นักเรียนนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ
ไปใช้จริงในชีวิตประจาวัน และมีการซักถามถึงผลการนาไปใช้อย่างสม่าเสมอ
- ครูควรสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมควบคู่กับสถานการณ์ในตัวอย่างประกอบ
ตามความเหมาะสมของแต่ละตัวอย่าง
- ครูควรใช้คาถามให้เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน และพฤติกรรมการเรียนรู้
สาหรับนักเรียนอ่อนอาจยกตัวอย่างและพูดแนะนามากกว่านักเรียนที่เก่ง และสาหรับ
นักเรียนเก่งครูควรกระตุ้น ท้าทายให้นักเรียนคิดหาคาตอบหลาย ๆ วิธี
416
417
บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
นักเรียนกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมบูรณาการเรื่องที่เรียนกับแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงตามแนวพระราชดาริ และอภิปรายในประเด็นของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างน่าสนใจ
สมเหตุสมผล และเป็นแนวคิดที่เหมาะสมในการนาไปใช้จริง
นักเรียนกล้าตั้งคาถามในรูปแบบต่างๆกับเพื่อน เช่น อะไรคือส่วนที่สาคัญของปัญหานี้
การแก้ปัญหาข้อนี้ควรจะเริ่มจากจุดใด ใครมีวิธีการคิดที่แตกต่างจากนี้บ้าง ใครได้คาตอบที่แตกต่าง
จากนี้บ้าง ซึ่งพฤติกรรมนี้สังเกตได้จากการอภิปรายกลุ่ม และการนาเสนอผลงาน
นักเรียนมีพฤติกรรมหมั่นซักถามครูนอกเวลาเรียน เช่น เวลาพักกลางวัน และมักชวนกันเป็นกลุ่ม
มาซักถามประเด็นที่สงสัย รวมทั้งเสนอประเด็นอื่นที่ตนเองสนใจต้องการให้ครูช่วยสอนเพิ่มเติม
ในห้องเรียน และช่วงสัปดาห์นี้นักเรียนจะมีความคุ้นเคยกับกิจกรรมที่ได้สารวจตรวจค้นด้วยตนเองเป็น
อย่างดี สนใจเรียน และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทาให้ใช้เวลาในการทากิจกรรมได้เร็วขึ้น จากการ
สอบถามได้ข้อมูลว่านักเรียนชอบสื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรม
มีความหลากหลาย แปลกใหม่ ท้าทายความสามารถ และเป็นกิจกรรมที่ไม่ยากจนเกินไป
ซึ่งทาให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจในการค้นคว้าหาความรู้ได้เป็นอย่างดี นักเรียนรู้สึกสนุกสนาน
และมีความอยากเรียนรู้ มีการซักถาม และเสนอแนวคิดอยู่ตลอดเวลา
นักเรียนทากิจกรรมเป็นกลุ่มทาให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นและร่วมกันอภิปราย
อย่างเต็มที่ ทั้งภายในกลุ่มและในชั้นเรียน โดยใช้กระบวนการคิดที่เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ ให้เป็นระบบ
เป็นหลักการ จากการสังเกตโดยภาพรวม นักเรียนจะมีความสนใจและให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม
แต่ละกิจกรรมเป็นอย่างดี มีการถามคาถามเพื่อพยายามนาไปสู่วิธีการหาคาตอบ ตลอดจนมีการหา
ความรู้เพิ่มเติมโดยการศึกษาโจทย์ปัญหานอกเหนือจากเวลาเรียน แล้วนามาถามเพื่อนให้ร่วมอภิปราย
กันในห้องเรียน นักเรียนสามารถคิดในรายละเอียดเป็นขั้นตอน สามารถอธิบายสิ่งต่างๆให้เห็นภาพ
ได้ชัดเจนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การใช้แผนภาพแบบต่าง ๆ การตีตาราง การเขียนเส้น
โยงความสัมพันธ์ การใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตลอดจนการใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์
ในการอธิบายความคิดได้รัดกุม ชัดเจน ในระดับที่น่าพอใจ ซึ่งแตกต่างจากนักเรียนที่ได้รับการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างเห็นได้ชัด
คุณภาพผลงานของนักเรียนทั้งมีพัฒนาการในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด การเขียน
อธิบายการคิดได้กระชับ เข้าใจง่ายมากยิ่งขึ้น การอธิบายวิธีคิดเป็นลาดับและขั้นตอนที่ชัดเจนมากขึ้น
นักเรียนใช้การเขียนโยงความคิดหลากหลายแนวทาง และลักษณะคาตอบมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น
ด้วยเช่นกัน นักเรียนแต่ละคนจะคิดหาคาตอบด้วยวิธีคิดมากกว่า 1 วิธี แล้วอภิปรายกับเพื่อนโดยที่
ครูไม่ต้องกระตุ้น
418
นักเรียนมีความพยายามในการแก้ปัญหา โดยนักเรียนแต่ละคนจะมีแนวทางในการคิด
แก้ปัญหาที่ค่อนข้างแตกต่างกัน ทั้งนี้กลุ่มวิธีที่นักเรียนนิยมนามาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาคือ
การโยงเส้นความสัมพันธ์ รองลงมาคือการใช้ตาราง และการวาดรูป สาหรับแนวคิดที่นักเรียนนิยม
นามาใช้ใน การแก้ปัญหาคือการประยุกต์ใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
นักเรียนสามารถใช้ความรู้เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในการจัดการบัญชีรายรับ-รายจ่าย
ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยในการวางแผนการออมต่อไปในอนาคต
ลงชื่อ............................................................................
(นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์)
ผู้สอน
419
ภาคผนวกของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10
ประกอบด้วย
1. เอกสารแนะแนวทางที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
2. เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 การน้อมนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
3. เอกสารแบบฝึกหัดที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน
5. แบบบันทึกการตรวจเอกสารประกอบนวัตกรรม
6. แบบสรุปประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
7. แบบสรุปการประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
420
เอกสารแนะแนวทางที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระราชดาริ เป็นหลักการเพื่อการพัฒนาคนให้มีหลักคิด
และหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
ประเทศชาติให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุล ตลอดจนพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
โดยใช้คุณธรรมกากับความรู้ เป็นการฝึกให้คิด พูด ทา อย่างพอดี พอเหมาะ พอควร บนหลัก
เหตุผล ไม่ประมาท โดยใช้สติและปัญญาในทางที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มทางเลือกและพัฒนาศักยภาพของแต่
ละคน ให้สามารถอุ้มชูตัวเองและครอบครัวได้ โดยไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่นและอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน
สังคมได้อย่างสงบสุข รู้รักสามัคคี อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุลและยั่งยืน และมีค่านิยมที่ดีงาม
ร่วมรักษาคุณค่าของความเป็นไทย
หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียง คือ สติและปัญญา ผู้รู้จักตัวเอง ฝึกฝนตนจนเกิดปัญญา
สามารถตระหนักถึงคุณธรรม เช่น หิริโอตตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ความเมตตา
กรุณา การไม่เบียดเบียนใคร และไม่เบียดเบียนโลก รวมทั้งการมีปัญญารู้ว่า อะไรคือสิ่งที่ควรทา
เพื่อให้เกิดผลดีทั้งต่อตนและผู้อื่น ความพอเพียงจึงเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกัน ที่ทุกคน
ต่างคานึงถึง การตัดสินใจเลือกกระทาสิ่งที่ดี และหน้าที่ในการสร้างพฤติกรรมนั้นๆอยู่เสมอ
จนกลายเป็นอุปนิสัยที่ดีและทาโดยอัตโนมัติ ไม่ลังเลสงสัยว่าทาไมผู้อื่นไม่ทา
การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ซึ่งมีหลัก 3 ห่วง ได้แก่ ห่วงความพอประมาณ
ห่วงความมีเหตุผล ห่วงการมีภูมิคุ้มกันที่ดี และ 2 เงื่อนไข ได้แก่ เงื่อนไข
ความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง ………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง ……………………………………………………………………………..
…………………………………….………………………………………………………………………………………………………..
ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง …………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
421
และ 2 เงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ ..........................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ ……………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
ทั้งนี้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้มุ่งเน้นผลที่เกิดขึ้นอย่างสมดุลและยั่งยืนใน 4 มิติ
ได้แก่ ....................................................................................................................................................
การนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ต้องเริ่มต้นจากตนเอง คนใกล้ตัว
ซึ่งก็คือสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็งและมั่นคง จึงจาเป็นต้องเริ่มต้นด้วยครอบครัวพอเพียงโดยนา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ในการดารงชีวิต พัฒนาคุณภาพชีวิต มีความรับผิดชอบ
รู้จักสร้างสัมพันธภาพที่ดี ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีความรู้ความเข้าใจ ประหยัดพลังงาน
นาผลิตภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ การบันทึกบัญชีรายรับ–รายจ่าย วางแผนการใช้เงินของตัวเอง
ตัวอย่างที่ 7 แม่เป็นตัวอย่างในการออมเงินและปลูกฝังให้ลูกออมเงินโดยในแต่ละวันแม่จะแบ่งเงิน
เพื่อเก็บออมและให้เงินลูกเพื่อเป็นค่าขนมไปโรงเรียนดังนี้ แม่แบ่งเงิน 150 บาท ไว้
เป็นเงินออมและลูกในอัตราส่วน 2 : 3 จงหาว่าแม่แบ่งเงินเพื่อเก็บออมวันละเท่าไร
วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้
ขั้นที่ 1 แม่แบ่งเงินเก็บออม 2 ส่วน จากทั้งหมด 5 ส่วนซึ่งเงินทั้งหมด 5 ส่วน
คิดเป็นเงิน 150
เก็บออม
2 ส่วน
ลูก
3 ส่วน
5 ส่วน
รวม เท่ากับ
150 บาท
422
ขั้นที่ 2 เงิน 5 ส่วน คิดเป็น 150 บาท ถ้าจะหาเงิน 1 ส่วน จะต้องแบ่ง
150 บาท ออกเป็น 5 ส่วนด้วย
5 ส่วน เท่ากับ 150 บาท
1 1 1 1 1
ตอบ แม่เก็บออมวันละ 60 บาท
150
5
150
5
150
5
150
5
150
5
423
ตัวอย่างที่ 8 ร้อยละ 60 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีทั้งหมด 420 คน
ปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน
จงหาว่ามีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนกี่คน
วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้
ตอบ มีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียน ......... คน
นักเรียนทั้งหมด
420 คน
ร้อยละ 60
หมายถึง
ถ้านักเรียน 100 คน
มีนักเรียนปลูกผัก 60 คน
424
ตัวอย่างที่ 9 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท แต่นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และ
นาย ง 15 บาท และ 32 บาท ตามลาดับ ก่อนหน้านั้น นาย ง เป็นหนี้
นาย ค และนาย ข 3 บาท และ 7 บาทตามลาดับ ถ้ามีการชาระหนี้ทั้งหมดขึ้น
ใครจะมีเงิน 18 บาท
วิธีทา ข้อมูลที่โจทย์กาหนดให้ นามาหาความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 ใช้จุด . แทน นาย ก , ข , ค , ง
ขั้นที่ 2 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท
นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และนาย ง 15 บาท และ 32 บาท
ขั้นที่ 3 นาย ง เป็นหนี้ นาย ค และนาย ข มาก่อน 3 บาท และ 7 บาท
.ง
.ก
.ข.ค 15 732
นาย ง
3 32 7
15 7
นาย ค นาย ก นาย ข
แทนการให้ยืม
.ง
.ก
.ข.ค
425
เมื่อมีการชาระหนี้ทั้งหมด จะเกิดความสัมพันธ์ ดังนี้
ตรวจคำตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………
426
ตัวอย่างที่ 10 ถ้าสามวันก่อนวันพรุ่งนี้ เป็นวันพฤหัสบดีแล้ว สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวันอะไร
วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 กาหนดวันพรุ่งนี้ แล้วหา 3 วันก่อนจากวันพรุ่งนี้
ขั้นที่ 2 หาวันนี้ และเมื่อวานนี้
ขั้นที่ 3 หาสี่วันต่อจากวันเมื่อวานนี้
ขั้นที่ 4 กาหนดวันทั้งหมด
พฤ
3 วันก่อนพรุ่งนี้
พรุ่งนี้
พฤ
3 วันก่อนพรุ่งนี้
พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้
พฤ
3 วันก่อนพรุ่งนี้
พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้
427
ตรวจคำตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปคาตอบ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
ตอบ สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวัน ……………………………………
428
กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10
การน้อมนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ตอนที่ 1 การพึ่งพาตนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ผู้ใหญ่ก้องกล้าได้ศึกษาการทาน้าหมักชีวภาพเพื่อกาจัดศัตรูพืชจากแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โดยใช้น้าหมักจากเปลือกผลไม้และลงมือทาด้วยตนเองพร้อมสมาชิกในหมู่บ้านแทนการใช้สารเคมี
ซึ่งมีราคาแพง ในการทาน้าหมักชีวภาพเพื่อกาจัดศัตรูพืชสูตรหนึ่งมีปริมาตร 700 ลูกบาศก์
เซนติเมตร มีข้อเสนอแนะในการผสมว่า ถ้าใช้อัตราส่วนของน้าหมักจากเปลือกผลไม้เข้มข้น
ต่อน้า เป็น 1 : 4 จะทาให้ได้น้าหมักชีวภาพเพื่อกาจัดศัตรูพืชแท้ 7% จงหาว่าน้าหมักชีวภาพเพื่อ
กาจัดศัตรูพืชสูตรนี้มีน้าหมักจากเปลือกผลไม้แท้กี่เปอร์เซ็นต์
วิธีคิด ………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตรวจคำตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
สรุปคาตอบ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
429
ตอนที่ 2 การทาบันทึกรายรับรายจ่ายตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ครอบครัวของ ด.ช.หมาก ซึ่งมีสมาชิก 3 คน ได้การทาบัญชีรายรับรายจ่ายตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงโดยคานึงถึงความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี โดยในเดือนที่ผ่านมา
รายรับและรายจ่ายของครอบครัว มีข้อมูล ดังนี้
รายรับ ได้แก่ เงินเดือนพ่อ 35,000 บาท และเงินเดือนแม่ 25,000 บาท
รายจ่าย ได้แก่
- ค่าผ่อนบ้าน 7,000 บาท
- ค่าเรียนพิเศษ 3,000 บาท
- ค่าอาหาร 9,000 บาท
- ค่าน้าและไฟฟูา 1,000 บาท
- ค่าซักผ้า 1,500 บาท
- ค่าเสื้อผ้า 4,000 บาท
- ค่าฟิตเนต 3,000 บาท
- ค่าอุปกรณ์การเรียน 1,000 บาท
- ค่ารักษาพยาบาล 1,500 บาท
- ค่าผ่อนรถยนต์ 5,000 บาท
- ค่าเครื่องสาอางและน้าหอมของแม่ 2,000 บาท
- ค่าอุปกรณ์กีฬาของหมาก 1,000 บาท
- ค่าขนมไปโรงเรียนของหมาก 1,200 บาท
- ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 2,000 บาท
ให้นักเรียนช่วย ด.ช.หมาก ทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย และวางแผนการใช้เงินอย่างเหมาะสม
โดยใช้ความรู้เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
430
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบทาบัญชีรายรับรายจ่ายตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยคานึง
ถึงความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เริ่มจากการสารวจว่าในแต่ละเดือน
ครอบครัวของนักเรียนมีรายจ่ายอะไรบ้าง รายจ่ายใดจาเป็น รายจ่ายใดควรปรับลดลง
ชื่อกลุ่ม..........................................................................
สมาชิกในกลุ่ม
1. ……………………………………………………………………………………………..
2. ……………………………………………………………………………………………..
3. ……………………………………………………………………………………………..
4. ……………………………………………………………………………………………..
บันทึกรายรับรายจ่าย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
431
วิธีคิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….………………………………………………………
432
แบบฝึกหัดที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จงแสดงวิธีคิด เขียนสมการและหาคาตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาต่อไปนี้
1. โรงเรียนมีนักเรียนชายหญิงรวมกัน 480 คน ถ้ามีนักเรียนหญิง 55 เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนทั้งหมด
จะมีนักเรียนหญิงมากกว่านักเรียนชายกี่คน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
2. ปูาศรีสานตะกร้าจากหวายและติดราคาไว้ 100 บาท โดยเอากาไร 25% เมื่อขายขายจริง
ผู้ซื้อขอลดราคาเป็น 90 บาท ถ้าปูาศรีขาย 90 บาท จะได้กาไรหรือขาดทุนกี่บาท
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..………………
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10

More Related Content

What's hot

การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...Weerachat Martluplao
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ Janchai Pokmoonphon
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาJirathorn Buenglee
 

What's hot (19)

การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
Media design
Media designMedia design
Media design
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Math(1)
Math(1)Math(1)
Math(1)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
 
project
projectproject
project
 

Viewers also liked

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7Jirathorn Buenglee
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มJirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5Jirathorn Buenglee
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงJirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6Jirathorn Buenglee
 
แผน 7 นวัตกรรม
แผน 7 นวัตกรรม แผน 7 นวัตกรรม
แผน 7 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน2
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน2คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน2
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน2Jirathorn Buenglee
 
แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)Jirathorn Buenglee
 
แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
สอนคณิตให้สนุก1 pik ok
สอนคณิตให้สนุก1 pik okสอนคณิตให้สนุก1 pik ok
สอนคณิตให้สนุก1 pik okJirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1Jirathorn Buenglee
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 

Viewers also liked (19)

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 
แผน 7 นวัตกรรม
แผน 7 นวัตกรรม แผน 7 นวัตกรรม
แผน 7 นวัตกรรม
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน2
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน2คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน2
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน2
 
แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)
 
แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
สอนคณิตให้สนุก1 pik ok
สอนคณิตให้สนุก1 pik okสอนคณิตให้สนุก1 pik ok
สอนคณิตให้สนุก1 pik ok
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

Similar to คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10 (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

More from Jirathorn Buenglee

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59Jirathorn Buenglee
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาJirathorn Buenglee
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59Jirathorn Buenglee
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นJirathorn Buenglee
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นJirathorn Buenglee
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559Jirathorn Buenglee
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559Jirathorn Buenglee
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...Jirathorn Buenglee
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)Jirathorn Buenglee
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคายงาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคายJirathorn Buenglee
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยJirathorn Buenglee
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 

More from Jirathorn Buenglee (18)

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคายงาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10

  • 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การคิดแบบฮิวริสติกส์ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว หัวข้อ ครอบครัวพอเพียงกับโจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
  • 2. 400 กาหนดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เนื้อหา จานวน คาบ แผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ แนวคิดที่ใช้ในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ วันที่สอน 1. แบบรูปและ ความสัมพันธ์ 2. คาตอบของ สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 3. การแก้สมการ เชิงเส้น ตัวแปรเดียว 4. โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับ สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 3 1 6 5 แผนที่ 1 (1 ชั่วโมง) แผนที่ 2 (2 ชั่วโมง) แผนที่ 3 (1 ชั่วโมง) แผนที่ 4 (2 ชั่วโมง) แผนที่ 5 (2 ชั่วโมง) แผนที่ 6 (1 ชั่วโมง) แผนที่ 7 (1 ชั่วโมง) แผนที่ 8 (1 ชั่วโมง) แผนที่ 9 (2 ชั่วโมง) แผนที่ 10 (2 ชั่วโมง) กระบวนการสืบสอบ การเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิค TGT) การคิดแบบฮิวริสติกส์ การคิดแบบฮิวริสติกส์ แผนบูรณาการภายในกลุ่มสาระ กระบวนการสืบสอบ การคิดแบบฮิวริสติกส์ การเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิค Jigsaw II) การคิดแบบฮิวริสติกส์ บูรณาการอาเซียนศึกษา การคิดแบบฮิวริสติกส์ การคิดแบบฮิวริสติกส์ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 3 พ.ย. 57 7 พ.ย. 57 10 พ.ย. 57 13 พ.ย. 57 และ 14 พ.ย. 57 17 พ.ย. 57 21 พ.ย. 57 24 พ.ย. 57 28 พ.ย. 57 1 ธ.ค. 57 และ 2 ธ.ค. 57 8 ธ.ค. 57 และ 9 ธ.ค. 57 รวม 15 ชั่วโมง 10 แผน 3 แนวคิด 13 วัน
  • 3. 401 ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ผู้สอน นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์ จานวน 2 ชั่วโมง สอนวันที่ 8 ธ.ค. 57 และ 9 ธ.ค. 57 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลอง ทางคณิตศาสตร์อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้ ตัวชี้วัด ม 1/2 แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ ม 1/3 เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์ หรือปัญหาและแก้โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ สาระสาคัญ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มีปัญหาในชีวิตประจาวันมากมายที่สามารถใช้สมการช่วยในการแก้ปัญหา โดยเริ่มจากการ เขียนความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการหาให้อยู่ในรูปของสมการ แล้วจึงแก้สมการหาคาตอบของสิ่งที่ ต้องการ สรุปขั้นตอนในการแก้โจทย์ปัญหาสมการได้ ดังนี้ 1. วิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่าโจทย์กาหนดอะไรมาให้ และโจทย์ต้องการให้หาอะไร 2. กาหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ต้องการหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่โจทย์ต้องการ 3. เขียนสมการตามเงื่อนไขในโจทย์ 4. แก้สมการเพื่อหาคาตอบที่โจทย์ต้องการ 5. ตรวจสอบคาตอบที่ได้กับเงื่อนไขในโจทย์ ดังนั้น เราจึงควรรู้จักเขียนสมการเพื่อหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ 1. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์ หรือปัญหาอย่างง่ายได้ 2. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากโจทย์ปัญหาสมการที่กาหนดให้ได้ 3. หาคาตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาสมการได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนมี 1. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 2. ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
  • 4. 402 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. มีวินัย 3. ใฝุหาความรู้ 4. อยู่อย่างพอเพียง 5. มุ่งมั่นในการทางาน 6. รักความเป็นไทย 7. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน ข้อที่ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ - ส่งสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆได้ 1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง 2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้ 3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา 3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงในสังคม 3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไขปัญหา 3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4.1 เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย 4.2 สามารถทางานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ 4.3 นาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน 4.4 จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม 4.5 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง
  • 5. 403 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมตามวัย 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี 5.3 สามารถนาเทคโนโลยีไปใช้พัฒนาตนเอง 5.4 ใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 5.5 มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สาระการเรียนรู้ แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระราชดาริ เป็นหลักการเพื่อการพัฒนาคน ให้มีหลักคิดและหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุล ตลอดจนพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่าง ๆ โดยใช้คุณธรรมกากับความรู้ เป็นการฝึกให้คิด พูด ทา อย่างพอดี พอเหมาะ พอควร บนหลักเหตุผล ไม่ประมาท โดยใช้สติและปัญญาในทางที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มทางเลือกและพัฒนา ศักยภาพของแต่ละคน ให้สามารถอุ้มชูตัวเองและครอบครัวได้ โดยไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่นและ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสงบสุข รู้รักสามัคคี อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุลและยั่งยืน และมีค่านิยมที่ดีงาม ร่วมรักษาคุณค่าของความเป็นไทย หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียง คือ สติและปัญญา ผู้รู้จักตัวเอง ฝึกฝนตนจนเกิดปัญญา สามารถตระหนักถึงคุณธรรม เช่น หิริโอตตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ความเมตตา กรุณา การไม่เบียดเบียนใคร และไม่เบียดเบียนโลก รวมทั้งการมีปัญญารู้ว่า อะไรคือสิ่งที่ควรทา เพื่อให้เกิดผลดีทั้งต่อตนและผู้อื่น ความพอเพียงจึงเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันที่ทุกคน ต่างคานึงถึง การตัดสินใจเลือกกระทาสิ่งที่ดี และหน้าที่ในการสร้างพฤติกรรมนั้นๆอยู่เสมอ จนกลายเป็นอุปนิสัยที่ดีและทาโดยอัตโนมัติ ไม่ลังเลสงสัยว่าทาไมผู้อื่นไม่ทา การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีหลัก 3 ห่วง ได้แก่ ห่วงความพอประมาณ ห่วงความมีเหตุผล ห่วงการมีภูมิคุ้มกันที่ดี และ 2 เงื่อนไข ได้แก่ เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือว่า น้อยจนเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง หรือผู้อื่นให้เดือดร้อน ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่า จะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและ การเปลี่ยนแปลงด้านการต่างๆที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่า จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
  • 6. 404 และ 2 เงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ การวางแผน และความระมัดระวังในขั้นตอนปฏิบัติ เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมี ความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ทั้งนี้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้มุ่งเน้นผลที่เกิดขึ้นอย่างสมดุลและยั่งยืนใน 4 มิติ ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านวัฒนธรรม การนาแนวคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ต้องเริ่มต้นจากตนเอง คนใกล้ตัว ซึ่งก็คือสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็งและมั่นคง จึงจาเป็นต้องเริ่มต้นด้วยครอบครัวพอเพียงโดยนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ ในการดารงชีวิต พัฒนาคุณภาพชีวิต มีความรับผิดชอบ รู้จักสร้างสัมพันธภาพที่ดี ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีความรู้ความเข้าใจ ประหยัดพลังงาน นาผลิตภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ การบันทึกบัญชีรายรับ–รายจ่าย วางแผนการใช้เงินของตัวเอง การลดการเป็นหนี้และแสดงตัวอย่าง การใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในการคิดคานวณแสดงเหตุผลประกอบในด้านความคุ้มค่า หรือไม่คุ้มค่าในการเป็นหนี้ เปรียบเทียบกับการออม
  • 7. 405 ตัวอย่างที่ 7แม่เป็นตัวอย่างในการออมเงินและปลูกฝังให้ลูกออมเงินโดยในแต่ละวันแม่จะแบ่งเงินเพื่อ เก็บออมและให้เงินลูกเพื่อเป็นค่าขนมไปโรงเรียนดังนี้ แม่แบ่งเงิน 150 บาท ไว้เป็นเงิน ออมและลูกในอัตราส่วน 2 : 3 จงหาว่าแม่แบ่งเงินเพื่อเก็บออมวันละเท่าไร วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 แม่แบ่งเงินเก็บออม 2 ส่วน จากทั้งหมด 5 ส่วนซึ่งเงินทั้งหมด 5 ส่วน คิดเป็นเงิน 150 ขั้นที่ 2 เงิน 5 ส่วน คิดเป็น 150 บาท ถ้าจะหาเงิน 1 ส่วน จะต้องแบ่ง 150 บาท ออกเป็น 5 ส่วนด้วย 5 ส่วน เท่ากับ 150 บาท 1 1 1 1 1 1 ส่วน เท่ากับ เท่ากับ 30 บาท 2 ส่วน เท่ากับ 2 x 30 เท่ากับ 60 บาท (เก็บออม) 3 ส่วน เท่ากับ 3 x 30 เท่ากับ 90 บาท (ลูก) ตอบ แม่เก็บออมวันละ 60 บาท เก็บออม 2 ส่วน ลูก 3 ส่วน 5 ส่วน รวม เท่ากับ 150 บาท 150 5 150 5 150 5 150 5 150 5
  • 8. 406 ตัวอย่างที่ 8 ร้อยละ 60 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีทั้งหมด 420 คน ปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน จงหาว่ามีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนกี่คน วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ ตอบ มีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียน 252 คน ตัวอย่างที่ 9 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท แต่นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และ นาย ง 15 บาท และ 32 บาท ตามลาดับ ก่อนหน้านั้น นาย ง เป็นหนี้ นาย ค และนาย ข 3 บาท และ 7 บาทตามลาดับ ถ้ามีการชาระหนี้ทั้งหมดขึ้น ใครจะมีเงิน 18 บาท นักเรียนทั้งหมด 420 คน ร้อยละ 60 หมายถึง ถ้านักเรียน 100 คน มีนักเรียนปลูกผัก 60 คน 60 100 60 100 60 1001 1 1 - - - - ปลูกผัก 100 คน 60 คน - - - 60 100 นักเรียน ทั้งหมด 1 คน ปลูกผัก 252 คน 60 100 นักเรียน ทั้งหมด 420 คน ปลูกผัก x 420
  • 9. 407 วิธีทา ข้อมูลที่โจทย์กาหนดให้ นามาหาความสัมพันธ์ได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 ใช้จุด . แทน นาย ก , ข , ค , ง ขั้นที่ 2 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และนาย ง 15 บาท และ 32 บาท ขั้นที่ 3 นาย ง เป็นหนี้ นาย ค และนาย ข มาก่อน 3 บาท และ 7 บาท เมื่อมีการชาระหนี้ทั้งหมด จะเกิดความสัมพันธ์ ดังนี้ 3 + 15 = 18 ตอบ คนที่จะมีเงิน 18 บาท คือ นาย ค .ง .ก .ข.ค 15 732 นาย ง 3 32 7 15 7 นาย ค นาย ก นาย ข แทนการให้ยืม .ง .ก .ข.ค นาย ง 3 32 7 15 7 นาย ค นาย ก นาย ข แทนการใช้คืน
  • 10. 408 ตัวอย่างที่ 10 ถ้าสามวันก่อนวันพรุ่งนี้ เป็นวันพฤหัสบดีแล้ว สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวันอะไร วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 กาหนดวันพรุ่งนี้ แล้วหา 3 วันก่อนจากวันพรุ่งนี้ ขั้นที่ 2 หาวันนี้ และเมื่อวานนี้ ขั้นที่ 3 หาสี่วันต่อจากวันเมื่อวานนี้ ขั้นที่ 4 กาหนดวันทั้งหมด สี่วันหลังจากเมื่อวาน ตอบ สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวันอังคาร พฤ 3 วันก่อนพรุ่งนี้ พรุ่งนี้ พฤ 3 วันก่อนพรุ่งนี้ พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้ พฤ 3 วันก่อนพรุ่งนี้ พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้ พฤ 3 วันก่อนพรุ่งนี้ พรุ่งนี้ ศ ส เมื่อวานนี้ วันนี้ จ ออา
  • 11. 409 กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ครูและนักเรียนแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดาริที่แต่ละคนมีพื้นฐานมา ในประเด็นต่างๆดังนี้ - ข้อความ “3 ห่วง 2 เงื่อนไข” หมายถึงอะไร 3 ห่วงมีอะไรบ้าง 2 เงื่อนไข มี อะไรบ้าง - ใครเคยนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริแล้วบ้าง ใช้ อย่างไร 2. ครูยกตัวอย่างการนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากเรื่องใกล้ตัว เช่น การแต่งกาย โดยอภิปรายร่วมกับนักเรียนแบบถาม – ตอบ ทีละประเด็นย่อย 1) หลักความพอประมาณ - แต่งกายเหมาะสมกับเพศ แต่งกายให้ตรงตามเพศและให้เหมาะสมกับอายุ - พอประมาณกับรายได้ ไม่แต่งกายเกินความพอดีกับฐานะหรือแต่งกายจนดูด้วย เครื่องแต่งกายที่ประหยัดจนเกินไปจนไม่ภูมิฐานสมฐานะ - พอประมาณและเหมาะสมกับสถานที่ - พอประมาณกับช่วงเวลาในแต่ละวันว่าช่วงเวลาใดควรแต่งอย่างไร 2) หลักความมีเหตุผล - แต่งกายโดยคานึงถึงความเรียบร้อย/เพื่อความสวยงาม - เพื่อการปกปูองผิวหนังและร่างกาย - เพื่อปูองกันความร้อน/ความเย็น - ปูองกันการบาดเจ็บและการติดเชื้อต่างๆ - เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมสังคมกับผู้อื่นได้อย่างมั่นใจ 3) หลักภูมิคุ้มกัน - แต่งกายให้รัดกุม เหมาะสมกับกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ - ไม่แต่งกายล่อแหลม อุจาด และสื่อไปในทางยั่วยุทางเพศ - ไม่แต่งกายที่ขัดกับขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของชุมชน 4) เงื่อนไขคุณธรรม - การประหยัด ไม่ใช้จ่ายฟุุมเฟือย - การรับผิดชอบต่อตนเอง - การรู้จักกาลเทศะ 5) เงื่อนไขความรู้ - ความรู้เรื่องผ้าและคุณสมบัติของผ้าแต่ละชนิด - การแต่งกายตามโอกาสต่างๆการออกแบบเสื้อผ้า - สีของเสื้อผ้ากับงานที่ต้องเข้าไปมีส่วนร่วม
  • 12. 410 โดยเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ คือ 1) เศรษฐกิจ – ผู้มีบุคลิกภาพดี แต่งกายดีสามารถประกอบอาชีพนายแบบ นางแบบได้และการใช้เสื้อผ้าที่ถูกต้องตามกาลเทศะ โดยไม่ต้องใช้ของแพงมากนักก็เป็นการประหยัด หรืออาจจะดัดแปลงชุดเก่ามาออกแบบใช้ใหม่ก็ได้ 2) สังคม – การแต่งกายที่เหมาะสมกับเพศ วัย ฐานะและสถานที่ทาให้ไม่เกิดปัญหา สังคม ปัญหาอาชญากรรม 3) สิ่งแวดล้อม – การแต่งกายด้วยความประหยัด ใช้อย่างคุ้มค่า หรือมีการนากลับมา ใช้ใหม่เป็นการร่วมรักษาวัตถุดิบจากธรรมชาติที่จะนามาผลิตเป็นผ้าได้ 4) วัฒนธรรม – การแต่งกายเป็นการสืบทอดวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติมานาน จนปัจจุบันเริ่มกลมกลืนกันหมด สมควรที่จะได้ให้ความสาคัญในฐานะเป็นวัฒนธรรมแขนงหนึ่ง 3. ครูยกตัวอย่างหมู่บ้าน/ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดระยอง เพื่อให้นักเรียนนามา วิเคราะห์เพื่อประยุกต์ปฏิบัติตาม เช่น - บ้านช่น หมู่ที่ 5 ต.ตะพง อ.เมืองระยอง โดดเด่นด้านการเพิ่มรายได้ - บ้านจารุง หมู่ที่ 7 ต.เนินฆ้อ อ.แกลง โดดเด่นด้านการดารงชีวิต - บ้านปากปุา หมู่ที่ 4 ต.หนองตะพาน อ.บ้านค่าย โดดเด่นด้านการดารงชีวิต - บ้านแม่น้าคู้ หมู่ที่ 1 ต.แม่น้าคู้ อ.ปลวกแดง โดดเด่นด้านการลดรายจ่าย - บ้านคลองบางบ่อ หมู่ที่4 ต.ปลงตาเอี่ยม อ.วังจันทร์ โดดเด่นเรื่องการออม - บ้านยายร้า หมู่ที่ 5 ต.สานักท้อน อ.บ้านฉาง โดดเด่นด้านเอื้ออาทร โดยใช้ข้อมูลจากวารสาร เอกสารแผ่นพับ และเว็บไซต์ ขั้นสอน (การคิดแบบฮิวริสติกส์) 1. ขั้นสร้างความสัมพันธ์ (Relate) 1.1 ครูเชื่อมโยงแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้ตัวอย่างจากเอกสารแนะแนวทางที่ 10 บนกระดานดาประกอบการถามตอบ และอภิปรายร่วมกับนักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้ - โจทย์กาหนดอะไรบ้าง - โจทย์ให้หาอะไร - จะมีวิธีการใดในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหานี้ - หากต้องการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาดังกล่าวจะทาได้ง่ายขึ้น โดยเขียนเป็นสมการ แล้วหาคาตอบของสมการนั้น สมการของโจทย์ปัญหานี้เขียนได้อย่างไร - มีวิธีการใดบ้างที่จะทาให้สร้างสมการของโจทย์ปัญหานี้ได้ง่ายขึ้น - ข้อมูลที่โจทย์ให้มาสามารถเขียนโยงความสัมพันธ์ได้อย่างไรบ้าง 1.2 ครูสุ่มนักเรียนบางคนออกมาแสดงแนวคิดในประเด็นที่กาหนดหน้ากระดาน แล้วให้นักเรียนคนอื่นร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดของเพื่อน 1.3 ครูและนักเรียนร่วมกันแก้สมการโจทย์ตัวอย่างจากเอกสารแนะแนวทางที่ 10 บนกระดานอย่างเป็นขั้นตอน โดยร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
  • 13. 411 1.4 สนับสนุนให้นักเรียนนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากตัวอย่างที่ 7 และตัวอย่างที่ 8 และใช้ตัวอย่างที่ 9 เป็นแนวคิดกรณีที่ไม่สนับสนุนให้นักเรียนเป็นหนี้ 2. ขั้นสารวจตรวจค้น (Investigate) 2.1 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มย่อยกลุ่มละ 4-5 คน โดยในแต่ละกลุ่มมีนักเรียนคละ ความสามารถทั้งเก่ง กลาง และอ่อน แล้วร่วมกันทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 การน้อมนาแนวคิด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยมีคะแนนเป็นทีมทั้งคะแนนจากการตอบ คาถามในใบกิจกรรม และคะแนนการมีส่วนร่วมในการทางานกลุ่ม 2.2 ครูกระตุ้นและแนะนาให้นักเรียนคิดอย่างอิสระโดยใช้หลายๆวิธีในการเชื่อมโยง ข้อมูลที่โจทย์ให้ แล้วสรุปเป็นวิธีของกลุ่มตามที่แต่ละคนสนใจ หรือตามความถนัด 3. ขั้นประเมินและติดต่อสื่อสาร (Evaluate and Communicate) 3.1 ครูแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนตรวจสอบคาตอบ และประเมินความถูกต้อง ของแนวคิด ขั้นตอนวิธีการคิดรวมทั้งพิจารณาความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ โดยเน้นย้าให้ นักเรียนสารวจหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่กาหนดให้ แล้วจัดข้อมูลและการคิดให้เป็นระบบ โดยใช้คาถามต่างๆ เช่น - การโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่โจทย์กาหนดถูกต้อง เป็นระบบ และครบถ้วน หรือไม่ - การเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์ในรูปของสมการถูกต้องหรือไม่ 3.2 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองเพื่อประเมินคาตอบในการทากิจกรรมของกลุ่มตนเอง โดยกาหนดเวลาประมาณ 5 - 10 นาที 3.3 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอแนวคิดหน้าห้อง 3.4 ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาตอบ และวิธีการคิดจากปัญหาในกิจกรรมสารวจ ตรวจค้นที่ 10 การน้อมนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตอนที่ 1 โดยใช้การเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนอาสาออกมาแสดงวิธีคิดของตน และเปิดโอกาสให้เพื่อนคนอื่น ร่วมวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์วิธีคิดของตน ทั้งนี้ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาอภิปราย ตามความเหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดกับผลงานของเพื่อน โดยไม่ต้องกังวลเรื่องความถูกผิดของความคิด 3.5 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าวิธีคิด หรือแนวคิดที่ร่วมกันนาเสนอนั้นวิธีใด เหมือนกัน คล้ายกัน และแตกต่างกันในประเด็นใดบ้าง แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อจากัด และมีความเหมาะสม กันสถานการณ์ใดบ้าง 3.6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนเสนอแนะแนวคิดที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามความเหมาะสม หรือ ซักถามประเด็นที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิดต่อเนื่องจากปัญหาที่พบในกิจกรรม ตามความเหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดกับผลงานของเพื่อน
  • 14. 412 4. ขั้นสร้างปัญหาหรือคาถาม (Create) 4.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มย่อยร่วมกันทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 การน้อมนา แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตอนที่ 2 โดยครูแนะนาให้นักเรียน ใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น การคิดย้อนกลับจากคาตอบไปยังโจทย์ปัญหา โดยกาหนดเวลาในการคิดระดม สมองกันภายในกลุ่ม 10 นาที โดยครูแจ้งว่าถ้า กลุ่มใดคิดเสร็จก่อนเวลาให้ส่งตัวแทนกลุ่มมารับ กระดาษขาวเทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นปูายนาเสนอผลงาน 4.2 เมื่อครบกาหนดเวลา ครูแจกกระดาษขาวเทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นปูาย นาเสนอผลงานให้กลุ่มที่เหลือ 4.3 ครูให้นักเรียนอาสามาแสดงผลงานหน้าห้องโดยให้แสดงผลงานของกลุ่ม แล้วให้ นักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันหาคาตอบ หรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่น่าสนใจ จากนั้นนักเรียนกลุ่ม เจ้าของผลงานเฉลยคาตอบ และแนวคิด ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปการเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์ในรูป ของสมการ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแนวคิด และขั้นตอนการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว พร้อมทั้งการตรวจสอบความถูกต้องและ ความสมเหตุสมผลของคาตอบ 3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 10 เป็นการบ้าน ซึ่งครูแจกให้นักเรียนหรือนักเรียน สามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์ www.pookpikschool.com สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - เอกสารแนะแนวทางที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อยโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 การน้อมนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน - เอกสารแบบฝึกหัดที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - เว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์ www.pookpikschool.com
  • 15. 413 การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 ประเมินพฤติกรรมการเรียน 1.2 ตรวจความถูกต้องจากทาเอกสาร ดังนี้ - เอกสารแนะแนวทางที่ 10 - เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 - เอกสารแบบฝึกหัดที่ 10 1.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ - มีวินัย - ใฝุหาความรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - มุ่งมั่นในการทางาน - รักความเป็นไทย - มีจิตสาธารณะ 1.4 สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน 2.2 เอกสารประกอบนวัตกรรม ดังนี้ - เอกสารแนะแนวทางที่ 10 - เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 - เอกสารแบบฝึกหัดที่ 10 2.3 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ - มีวินัย - ใฝุหาความรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - มุ่งมั่นในการทางาน - รักความเป็นไทย - มีจิตสาธารณะ
  • 16. 414 2.4 แบบประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเรียน ได้คะแนนร้อยละ 90-100 ระดับ 4 ถือว่า ดีมาก ได้คะแนนร้อยละ 80-89 ระดับ 3 ถือว่า ดี ได้คะแนนร้อยละ 70-79 ระดับ 2 ถือว่า พอใช้ ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 70 ระดับ 1 ถือว่า ต้องปรับปรุง 3.2 การประเมินความถูกต้องของทาเอกสารประกอบนวัตกรรม ได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ระดับ 4 ถือว่า ดีมาก ได้คะแนนร้อยละ 70-79 ระดับ 3 ถือว่า ดี ได้คะแนนร้อยละ 60-69 ระดับ 2 ถือว่า พอใช้ ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 60 ระดับ 1 ถือว่า ต้องปรับปรุง 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน 3.4 สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล ดีมาก 13 - 15 คะแนน ดี 09 - 12 คะแนน พอใช้ 01 - 80 คะแนน ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
  • 17. 415 การมอบหมายงาน - ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 10 เป็นการบ้าน แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด - ห้องจัดนิทรรศการและผลงานนักเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หรือของ โรงเรียน เป็นต้น - หนังสือ วารสาร แผ่นพับ และสื่อเกี่ยวกับแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดาริ - เว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์ www.pookpikschool.com และเว็บไซต์อื่นๆ ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ - ครูควรโน้มน้าวให้นักเรียนนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ ไปใช้จริงในชีวิตประจาวัน และมีการซักถามถึงผลการนาไปใช้อย่างสม่าเสมอ - ครูควรสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมควบคู่กับสถานการณ์ในตัวอย่างประกอบ ตามความเหมาะสมของแต่ละตัวอย่าง - ครูควรใช้คาถามให้เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน และพฤติกรรมการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนอ่อนอาจยกตัวอย่างและพูดแนะนามากกว่านักเรียนที่เก่ง และสาหรับ นักเรียนเก่งครูควรกระตุ้น ท้าทายให้นักเรียนคิดหาคาตอบหลาย ๆ วิธี
  • 18. 416
  • 19. 417 บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมบูรณาการเรื่องที่เรียนกับแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวพระราชดาริ และอภิปรายในประเด็นของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างน่าสนใจ สมเหตุสมผล และเป็นแนวคิดที่เหมาะสมในการนาไปใช้จริง นักเรียนกล้าตั้งคาถามในรูปแบบต่างๆกับเพื่อน เช่น อะไรคือส่วนที่สาคัญของปัญหานี้ การแก้ปัญหาข้อนี้ควรจะเริ่มจากจุดใด ใครมีวิธีการคิดที่แตกต่างจากนี้บ้าง ใครได้คาตอบที่แตกต่าง จากนี้บ้าง ซึ่งพฤติกรรมนี้สังเกตได้จากการอภิปรายกลุ่ม และการนาเสนอผลงาน นักเรียนมีพฤติกรรมหมั่นซักถามครูนอกเวลาเรียน เช่น เวลาพักกลางวัน และมักชวนกันเป็นกลุ่ม มาซักถามประเด็นที่สงสัย รวมทั้งเสนอประเด็นอื่นที่ตนเองสนใจต้องการให้ครูช่วยสอนเพิ่มเติม ในห้องเรียน และช่วงสัปดาห์นี้นักเรียนจะมีความคุ้นเคยกับกิจกรรมที่ได้สารวจตรวจค้นด้วยตนเองเป็น อย่างดี สนใจเรียน และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทาให้ใช้เวลาในการทากิจกรรมได้เร็วขึ้น จากการ สอบถามได้ข้อมูลว่านักเรียนชอบสื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรม มีความหลากหลาย แปลกใหม่ ท้าทายความสามารถ และเป็นกิจกรรมที่ไม่ยากจนเกินไป ซึ่งทาให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจในการค้นคว้าหาความรู้ได้เป็นอย่างดี นักเรียนรู้สึกสนุกสนาน และมีความอยากเรียนรู้ มีการซักถาม และเสนอแนวคิดอยู่ตลอดเวลา นักเรียนทากิจกรรมเป็นกลุ่มทาให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นและร่วมกันอภิปราย อย่างเต็มที่ ทั้งภายในกลุ่มและในชั้นเรียน โดยใช้กระบวนการคิดที่เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ ให้เป็นระบบ เป็นหลักการ จากการสังเกตโดยภาพรวม นักเรียนจะมีความสนใจและให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม แต่ละกิจกรรมเป็นอย่างดี มีการถามคาถามเพื่อพยายามนาไปสู่วิธีการหาคาตอบ ตลอดจนมีการหา ความรู้เพิ่มเติมโดยการศึกษาโจทย์ปัญหานอกเหนือจากเวลาเรียน แล้วนามาถามเพื่อนให้ร่วมอภิปราย กันในห้องเรียน นักเรียนสามารถคิดในรายละเอียดเป็นขั้นตอน สามารถอธิบายสิ่งต่างๆให้เห็นภาพ ได้ชัดเจนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การใช้แผนภาพแบบต่าง ๆ การตีตาราง การเขียนเส้น โยงความสัมพันธ์ การใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตลอดจนการใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์ ในการอธิบายความคิดได้รัดกุม ชัดเจน ในระดับที่น่าพอใจ ซึ่งแตกต่างจากนักเรียนที่ได้รับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างเห็นได้ชัด คุณภาพผลงานของนักเรียนทั้งมีพัฒนาการในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด การเขียน อธิบายการคิดได้กระชับ เข้าใจง่ายมากยิ่งขึ้น การอธิบายวิธีคิดเป็นลาดับและขั้นตอนที่ชัดเจนมากขึ้น นักเรียนใช้การเขียนโยงความคิดหลากหลายแนวทาง และลักษณะคาตอบมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น ด้วยเช่นกัน นักเรียนแต่ละคนจะคิดหาคาตอบด้วยวิธีคิดมากกว่า 1 วิธี แล้วอภิปรายกับเพื่อนโดยที่ ครูไม่ต้องกระตุ้น
  • 20. 418 นักเรียนมีความพยายามในการแก้ปัญหา โดยนักเรียนแต่ละคนจะมีแนวทางในการคิด แก้ปัญหาที่ค่อนข้างแตกต่างกัน ทั้งนี้กลุ่มวิธีที่นักเรียนนิยมนามาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาคือ การโยงเส้นความสัมพันธ์ รองลงมาคือการใช้ตาราง และการวาดรูป สาหรับแนวคิดที่นักเรียนนิยม นามาใช้ใน การแก้ปัญหาคือการประยุกต์ใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว นักเรียนสามารถใช้ความรู้เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในการจัดการบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยในการวางแผนการออมต่อไปในอนาคต ลงชื่อ............................................................................ (นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์) ผู้สอน
  • 21. 419 ภาคผนวกของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 ประกอบด้วย 1. เอกสารแนะแนวทางที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 การน้อมนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 3. เอกสารแบบฝึกหัดที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 4. แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน 5. แบบบันทึกการตรวจเอกสารประกอบนวัตกรรม 6. แบบสรุปประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7. แบบสรุปการประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
  • 22. 420 เอกสารแนะแนวทางที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระราชดาริ เป็นหลักการเพื่อการพัฒนาคนให้มีหลักคิด และหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุล ตลอดจนพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ โดยใช้คุณธรรมกากับความรู้ เป็นการฝึกให้คิด พูด ทา อย่างพอดี พอเหมาะ พอควร บนหลัก เหตุผล ไม่ประมาท โดยใช้สติและปัญญาในทางที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มทางเลือกและพัฒนาศักยภาพของแต่ ละคน ให้สามารถอุ้มชูตัวเองและครอบครัวได้ โดยไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่นและอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคมได้อย่างสงบสุข รู้รักสามัคคี อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุลและยั่งยืน และมีค่านิยมที่ดีงาม ร่วมรักษาคุณค่าของความเป็นไทย หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียง คือ สติและปัญญา ผู้รู้จักตัวเอง ฝึกฝนตนจนเกิดปัญญา สามารถตระหนักถึงคุณธรรม เช่น หิริโอตตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ความเมตตา กรุณา การไม่เบียดเบียนใคร และไม่เบียดเบียนโลก รวมทั้งการมีปัญญารู้ว่า อะไรคือสิ่งที่ควรทา เพื่อให้เกิดผลดีทั้งต่อตนและผู้อื่น ความพอเพียงจึงเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกัน ที่ทุกคน ต่างคานึงถึง การตัดสินใจเลือกกระทาสิ่งที่ดี และหน้าที่ในการสร้างพฤติกรรมนั้นๆอยู่เสมอ จนกลายเป็นอุปนิสัยที่ดีและทาโดยอัตโนมัติ ไม่ลังเลสงสัยว่าทาไมผู้อื่นไม่ทา การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีหลัก 3 ห่วง ได้แก่ ห่วงความพอประมาณ ห่วงความมีเหตุผล ห่วงการมีภูมิคุ้มกันที่ดี และ 2 เงื่อนไข ได้แก่ เงื่อนไข ความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง ………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง …………………………………………………………………………….. …………………………………….……………………………………………………………………………………………………….. ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง ………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
  • 23. 421 และ 2 เงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ .......................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ทั้งนี้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้มุ่งเน้นผลที่เกิดขึ้นอย่างสมดุลและยั่งยืนใน 4 มิติ ได้แก่ .................................................................................................................................................... การนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ต้องเริ่มต้นจากตนเอง คนใกล้ตัว ซึ่งก็คือสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็งและมั่นคง จึงจาเป็นต้องเริ่มต้นด้วยครอบครัวพอเพียงโดยนา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ในการดารงชีวิต พัฒนาคุณภาพชีวิต มีความรับผิดชอบ รู้จักสร้างสัมพันธภาพที่ดี ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีความรู้ความเข้าใจ ประหยัดพลังงาน นาผลิตภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ การบันทึกบัญชีรายรับ–รายจ่าย วางแผนการใช้เงินของตัวเอง ตัวอย่างที่ 7 แม่เป็นตัวอย่างในการออมเงินและปลูกฝังให้ลูกออมเงินโดยในแต่ละวันแม่จะแบ่งเงิน เพื่อเก็บออมและให้เงินลูกเพื่อเป็นค่าขนมไปโรงเรียนดังนี้ แม่แบ่งเงิน 150 บาท ไว้ เป็นเงินออมและลูกในอัตราส่วน 2 : 3 จงหาว่าแม่แบ่งเงินเพื่อเก็บออมวันละเท่าไร วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 แม่แบ่งเงินเก็บออม 2 ส่วน จากทั้งหมด 5 ส่วนซึ่งเงินทั้งหมด 5 ส่วน คิดเป็นเงิน 150 เก็บออม 2 ส่วน ลูก 3 ส่วน 5 ส่วน รวม เท่ากับ 150 บาท
  • 24. 422 ขั้นที่ 2 เงิน 5 ส่วน คิดเป็น 150 บาท ถ้าจะหาเงิน 1 ส่วน จะต้องแบ่ง 150 บาท ออกเป็น 5 ส่วนด้วย 5 ส่วน เท่ากับ 150 บาท 1 1 1 1 1 ตอบ แม่เก็บออมวันละ 60 บาท 150 5 150 5 150 5 150 5 150 5
  • 25. 423 ตัวอย่างที่ 8 ร้อยละ 60 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีทั้งหมด 420 คน ปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน จงหาว่ามีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนกี่คน วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ ตอบ มีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียน ......... คน นักเรียนทั้งหมด 420 คน ร้อยละ 60 หมายถึง ถ้านักเรียน 100 คน มีนักเรียนปลูกผัก 60 คน
  • 26. 424 ตัวอย่างที่ 9 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท แต่นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และ นาย ง 15 บาท และ 32 บาท ตามลาดับ ก่อนหน้านั้น นาย ง เป็นหนี้ นาย ค และนาย ข 3 บาท และ 7 บาทตามลาดับ ถ้ามีการชาระหนี้ทั้งหมดขึ้น ใครจะมีเงิน 18 บาท วิธีทา ข้อมูลที่โจทย์กาหนดให้ นามาหาความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ ขั้นที่ 1 ใช้จุด . แทน นาย ก , ข , ค , ง ขั้นที่ 2 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และนาย ง 15 บาท และ 32 บาท ขั้นที่ 3 นาย ง เป็นหนี้ นาย ค และนาย ข มาก่อน 3 บาท และ 7 บาท .ง .ก .ข.ค 15 732 นาย ง 3 32 7 15 7 นาย ค นาย ก นาย ข แทนการให้ยืม .ง .ก .ข.ค
  • 27. 425 เมื่อมีการชาระหนี้ทั้งหมด จะเกิดความสัมพันธ์ ดังนี้ ตรวจคำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………
  • 28. 426 ตัวอย่างที่ 10 ถ้าสามวันก่อนวันพรุ่งนี้ เป็นวันพฤหัสบดีแล้ว สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวันอะไร วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ ขั้นที่ 1 กาหนดวันพรุ่งนี้ แล้วหา 3 วันก่อนจากวันพรุ่งนี้ ขั้นที่ 2 หาวันนี้ และเมื่อวานนี้ ขั้นที่ 3 หาสี่วันต่อจากวันเมื่อวานนี้ ขั้นที่ 4 กาหนดวันทั้งหมด พฤ 3 วันก่อนพรุ่งนี้ พรุ่งนี้ พฤ 3 วันก่อนพรุ่งนี้ พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้ พฤ 3 วันก่อนพรุ่งนี้ พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้
  • 29. 427 ตรวจคำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ตอบ สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวัน ……………………………………
  • 30. 428 กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 10 การน้อมนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตอนที่ 1 การพึ่งพาตนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้ใหญ่ก้องกล้าได้ศึกษาการทาน้าหมักชีวภาพเพื่อกาจัดศัตรูพืชจากแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้น้าหมักจากเปลือกผลไม้และลงมือทาด้วยตนเองพร้อมสมาชิกในหมู่บ้านแทนการใช้สารเคมี ซึ่งมีราคาแพง ในการทาน้าหมักชีวภาพเพื่อกาจัดศัตรูพืชสูตรหนึ่งมีปริมาตร 700 ลูกบาศก์ เซนติเมตร มีข้อเสนอแนะในการผสมว่า ถ้าใช้อัตราส่วนของน้าหมักจากเปลือกผลไม้เข้มข้น ต่อน้า เป็น 1 : 4 จะทาให้ได้น้าหมักชีวภาพเพื่อกาจัดศัตรูพืชแท้ 7% จงหาว่าน้าหมักชีวภาพเพื่อ กาจัดศัตรูพืชสูตรนี้มีน้าหมักจากเปลือกผลไม้แท้กี่เปอร์เซ็นต์ วิธีคิด …………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….………………………………………………………………………………………….…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตรวจคำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….………………………………………………………………………………………….…………… สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 31. 429 ตอนที่ 2 การทาบันทึกรายรับรายจ่ายตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ครอบครัวของ ด.ช.หมาก ซึ่งมีสมาชิก 3 คน ได้การทาบัญชีรายรับรายจ่ายตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียงโดยคานึงถึงความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี โดยในเดือนที่ผ่านมา รายรับและรายจ่ายของครอบครัว มีข้อมูล ดังนี้ รายรับ ได้แก่ เงินเดือนพ่อ 35,000 บาท และเงินเดือนแม่ 25,000 บาท รายจ่าย ได้แก่ - ค่าผ่อนบ้าน 7,000 บาท - ค่าเรียนพิเศษ 3,000 บาท - ค่าอาหาร 9,000 บาท - ค่าน้าและไฟฟูา 1,000 บาท - ค่าซักผ้า 1,500 บาท - ค่าเสื้อผ้า 4,000 บาท - ค่าฟิตเนต 3,000 บาท - ค่าอุปกรณ์การเรียน 1,000 บาท - ค่ารักษาพยาบาล 1,500 บาท - ค่าผ่อนรถยนต์ 5,000 บาท - ค่าเครื่องสาอางและน้าหอมของแม่ 2,000 บาท - ค่าอุปกรณ์กีฬาของหมาก 1,000 บาท - ค่าขนมไปโรงเรียนของหมาก 1,200 บาท - ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 2,000 บาท ให้นักเรียนช่วย ด.ช.หมาก ทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย และวางแผนการใช้เงินอย่างเหมาะสม โดยใช้ความรู้เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
  • 32. 430 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบทาบัญชีรายรับรายจ่ายตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยคานึง ถึงความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เริ่มจากการสารวจว่าในแต่ละเดือน ครอบครัวของนักเรียนมีรายจ่ายอะไรบ้าง รายจ่ายใดจาเป็น รายจ่ายใดควรปรับลดลง ชื่อกลุ่ม.......................................................................... สมาชิกในกลุ่ม 1. …………………………………………………………………………………………….. 2. …………………………………………………………………………………………….. 3. …………………………………………………………………………………………….. 4. …………………………………………………………………………………………….. บันทึกรายรับรายจ่าย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….………………………………………………………………………………………….……………
  • 33. 431 วิธีคิด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………….………………………………………………………
  • 34. 432 แบบฝึกหัดที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จงแสดงวิธีคิด เขียนสมการและหาคาตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาต่อไปนี้ 1. โรงเรียนมีนักเรียนชายหญิงรวมกัน 480 คน ถ้ามีนักเรียนหญิง 55 เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนทั้งหมด จะมีนักเรียนหญิงมากกว่านักเรียนชายกี่คน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ปูาศรีสานตะกร้าจากหวายและติดราคาไว้ 100 บาท โดยเอากาไร 25% เมื่อขายขายจริง ผู้ซื้อขอลดราคาเป็น 90 บาท ถ้าปูาศรีขาย 90 บาท จะได้กาไรหรือขาดทุนกี่บาท ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..………………