SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้โดยเน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์
บูรณาการอาเซียนศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
311
กาหนดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เนื้อหา
จานวน
คาบ
แผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้
แนวคิดที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้
วันที่สอน
1. แบบรูปและ
ความสัมพันธ์
2. คาตอบของ
สมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
3. การแก้สมการ
เชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
4. โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับ
สมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว
3
1
6
5
แผนที่ 1 (1 ชั่วโมง)
แผนที่ 2 (2 ชั่วโมง)
แผนที่ 3 (1 ชั่วโมง)
แผนที่ 4 (2 ชั่วโมง)
แผนที่ 5 (2 ชั่วโมง)
แผนที่ 6 (1 ชั่วโมง)
แผนที่ 7 (1 ชั่วโมง)
แผนที่ 8
(1 ชั่วโมง)
แผนที่ 9 (2 ชั่วโมง)
แผนที่ 10
(2 ชั่วโมง)
กระบวนการสืบสอบ
การเรียนแบบร่วมมือ
(เทคนิค TGT)
การคิดแบบฮิวริสติกส์
การคิดแบบฮิวริสติกส์
แผนบูรณาการภายในกลุ่มสาระ
กระบวนการสืบสอบ
การคิดแบบฮิวริสติกส์
การเรียนแบบร่วมมือ
(เทคนิค Jigsaw II)
การคิดแบบฮิวริสติกส์
บูรณาการอาเซียนศึกษา
การคิดแบบฮิวริสติกส์
การคิดแบบฮิวริสติกส์
บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
3 พ.ย. 57
7 พ.ย. 57
10 พ.ย. 57
13 พ.ย. 57 และ
14 พ.ย. 57
17 พ.ย. 57
21 พ.ย. 57
24 พ.ย. 57
28 พ.ย. 57
1 ธ.ค. 57 และ
2 ธ.ค. 57
8 ธ.ค. 57 และ
9 ธ.ค. 57
รวม
15
ชั่วโมง
10 แผน 3 แนวคิด 13 วัน
312
ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ผู้สอน นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์ จานวน 1 ชั่วโมง สอนวันที่ 28 พ.ย. 57
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลอง
ทางคณิตศาสตร์อื่นๆ แทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้
ตัวชี้วัด
ม 1/2 แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้
ม 1/3 เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์ หรือปัญหาและแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ
สาระสาคัญ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
มีปัญหาในชีวิตประจาวันมากมายที่สามารถใช้สมการช่วยในการแก้ปัญหา โดยเริ่มจากการ
เขียนความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการหาให้อยู่ในรูปของสมการ แล้วจึงแก้สมการหาคาตอบของสิ่งที่
ต้องการ สรุปขั้นตอนในการแก้โจทย์ปัญหาสมการได้ ดังนี้
1. วิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่าโจทย์กาหนดอะไรมาให้ และโจทย์ต้องการให้หาอะไร
2. กาหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ต้องการหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่โจทย์ต้องการ
3. เขียนสมการตามเงื่อนไขในโจทย์
4. แก้สมการเพื่อหาคาตอบที่โจทย์ต้องการ
5. ตรวจสอบคาตอบที่ได้กับเงื่อนไขในโจทย์
ดังนั้น เราจึงควรรู้จักเขียนสมการเพื่อหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ
1. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์ หรือปัญหาอย่างง่ายได้
2. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากโจทย์ปัญหาสมการที่กาหนดให้ได้
3. หาคาตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาสมการได้
4. นักเรียนให้ใช้ความรู้เรื่องสมการในการแปลงเงินจากสกุลหนึ่งไปอีกสกุลหนึ่งในกลุ่ม
ประเทศอาเซียนได้
313
ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนมี
1. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2. ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ใฝ่หาความรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
4. รักความเป็นไทย
สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน ข้อที่
1. ความสามารถในการสื่อสาร
1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง
โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ
1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆได้
1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง
2. ความสามารถในการคิด
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้
2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้
3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงในสังคม
3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย
314
สาระการเรียนรู้
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian
Nations : ASEAN) หรือประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน
10 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
กัมพูชา และบรูไน เพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่าง
ประเทศ รวมถึงให้อาเซียนมีความแข็งแกร่ง มีภูมิต้านทานที่ดีในการรับมือกับปัญหาใหม่ ๆ ระดับโลก
ประชาคมอาเซียนเปรียบกับการเป็นครอบครัวเดียวกันของประเทศ สมาชิกอาเซียน
ถือกาเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 พร้อมกับมีการร่วมลงนามในปฏิญญาให้
เป็นประชาคมเดียวกันให้สาเร็จภายใน พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) พร้อมกับมีการแบ่งประชาคมย่อย
ออกเป็น 3 ประชาคม หรือ 3 เสาหลัก ได้แก่
1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security
Community–APSC)
2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community–AEC)
3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Asean Socio-Cultural Community–
ASCC)
ความเป็นมาของประชาคมอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เกิดขึ้นมาจากการพัฒนาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) เนื่องจากสมาชิกอาเซียนเห็นว่า ปัจจุบันอาเซียนมีจานวนประเทศ
10 ประเทศ ประชากรเกือบ 500 ล้านคน ดังนั้นถือว่าเป็นเศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ่
จึงควรร่วมมือกันเพื่อทาให้อาเซียนมีความเข้มแข็งในด้านต่างๆ มากขึ้น
315
เป้าหมายสาคัญของประชาคมอาเซียน มี 4 ด้าน คือ
1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and Production Base)
2. สร้างขีดความสามามารถทางเศรษฐกิจ (High Competitive Economic Region)
3. สร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Equitable Economic
Development)
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (Fully Integrated into Global Economy)
ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า จาการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่ภาษีจะเปิด
โอกาสให้สินค้า เคลื่อนย้ายเสรี
2. คาดว่าการส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า 20% ต่อปี
3. เปิดโอกาสการค้าบริการในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรมและ
ร้านอาหาร สุขภาพ ทาให้ไทยมีรายได้จากการค้าบริการไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น
4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรียิ่งขึ้น อุปสรรคการลงทุน
ระหว่างอาเซียน จะลดลง อาเซียนจะเป็นเขตการลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียมจีนและอินเดีย
5. เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย เมื่อมีการใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน/
เป็นพันธมิตรทางธุรกิจร่วมกับอาเซียนอื่น ทาให้เกิดความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (Comparative
Advantage) และลดต้นทุนการผลิต
6. เพิ่มอานาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก สร้างความเชื่อมั่นให้ประชาคมโลก
7. ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ ผลการศึกษา แสดงว่า AEC จะทาให้
รายได้ที่แท้จริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 หรือคิดเป็นมูลค่า 69 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
จากข้อมูลของประชาคมอาเซียนสามารถนาความรู้เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวมา
วิเคราะห์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จากการคาดการณ์ว่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า
20% ต่อปี หากปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีการส่งออก 80,000 ล้านบาท
ในปี พ.ศ. 2557 มูลค่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนควรจะมีการขยายตัวไม่ต่ากว่า
เท่าไร
วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว x บาท
จะได้ x คิดเป็น 20 % ของ 80,000 ล้านบาท
จะได้สมการ 000,80×
100
20
=x
000,16=x
ตรวจคำตอบ แทนค่า 000,16x  ในสมการ 000,80×
100
20
=x
จะได้ 16,000 = 16,000 เป็นจริง
ตอบ 16,000 ล้านบาท
316
ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าการส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถ
ขยายตัวได้จริง 18,000 ล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวกี่เปอร์เซนต์
วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว x %
จะได้ 18,000 คิดเป็น x % ของ 80,000 ล้านบาท
จะได้สมการ คือ 000,80
100
x
000,18 
800x000,18 
นา
800
1
คูณทั้งสองข้างของสมการ
800
1
800x
800
1
000,18 
x5.22 
5.22x 
ตรวจคำตอบ แทนค่า 5.22x  ในสมการ 000,80
100
x
000,18 
จะได้ 000,80
100
5.22
000,18 
18,000 = 18,000 เป็นจริง
ตอบ การส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถขยายตัวได้ 22.5 %
ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลในปี พ.ศ. 2557 พบว่า 5 เท่าของปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไป
สิงคโปร์ มากกว่า 3 แสนล้านบาท อยู่ 7 แสนล้านบาท
วิธีทา ให้ x แทนปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์
จะได้สมการคือ 5x – 3 = 7
นา 3 บวกทั้งสองข้างของสมการ
5x – 3 + 3 = 7 + 3
5x = 10
นา
5
1
คูณทั้งสองข้างของสมการ
5
1
 5x =
5
1
10
x = 2
317
ตรวจคำตอบ แทนค่า x = 2 ในสมการ 5x – 3 = 7
5(2) – 3 = 7
7 = 7 สมการเป็นจริง
ตอบ ปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์ คือ 2 แสนล้านบาท
ตัวอย่างที่ 4 มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายจานวนหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2557 ขายให้บรูไนได้ครึ่งหนึ่งของ
ที่ซื้อมา ปี พ.ศ. 2558 ขายให้กัมพูชาได้อีก
5
3
ของจานวนแร่โลหะที่เหลือจากปี
พ.ศ. 2557 ถ้าปี พ.ศ. 2557 ขายแร่โลหะได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ
ให้หาว่ามาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายทั้งหมดกี่ล้านเหรียญสหรัฐ
วิธีทา สมมติมาเลเซียซื้อแร่โลหะมาทั้งหมด x ล้านเหรียญสหรัฐ
พ.ศ. 2557 ขายได้
2
x
ล้านเหรียญสหรัฐ
พ.ศ. 2558 ขายได้
5
3
ของที่เหลือ
10
x3
=
2
x
×
5
3
ล้านเหรียญสหรัฐ
เนื่องจากพ.ศ. 2558 ได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ
จะได้ 111
10
x3

370
3
110,1
x
110,1
10111x3




ตรวจคำตอบ แทนค่า x = 370 ในสมการ 111
10
x3

111
10
)370(3

111 = 111 สมการเป็นจริง
ตอบ มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขาย 370 ล้านเหรียญสหรัฐ
318
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
ครูถามตอบและสนทนาร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับอาเซียนในประเด็นดังต่อไปนี้
- สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East
Asian Nations : ASEAN) หรือประชาคมอาเซียน คืออะไร
- ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยสมาชิกกี่ประเทศ อะไรบ้าง
- ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC คืออะไร มีเป้าหมายเพื่ออะไร
- ประเทศไทยจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมประชาคมอาเซียนอย่างไร
ขั้นสอน (การคิดแบบฮิวริสติกส์)
1. ขั้นสร้างความสัมพันธ์ (Relate)
1.1 ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างที่ 1 และ 2 จากเอกสารแนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดา
ประกอบ การถามตอบ และอภิปรายร่วมกับนักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้
- โจทย์ให้ข้อมูลอะไรบ้าง และข้อมูลมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
- จะเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงมูลค่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนควรจะมีการขยายตัว
ไม่ต่ากว่าเท่าไรได้อย่างไร
- จะเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงเปอร์เซนต์ของขยายตัวการส่งออกของไทยไปอาเซียนได้
อย่างไร
พร้อมทั้งสุ่มนักเรียนบางคนออกมาแสดงแนวคิดในประเด็นที่กาหนดหน้ากระดาน แล้วให้
นักเรียนคนอื่นร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดของเพื่อน
1.2 ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างที่ 3 และตัวอย่างที่ 4 จากเอกสารแนะแนวทางที่ 8
บนกระดานดาประกอบการถามตอบ และอภิปรายร่วมกับนักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้
- โจทย์กาหนดอะไรบ้าง
- โจทย์ให้หาอะไร
- จะมีวิธีการใดในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหานี้
- หากต้องการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาดังกล่าวจะทาได้ง่ายขึ้นโดยเขียนเป็นสมการ
แล้วหาคาตอบของสมการนั้น สมการของโจทย์ปัญหานี้เขียนได้อย่างไร
- มีวิธีการใดบ้างที่จะทาให้สร้างสมการของโจทย์ปัญหานี้ได้ง่ายขึ้น
- ข้อมูลที่โจทย์ให้มาสามารถเขียนโยงความสัมพันธ์ได้อย่างไรบ้าง
1.3 ครูและนักเรียนร่วมกันแก้สมการโจทย์ตัวอย่างที่ 3 และตัวอย่างที่ 4
จากเอกสาร แนะแนวทางที่ 8 บนกระดานอย่างเป็นขั้นตอน โดยร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
319
2. ขั้นสารวจตรวจค้น (Investigate)
2.1 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มย่อยกลุ่มละ 4-5 คน โดยในแต่ละกลุ่มมีนักเรียนคละ
ความสามารถทั้งเก่ง กลาง และอ่อน แล้วร่วมกันศึกษาตัวอย่าง และทากิจกรรมเกมที่ 3 สมการใบ้คา
คะแนนเป็นทีมทั้งคะแนนจากการตอบคาถามในใบกิจกรรม และคะแนนการมีส่วนร่วมในการทางานกลุ่ม
2.2 ครูกระตุ้นและแนะนาให้นักเรียนคิดอย่างอิสระโดยใช้หลายๆวิธีใน การเชื่อมโยง
ข้อมูลที่โจทย์ให้ แล้วสรุปเป็นวิธีของกลุ่มตามที่แต่ละคนสนใจ หรือตามความถนัด
3. ขั้นประเมินและติดต่อสื่อสาร (Evaluate and Communicate)
3.1 ครูแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนตรวจสอบคาตอบ และประเมินความถูกต้องของ
แนวคิด ขั้นตอนวิธีการ คิดรวมทั้งพิจารณาความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ โดยเน้นย้าให้นักเรียน
สารวจหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่กาหนดให้ แล้วจัดข้อมูลและการคิดให้เป็นระบบ โดยใช้
คาถามต่าง ๆ เช่น
- การโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่โจทย์กาหนดถูกต้อง เป็นระบบ และครบถ้วน
หรือไม่
- การเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์ในรูปของสมการถูกต้องหรือไม่
3.2 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองเพื่อประเมินคาตอบในการทากิจกรรมของกลุ่มตนเอง
โดยกาหนดเวลาประมาณ 5-10 นาที
3.3 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอแนวคิดหน้าห้อง
3.4 ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาตอบ และวิธีการคิดจากปัญหาในกิจกรรมสารวจ
ตรวจค้นที่ 7 การแปลงเงินในสกุลอาเซียน โดยใช้การเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนอาสาออกมาแสดงวิธีคิด
ของตน และให้เพื่อนคนอื่นร่วมวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์วิธีคิดของตน
ทั้งนี้ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาอภิปรายตามความเหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้
นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดกับผลงานของเพื่อน โดยไม่ต้องกังวลเรื่องความถูกผิดของความคิด
3.5 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าวิธีคิด หรือแนวคิดที่ร่วมกันนาเสนอนั้นวิธีใด
เหมือนกัน คล้ายกัน และแตกต่างกันในประเด็นใดบ้าง แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อจากัด และมีความเหมาะสม
กันสถานการณ์ใดบ้าง
3.6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนเสนอแนะแนวคิดที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามความเหมาะสม หรือ
ซักถามประเด็นที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิดต่อเนื่องจากปัญหาที่พบในกิจกรรม
ตามความเหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดกับผลงานของเพื่อน
4. ขั้นความคิดสร้างสรรค์ (Create)
4.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มย่อยร่วมกันทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 8 แปลงเงินในสกุล
เงินอาเซียน โดยครูแนะนาให้นักเรียนใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การคิดย้อนกลับจากคาตอบไปยังโจทย์ปัญหา
โดยกาหนดเวลาในการคิดระดมสมองกันภายในกลุ่ม 10 นาที โดยครูแจ้งว่าถ้ากลุ่มใดคิดเสร็จก่อน
เวลาให้ส่งตัวแทนกลุ่มมารับกระดาษขาวเทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นป้ายนาเสนอผลงาน
4.2 เมื่อครบกาหนดเวลา ครูแจกกระดาษขาวเทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นป้าย
นาเสนอผลงานให้กลุ่มที่เหลือ
320
4.3 ครูให้นักเรียนอาสามาแสดงผลงานหน้าห้องโดยให้แสดงผลงานของกลุ่ม แล้วให้
นักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันหาคาตอบ หรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่น่าสนใจ จากนั้นนักเรียนกลุ่ม
เจ้าของผลงานเฉลยคาตอบ และแนวคิด
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปการเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์ในรูป
ของสมการ
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแนวคิด และขั้นตอนการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว พร้อมทั้งการตรวจสอบความถูกต้องและความสมเหตุสมผล
ของคาตอบ
3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 8 เป็นการบ้าน ซึ่งครูแจกให้นักเรียนหรือนักเรียน
สามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์
www.pookpikschool.com
สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อยโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
- เอกสารกิจกรรมเกมที่ 3 สมการใบ้คา
- เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 7 การแปลงเงินในสกุลอาเซียน
- เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
- เว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์
www.pookpikschool.com
การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัดและประเมินผล
1.1 ประเมินพฤติกรรมการเรียน
1.2 ตรวจความถูกต้องจากทาเอกสาร ดังนี้
- เอกสารกิจกรรมเกมที่ 3
- เอกสารแนะแนวทางที่ 8
- เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 7
- เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8
321
1.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
- รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
- ใฝ่หาความรู้
- มุ่งมั่นในการทางาน
- รักความเป็นไทย
1.4 สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
- ด้านความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
2. เครื่องมือ
2.1 แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน
2.2 เอกสารประกอบนวัตกรรม ดังนี้
- เอกสารกิจกรรมเกมที่ 3
- เอกสารแนะแนวทางที่ 8
- เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 7
- เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8
2.3 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
- ใฝ่หาความรู้
- มุ่งมั่นในการทางาน
- รักความเป็นไทย
2.4 แบบประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
- ด้านความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเรียน
ได้คะแนนร้อยละ 90-100 ระดับ 4 ถือว่า ดีมาก
ได้คะแนนร้อยละ 80-89 ระดับ 3 ถือว่า ดี
ได้คะแนนร้อยละ 70-79 ระดับ 2 ถือว่า พอใช้
ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 70 ระดับ 1 ถือว่า ต้องปรับปรุง
322
3.2 การประเมินความถูกต้องของทาเอกสารประกอบนวัตกรรม
ได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ระดับ 4 ถือว่า ดีมาก
ได้คะแนนร้อยละ 70-79 ระดับ 3 ถือว่า ดี
ได้คะแนนร้อยละ 60-69 ระดับ 2 ถือว่า พอใช้
ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 60 ระดับ 1 ถือว่า ต้องปรับปรุง
3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน
3.4 สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ
ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
เกณฑ์การสรุปผล
ดีมาก 13 - 15 คะแนน
ดี 09 - 12 คะแนน
พอใช้ 01 - 80 คะแนน
ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
การมอบหมายงาน
- ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 8 เป็นการบ้าน
แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุด
- ห้องอาเซียนศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
- ห้องจัดนิทรรศการและผลงานนักเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
หรือของโรงเรียน เป็นต้น
- เว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์
www.pookpikschool.com และเว็บไซต์อื่น ๆ
323
ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ
- ครูควรยกตัวอย่างประกอบตามความเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน และ
พฤติกรรมการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนอ่อนอาจยกตัวอย่างและพูดแนะนามากกว่า
นักเรียนที่เก่ง และสาหรับนักเรียนแดนครูควรกระตุ้น ท้าทายให้นักเรียนคิดหาคาตอบ
หลาย ๆ วิธี
- ในการทากิจกรรมในแต่ละขั้นครูควรสังเกตนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อคอยให้คาปรึกษา
และชี้แนะในกรอบที่เหมาะสม ทั้งเพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนได้
อย่างเต็มศักยภาพ และเป็นข้อมูลในการวัดประเมิน
- ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ ในระหว่างที่ครูจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละขั้นอย่างกว้างขวาง
- หากครูพบว่ามีข้อบกพร่องในกิจกรรมบางขั้น ควรปรับปรุงให้ดีขึ้นในครั้งต่อไปโดยยึด
หลักผู้เรียนเป็นสาคัญ
324
325
บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ปริมาณงานและคุณภาพผลงานของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยเน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์มีพัฒนาการในทิศทางที่ดีขึ้นเป็นลาดับ มีคุณภาพมากขึ้น การเขียน
อธิบายกระชับ เข้าใจง่ายมากยิ่งขึ้น การอธิบายวิธีคิดเป็นลาดับและขั้นตอนที่ชัดเจนมากขึ้น
นักเรียนสามารถใช้การเขียนโยงความคิดหลากหลายแนวทาง และลักษณะคาตอบมีความหลากหลาย
มากยิ่งขึ้นด้วยเช่นกัน
นักเรียนเกือบทั้งห้องคือประมาณ 90% กระตือรือร้นในการทากิจกรรมทั้งกิจกรรมรายบุคคล
กิจกรรมกลุ่มย่อย ตลอดกิจกรรมอภิปรายรวมกันทั้งเรียน นักเรียนเริ่มขอเสนอให้ครูสั่งงานในรูปแบบ
ที่ตนเองสนใจ เช่น นักเรียนขอแสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับสมการ ขอให้ครูจัดเกมสมการที่ออกไปใช้
สถานที่นอกห้องเรียน ขอแต่งเพลงสมการประกอบท่าเต้น เป็นต้น
ลงชื่อ............................................................................
(นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์)
ผู้สอน
326
ภาคผนวกของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8
ประกอบด้วย
1. เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
2. เอกสารกิจกรรมเกมที่ 3 สมการใบ้คา
3. เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 7 การแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน
4. เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
5. แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน
6. แบบบันทึกการตรวจเอกสารประกอบนวัตกรรม
7. แบบสรุปประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
8. แบบสรุปการประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
327
เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวอย่างที่ 1 จากการคาดการณ์ว่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า
20% ต่อปี หากปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีการส่งออก 80,000 ล้านบาท
ในปี พ.ศ. 2557 มูลค่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนควรจะมีการขยายตัวไม่ต่ากว่า
เท่าไร
วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว x บาท
จะได้ x คิดเป็น 20 % ของ 80,000 ล้านบาท
จะได้สมการ ........................................................
........................................................
ตรวจคำตอบ แทนค่า ............. ในสมการ ........................................................
จะได้ ........................................................
ตอบ ........................................................ ล้านบาท
ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าการส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถขยายตัว
ได้จริง 18,000 ล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวกี่เปอร์เซนต์
วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว ............... %
จะได้ ...........................................................................
จะได้สมการ คือ ...........................................................................
...........................................................................
นา ............................................. ทั้งสองข้างของสมการ
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
328
ตรวจคำตอบ แทนค่า ...................... ในสมการ ........................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
ตอบ การส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถขยายตัวได้ ……………………………
ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลในปี พ.ศ. 2557 พบว่า 5 เท่าของปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไป
สิงคโปร์ มากกว่า 3 แสนล้านบาท อยู่ 7 แสนล้านบาท
วิธีทา ให้ ................ แทนปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์
จะได้สมการคือ ............................................................................
นา ................................ ทั้งสองข้างของสมการ
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
ตรวจคำตอบ แทนค่า x = 2 ในสมการ 5x – 3 = 7
5(2) – 3 = 7
7 = 7 สมการเป็นจริง
ตอบ ปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์ คือ ………………………….. %
329
ตัวอย่างที่ 4 มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายจานวนหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2557 ขายให้บรูไนได้ครึ่งหนึ่งของ
ที่ซื้อมา ปี พ.ศ. 2558 ขายให้กัมพูชาได้อีก
5
3
ของจานวนแร่โลหะที่เหลือจากปี
พ.ศ. 2557 ถ้าปี พ.ศ. 2557 ขายแร่โลหะได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ ให้หาว่า
มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายทั้งหมดกี่ล้านเหรียญสหรัฐ
วิธีทา สมมติมาเลเซียซื้อแร่โลหะมาทั้งหมด .......... ล้านเหรียญสหรัฐ
พ.ศ. 2557 ขายได้ .......... ล้านเหรียญสหรัฐ
พ.ศ. 2558 ขายได้
5
3
ของที่เหลือ .............................. ล้านเหรียญสหรัฐ
เนื่องจากพ.ศ. 2558 ได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ
จะได้ ...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
ตรวจคำตอบ แทนค่า ....................... ในสมการ ...........................................................
...........................................................................
...........................................................................
ตอบ มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขาย ........................................... ล้านเหรียญสหรัฐ
330
กิจกรรมเกมที่ 3
สมการใบ้คา
ชื่อกลุ่ม............................................
ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่..........
ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่..........
ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่..........
ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่..........
พระอะไร ?? มีหนวด
คำชี้แจง : จงหาคาตอบของสมการข้อต่อไปนี้ แล้วนาพยัญชนะหรือสระท้ายที่อยู่ท้ายคาตอบ
ที่ได้มาเรียงกันตามลาดับตั้งแต่ข้อ 1-10 จะพบกับคาตอบของปริศนา พระอะไร??มีหนวด
1. สองเท่าของจานวนหนึ่งบวกกับ 10 มีค่าเท่ากับ 22 a. 13 ( ะ )
2. 16=6+x5 b. -30 ( ะ)
3. 20=x+10- c. 15 ( จ )
4. 12=2-
3
x2
d. -5 ( ต )
5. 6+x5=8+x7 e. -25 ( โ )
6. ผลรวมของเลขคู่สองจานวนเรียงกันมีค่าเป็น 10 จงหาจานวนน้อย f. 6 (พ )
7. 32=25+x5.0 g. -1 ( ะ )
8. ( )5-x3=x2 h. 14 ( เ )
9. พ่อมีอายุเป็น 6 เท่าของลูก ถ้าปีหน้าพ่อจะมีอายุครบ 31 ปี i. 5 (๗
)
ปัจจุบันลูกอายุกี่ปี j. 2 ( ร )
10. ( )4-x2=5+x k. -14 ( อ )
l. 21 ( น )
m. -2 ( า )
n. 4 ( เ )
ตอบ พระมีหนวด คือ .....................................................
331
กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 7
การแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน
คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลสกุลเงินของประเทศในกลุ่มอาเซียน ใช้เวลา 5-10 นาที
จากนั้นครูจะชูป้ายสมมติสถานการณ์ ถามนักเรียนให้ใช้ความรู้เรื่องสมการในการแปลงเงิน
จากสกุลหนึ่งไปอีกสกุลหนึ่ง เช่น
สถานการณ์ที่ 1 ยายมะลิขายตะกร้าหวายในราคา 1,500 บาท ให้นายงวนชาวพม่า
นายงวนต้องจ่ายเงินเท่าไรในหน่วยสกุลเงินของประเทศตนเอง
สถานการณ์ที่ 2 หม่องคะยองเช่าบัสปรับอากาศในราคา 60,000 จ๊าด เดินทางไป
ประเทศลาว และต้องจ่ายเงินที่ปลายทางเป็น 2 เท่าของค่ารถต้นทาง หม่องคะยองจะต้องจ่ายเงิน
เท่าไร
ข้อมูลข่าวสาร
สกุลเงินอาเซียน และสกุลเงินสมาชิกอาเซียน
1. บรูไน ดารุสซาลาม
ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์บรูไน
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์บรูไน = 25.10 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ดอลล่าร์บรูไน, 5 ดอลล่าร์บรูไน, 10 ดอลล่าร์บรูไน, 20 ดอลล่าร์บรูไน,
25 ดอลล่าร์บรูไน, 50 ดอลล่าร์บรูไน, 100 ดอลล่าร์บรูไน, 500 ดอลล่าร์บรูไน, 1,000 ดอลล่าร์บรูไน
และ 10,000 ดอลล่าร์บรูไน
332
2. ราชอาณาจักรกัมพูชา
ใช้สกุลเงิน เรียล
อัตราแลกเปลี่ยน 150 เรียล = 1 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 50 เรียล, 100 เรียล, 500 เรียล, 1,000 เรียล, 2,000 เรียล, 5,000 เรียล,
10,000 เรียล, 20,000 เรียล, 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล
3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ใช้สกุลเงิน รูเปียห์
อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ = 3.95 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1,000 รูเปียห์, 2,000 รูเปียห์, 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์,
20,000 รูเปียห์, 50,000 รูเปียห์ และ 100,000 รูเปียห์
333
4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ใช้สกุลเงิน กีบ
อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ = 4.05 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 500 กีบ, 1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ
และ 50,000 กีบ
5. มาเลเซีย
ใช้สกุลเงิน ริงกิต
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิตมาเลเซีย = 10.40 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ริงกิต, 5 ริงกิต, 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต
334
6. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
ใช้สกุลเงิน จ๊าด
อัตราแลกเปลี่ยน 1 จ๊าด = 5 บาทไทย
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 10 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด
1,000 จ๊าด, 5,000 จ๊าด และ 10,000 จ๊าด
7. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ใช้สกุลเงิน เปโซ
อัตราแลกเปลี่ยน 1.40 เปโซ = 0.78 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 เปโซ, 50 เปโซ, 100 เปโซ, 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ
335
8. สาธารณรัฐสิงคโปร์
ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์สิงค์โปร์
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์สิงคโปร์ = 24.40 บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 2 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 5 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 10 ดอลล่าร์สิงค์โปร์,
50 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 100 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 1,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ และ 10,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์
9. ราชอาณาจักรไทย
ใช้สกุลเงิน บาท
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 บาท, 50 บาท, 100 บาท, 500 บาท และ 1,000 บาท
336
10. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ใช้สกุลเงิน ด่ง
อัตราแลกเปลี่ยน 900 ด่ง = 1.64 บาทไทย
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 100 ด่ง, 200 ด่ง, 500 ด่ง, 1,000 ด่ง, 2,000 ด่ง, 5,000 ด่ง, 10,000 ด่ง,
20,000 ด่ง, 50,000 ด่ง, 100,000 ด่ง, 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง
หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2557 โดยอัตราแลกเปลี่ยนข้างต้นเป็น
ประมาณการซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน
337
แบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จงแสดงวิธีคิด เขียนสมการและหาคาตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาต่อไปนี้
1. สารละลายชนิดหนึ่งจานวน 18 ลิตร มีแอลกอฮอล์ 55% ส่วนที่เหลือเป็นน้า ถ้าต้องการให้
สารละลายนี้มีแอลกอฮอล์ 15% จะต้องเติมน้าลงไปกี่ลิตร
วิธีคิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………..………………………
ตรวจคำตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
338
2. ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษมีสองฉบับ ฉบับที่หนึ่งมี 40 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน ฉบับที่สองมี 30 ข้อ
ข้อละ 1 คะแนน พีระทาข้อสอบฉบับที่หนึ่งได้คะแนน 75% จะต้องทาฉบับที่สองถูกกี่ข้อ
จึงจะได้คะแนนรวมสองฉบับเป็น 80%
วิธีคิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
ตรวจคำตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
339
3. การสอบวิชาฟิสิกส์อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคต่อปลายภาคเป็น 60 : 40 สันติทาคะแนน
ระหว่างภาคได้ 85% สันติจะต้องสอบปลายภาคให้ได้กี่คะแนนจึงจะได้คะแนนรวมเป็น 83 คะแนน
วิธีคิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
ตรวจคำตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
340
4. สูตรทาขนมชั้นชนิดหนึ่งต้องใช้แป้ง 2 กิโลกรัม ผสมกับน้าตาล 4 ถ้วยตวง ถ้าต้องให้ส่วนผสม
ของน้าตาลเป็น 6 ถ้วยตวง ต้องใช้แป้งปริมาณเท่าใดรสชาติจึงจะคงเดิม
วิธีคิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
ตรวจคำตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
341
แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน
ประเมินครั้งที่ 8 วันที่ 28 เดือน. พฤศจิกายน. พ.ศ. 2557
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการทากิจกรรม และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ
พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
ที่ ชื่อ-สกุล
ความกระตือรือร้นและตั้งใจในการเรียน
ความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา
ทางานอย่างเป็นระบบและมีระเบียบ
รวม
สรุปผล
การประเมิน
4 4 4 12 ผ่าน
ไม่
ผ่าน
1 เด็กชาย กิตติศักดิ์ บุญเฮง 4 4 4 12 
2 เด็กชาย กันทรากร คาซุย 4 4 3 11 
3 เด็กชาย คณิศร ธนบวรตระกูล 4 4 4 12 
4 เด็กชาย เจตดิลก ประดิษฐุ์ค่าย 4 3 4 11 
5 เด็กชาย เจษฎาภรณ์ คุ้มญาติ 3 4 3 10 
6 เด็กชาย ฐิติพงศ์ สัตยาพันธุ์ 4 4 4 12 
7 เด็กชาย ฐิติวุฒน์ นาคกัน 4 4 3 11 
8 เด็กชาย ณัฐวุฒิ ชูเชิด 4 4 4 12 
9 เด็กชาย ดรัณภพ พัดสายทอง 4 3 4 11 
10 เด็กชาย ธนทัต เขตสมุทร 3 4 3 10 
11 เด็กชาย ธนภูมิ เงินศรีสิทธิ์ 4 4 4 12 
12 เด็กชาย ธนาวุฒิ สุทธิสารฐานิช 4 4 3 11 
13 เด็กชาย ธีรภัทร ฆ้องรัน 4 4 4 12 
14 เด็กชาย นครินทร์ พวงชาติ 4 4 4 12 
15 เด็กชาย นฤสรณ์ นภาโชติ 4 4 3 11 
16 เด็กชาย ประกาศิต สมเพชร 4 4 4 12 
17 เด็กชาย ปิยังกูร ฟุ้งมาก 4 3 4 11 
18 เด็กชาย พงศภัท ภูต้อม 3 4 3 10 
342
ที่ ชื่อ-สกุล
ความกระตือรือร้นและตั้งใจในการเรียน
ความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา
ทางานอย่างเป็นระบบและมีระเบียบ
รวม
สรุปผล
การประเมิน
4 4 4 12 ผ่าน
ไม่
ผ่าน
19 เด็กชาย พีระพล แม้ประเสริฐ 4 4 4 12 
20 เด็กชาย ไพรวรรณ พุฒพงษ์ 3 4 3 10 
21 เด็กชาย ยุทธชัย เมฑมล 4 4 4 12 
22 เด็กชาย วราธร บุญตุ้ม 4 3 4 11 
23 เด็กชาย ศักดินนท์ กอเซ็ม 3 4 3 10 
24 เด็กชาย สมหวัง นามทัศน์ 4 4 4 12 
25 เด็กชาย สิทธิกร ศิริมงคล 4 4 3 11 
26 เด็กชาย อภิวัฒน์ มณีโชติ 4 4 4 12 
27 เด็กหญิง ฐิติรัตน์ ล้าศรี 4 3 4 11 
28 เด็กหญิง วรัฐยา ทองสร้อย 3 4 3 10 
29 เด็กหญิง ศิริลักษณ์ พงษ์สุข 3 4 2 9 
30 เด็กหญิง อนุสรา โนนพรมราช 4 4 3 11 
31 เด็กหญิง อภัชชา ธิน้อมธรรม 4 4 4 12 
หมายเหตุ ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินต้องได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป คือ ตั้งแต่ 8 คะแนนขึ้นไป
(ลงชื่อ) ............................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์)
343
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินพฤติกรรม (Rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ประเด็นการประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
4 3 2 1
1. พฤติกรรมการเรียน
1.1 ความตั้งใจและ
กระตือรือร้น
ในการเรียน
1. ตั้งใจเรียน
กระตือรือร้น
ในการเรียน
ดีมาก
2. สนใจซักถาม
ปัญหาข้อสงสัย
อยู่เสมอ
1. ตั้งใจเรียน
กระตือรือร้น
ในการเรียนดี
2. สนใจซักถาม
ปัญหาข้อสงสัย
เป็นส่วนใหญ่
1. ตั้งใจเรียน
กระตือรือร้น
ในการเรียน
พอใช้
2. สนใจซักถาม
ปัญหาข้อสงสัย
บ้าง
1. ตั้งใจเรียน
แต่ขาดความ
กระตือรือร้น
ในการเรียน
2. ไม่สนใจ
ซักถามปัญหา
ข้อสงสัยเลย
1.2 ความรับผิดชอบ
และตรงต่อเวลา
1. ทางานที่
ได้รับมอบหมาย
ดีมาก
2. เข้าเรียนตรง
เวลา และส่งงาน
ทันเวลาทุกชิ้น
1. ทางานที่
ได้รับมอบหมาย
ดี
2. เข้าเรียนตรง
เวลา และ
ส่งงานทันเวลา
บางชิ้น
1. ทางานที่
ได้รับมอบหมาย
เป็นส่วนใหญ่
2. เข้าเรียนสาย
ส่งงานทันเวลา
บางชิ้น
1. ไม่ค่อย
รับผิดชอบงานที่
ได้รับมอบหมาย
2. เข้าเรียน
สาย และส่ง
งานไม่ตรงเวลา
1.3 ทางานอย่างเป็น
ระบบและมีระเบียบ
ทางานทุกชิ้น
โดยมีการ
วางแผนแล้ว
ปฏิบัติตามอย่าง
เป็นระบบ และ
ทางานเป็น
ระเบียบ
เรียบร้อย
มีวางแผนในการ
ทางานบางชิ้น
แล้วปฏิบัติตาม
และทางานเป็น
ระเบียบ
เรียบร้อย
บางส่วน
ทางานโดย
วางแผนบ้าง
เล็กน้อย และ
ทางานไม่
เรียบร้อย
เท่าที่ควร
ทางานโดยไม่มี
การวางแผน
และทางานไม่
เรียบร้อย
344
แบบบันทึกการตรวจเอกสารประกอบนวัตกรรม
ประเมินครั้งที่ 8 วันที่ 28 เดือน. พฤศจิกายน. พ.ศ. 2557
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการทากิจกรรม และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ
พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
ที่ ชื่อ-สกุล เอกสารกิจกรรมเกม3
เอกสารแนะแนวทางที่8
กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่7
เอกสารแบบฝึกหัดที่8
รวม
สรุปผล
การ
ประเมิน
10 10 10 10 40 ผ่าน
ไม่
ผ่าน
1 เด็กชาย กิตติศักดิ์ บุญเฮง 10 9 10 9 38 
2 เด็กชาย กันทรากร คาซุย 10 8 9 10 37 
3 เด็กชาย คณิศร ธนบวรตระกูล 9 10 9 9 37 
4 เด็กชาย เจตดิลก ประดิษฐุ์ค่าย 9 9 9 9 36 
5 เด็กชาย เจษฎาภรณ์ คุ้มญาติ 10 9 10 9 38 
6 เด็กชาย ฐิติพงศ์ สัตยาพันธุ์ 10 8 9 10 37 
7 เด็กชาย ฐิติวุฒน์ นาคกัน 9 10 9 9 37 
8 เด็กชาย ณัฐวุฒิ ชูเชิด 9 9 9 9 36 
9 เด็กชาย ดรัณภพ พัดสายทอง 10 9 10 9 38 
10 เด็กชาย ธนทัต เขตสมุทร 10 8 9 10 37 
11 เด็กชาย ธนภูมิ เงินศรีสิทธิ์ 9 10 9 9 37 
12 เด็กชาย ธนาวุฒิ สุทธิสารฐานิช 9 9 9 9 36 
13 เด็กชาย ธีรภัทร ฆ้องรัน 10 9 10 9 38 
14 เด็กชาย นครินทร์ พวงชาติ 10 8 9 10 37 
15 เด็กชาย นฤสรณ์ นภาโชติ 9 10 9 9 37 
16 เด็กชาย ประกาศิต สมเพชร 9 9 9 9 36 
17 เด็กชาย ปิยังกูร ฟุ้งมาก 10 10 10 9 39 
18 เด็กชาย พงศภัท ภูต้อม 9 9 9 9 36 
345
ที่ ชื่อ-สกุล
เอกสารกิจกรรมเกม3
เอกสารแนะแนวทางที่8
กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่7
เอกสารแบบฝึกหัดที่8
รวม
สรุปผล
การ
ประเมิน
10 10 10 10 40 ผ่าน
ไม่
ผ่าน
19 เด็กชาย พีระพล แม้ประเสริฐ 9 10 9 9 37 
20 เด็กชาย ไพรวรรณ พุฒพงษ์ 9 9 9 9 36 
21 เด็กชาย ยุทธชัย เมฑมล 10 10 10 9 39 
22 เด็กชาย วราธร บุญตุ้ม 9 9 9 9 36 
23 เด็กชาย ศักดินนท์ กอเซ็ม 10 9 10 9 38 
24 เด็กชาย สมหวัง นามทัศน์ 10 10 9 10 39 
25 เด็กชาย สิทธิกร ศิริมงคล 9 10 9 9 37 
26 เด็กชาย อภิวัฒน์ มณีโชติ 9 9 9 9 36 
27 เด็กหญิง ฐิติรัตน์ ล้าศรี 10 10 10 9 39 
28 เด็กหญิง วรัฐยา ทองสร้อย 10 8 9 10 37 
29 เด็กหญิง ศิริลักษณ์ พงษ์สุข 9 10 9 9 37 
30 เด็กหญิง อนุสรา โนนพรมราช 9 9 9 9 36 
31 เด็กหญิง อภัชชา ธิน้อมธรรม 10 9 10 9 38 
หมายเหตุ ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินต้องได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป คือ ตั้งแต่ 28 คะแนนขึ้นไป
(ลงชื่อ) ............................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์)
346
แบบสรุปการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ประเมินครั้งที่ 8 วันที่ 28 เดือน. พฤศจิกายน. พ.ศ. 2557
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการทากิจกรรม และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ
พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
ที่ ชื่อ-สกุล
รักชาติศาสน์กษัตริย์
ใฝ่หาความรู้
มุ่งมั่นในการทางาน
รักความเป็นไทย
รวม
สรุปผล
การ
ประเมิน
3 3 3 3 12 ผ่าน
ไม่
ผ่าน
1 เด็กชาย กิตติศักดิ์ บุญเฮง 3 3 3 2 11 
2 เด็กชาย กันทรากร คาซุย 3 2 3 3 11 
3 เด็กชาย คณิศร ธนบวรตระกูล 3 3 3 3 12 
4 เด็กชาย เจตดิลก ประดิษฐุ์ค่าย 3 2 3 3 11 
5 เด็กชาย เจษฎาภรณ์ คุ้มญาติ 3 2 3 3 11 
6 เด็กชาย ฐิติพงศ์ สัตยาพันธุ์ 3 3 3 3 12 
7 เด็กชาย ฐิติวุฒน์ นาคกัน 3 3 3 3 12 
8 เด็กชาย ณัฐวุฒิ ชูเชิด 3 2 3 3 11 
9 เด็กชาย ดรัณภพ พัดสายทอง 3 2 3 3 11 
10 เด็กชาย ธนทัต เขตสมุทร 3 3 3 3 12 
11 เด็กชาย ธนภูมิ เงินศรีสิทธิ์ 3 3 3 3 12 
12 เด็กชาย ธนาวุฒิ สุทธิสารฐานิช 3 2 3 3 11 
13 เด็กชาย ธีรภัทร ฆ้องรัน 3 2 3 3 11 
14 เด็กชาย นครินทร์ พวงชาติ 3 3 3 3 12 
15 เด็กชาย นฤสรณ์ นภาโชติ 3 3 3 3 12 
16 เด็กชาย ประกาศิต สมเพชร 3 2 3 3 11 
17 เด็กชาย ปิยังกูร ฟุ้งมาก 3 3 3 3 12 
18 เด็กชาย พงศภัท ภูต้อม 3 3 3 3 12 
347
ที่ ชื่อ-สกุล
รักชาติศาสน์กษัตริย์
ใฝ่หาความรู้
มุ่งมั่นในการทางาน
รักความเป็นไทย
รวม
สรุปผล
การ
ประเมิน
3 3 3 3 12 ผ่าน
ไม่
ผ่าน
19 เด็กชาย พีระพล แม้ประเสริฐ 3 3 3 3 12 
20 เด็กชาย ไพรวรรณ พุฒพงษ์ 3 2 3 3 11 
21 เด็กชาย ยุทธชัย เมฑมล 3 3 3 3 12 
22 เด็กชาย วราธร บุญตุ้ม 3 2 3 3 11 
23 เด็กชาย ศักดินนท์ กอเซ็ม 3 2 3 3 11 
24 เด็กชาย สมหวัง นามทัศน์ 3 3 3 3 12 
25 เด็กชาย สิทธิกร ศิริมงคล 3 3 3 3 12 
26 เด็กชาย อภิวัฒน์ มณีโชติ 3 2 3 3 11 
27 เด็กหญิง ฐิติรัตน์ ล้าศรี 3 3 3 3 12 
28 เด็กหญิง วรัฐยา ทองสร้อย 3 3 3 3 12 
29 เด็กหญิง ศิริลักษณ์ พงษ์สุข 3 3 3 3 12 
30 เด็กหญิง อนุสรา โนนพรมราช 3 2 3 3 11 
31 เด็กหญิง อภัชชา ธิน้อมธรรม 3 2 3 3 11 
หมายเหตุ ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินต้องได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป คือ ตั้งแต่ 8 คะแนนขึ้นไป
(ลงชื่อ) ............................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์)
348
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
โรงเรียนระยองวิทยาคมปากน้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
ภาคเรียนที่ ................... ปีการศึกษา ..........................
ชื่อ............................................นามสกุล..................................ชั้น. ...ม.1... เลขที่...............
คาชี้แจง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน
แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1 0
1. รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
1.1 มีความรัก และภูมิใจในความเป็นชาติ
1.2 ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา
1.3 แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
คะแนนเฉลี่ย
2. ใฝ่หาความรู้
2.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
2.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ
2.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล
คะแนนเฉลี่ย
3. มุ่งมั่น
ในการทางาน
3.1 มีความตั้งใจ และพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย
3.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ
คะแนนเฉลี่ย
4. รัก
ความเป็นไทย
6.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
6.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
คะแนนเฉลี่ย
ลงชื่อ ..................................................... ผู้ประเมิน
(.......................................................)
............. /................... /..............
เกณฑ์การให้คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
- พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน
349
เกณฑ์การประเมินคะแนนเฉลี่ย
- คะแนนเฉลี่ย 2.5-3.0 ให้ 3 คะแนน
- คะแนนเฉลี่ย 1.5-2.4 ให้ 2 คะแนน
- คะแนนเฉลี่ย 0.5-1.4 ให้ 1 คะแนน
- คะแนนเฉลี่ย 0.0-0.4 ให้ 0 คะแนน
-
350
แบบสรุปการประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
ประเมินครั้งที่ 8 วันที่ 28 เดือน. พฤศจิกายน. พ.ศ. 2557
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการทากิจกรรม และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ
พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
ที่ ชื่อ-สกุล
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
รวม
สรุปผล
การประเมิน
15 15 15 45 ผ่าน
ไม่
ผ่าน
1 เด็กชาย กิตติศักดิ์ บุญเฮง 14 14 14 42 
2 เด็กชาย กันทรากร คาซุย 12 13 14 39 
3 เด็กชาย คณิศร ธนบวรตระกูล 13 12 13 38 
4 เด็กชาย เจตดิลก ประดิษฐุ์ค่าย 12 12 12 36 
5 เด็กชาย เจษฎาภรณ์ คุ้มญาติ 13 12 12 37 
6 เด็กชาย ฐิติพงศ์ สัตยาพันธุ์ 14 14 14 42 
7 เด็กชาย ฐิติวุฒน์ นาคกัน 12 13 14 39 
8 เด็กชาย ณัฐวุฒิ ชูเชิด 13 12 13 38 
9 เด็กชาย ดรัณภพ พัดสายทอง 12 12 12 36 
10 เด็กชาย ธนทัต เขตสมุทร 13 12 12 37 
11 เด็กชาย ธนภูมิ เงินศรีสิทธิ์ 14 14 14 42 
12 เด็กชาย ธนาวุฒิ สุทธิสารฐานิช 12 13 14 39 
13 เด็กชาย ธีรภัทร ฆ้องรัน 13 12 13 38 
14 เด็กชาย นครินทร์ พวงชาติ 12 12 12 36 
15 เด็กชาย นฤสรณ์ นภาโชติ 13 12 12 37 
16 เด็กชาย ประกาศิต สมเพชร 12 15 14 41 
17 เด็กชาย ปิยังกูร ฟุ้งมาก 14 14 14 42 
18 เด็กชาย พงศภัท ภูต้อม 14 14 14 42 
351
ที่ ชื่อ-สกุล
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
รวม
สรุปผล
การประเมิน
15 15 15 45 ผ่าน
ไม่
ผ่าน
19 เด็กชาย พีระพล แม้ประเสริฐ 13 12 12 37 
20 เด็กชาย ไพรวรรณ พุฒพงษ์ 12 14 14 40 
21 เด็กชาย ยุทธชัย เมฑมล 12 13 14 39 
22 เด็กชาย วราธร บุญตุ้ม 13 12 13 38 
23 เด็กชาย ศักดินนท์ กอเซ็ม 12 12 12 36 
24 เด็กชาย สมหวัง นามทัศน์ 13 15 15 43 
25 เด็กชาย สิทธิกร ศิริมงคล 14 14 14 42 
26 เด็กชาย อภิวัฒน์ มณีโชติ 12 13 14 39 
27 เด็กหญิง ฐิติรัตน์ ล้าศรี 15 15 14 44 
28 เด็กหญิง วรัฐยา ทองสร้อย 14 14 14 42 
29 เด็กหญิง ศิริลักษณ์ พงษ์สุข 12 13 14 39 
30 เด็กหญิง อนุสรา โนนพรมราช 13 12 13 38 
31 เด็กหญิง อภัชชา ธิน้อมธรรม 14 13 12 40 
หมายเหตุ ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินต้องได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป คือ ตั้งแต่ 32 คะแนนขึ้นไป
(ลงชื่อ) ............................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์)
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยJirathorn Buenglee
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้Kobwit Piriyawat
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...Kobwit Piriyawat
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพKobwit Piriyawat
 

What's hot (19)

ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
 
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียงตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 
Test
TestTest
Test
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 

Viewers also liked

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4Jirathorn Buenglee
 
Sar teacher 2555
Sar teacher 2555Sar teacher 2555
Sar teacher 2555Som Za
 
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
สอนคณิตให้สนุก1 pik ok
สอนคณิตให้สนุก1 pik okสอนคณิตให้สนุก1 pik ok
สอนคณิตให้สนุก1 pik okJirathorn Buenglee
 
รวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางรวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางJirathorn Buenglee
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1Jirathorn Buenglee
 
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)Jirathorn Buenglee
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemคู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemguest2be5a70
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 

Viewers also liked (20)

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
 
B slim
B slim  B slim
B slim
 
Sar teacher 2555
Sar teacher 2555Sar teacher 2555
Sar teacher 2555
 
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สอนคณิตให้สนุก1 pik ok
สอนคณิตให้สนุก1 pik okสอนคณิตให้สนุก1 pik ok
สอนคณิตให้สนุก1 pik ok
 
รวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางรวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทาง
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
 
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemคู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
 
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-docAr 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 

Similar to คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8

Similar to คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8 (20)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

More from Jirathorn Buenglee

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59Jirathorn Buenglee
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาJirathorn Buenglee
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59Jirathorn Buenglee
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นJirathorn Buenglee
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นJirathorn Buenglee
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559Jirathorn Buenglee
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559Jirathorn Buenglee
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...Jirathorn Buenglee
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)Jirathorn Buenglee
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3Jirathorn Buenglee
 

More from Jirathorn Buenglee (20)

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
 

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8

  • 2. 311 กาหนดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เนื้อหา จานวน คาบ แผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ แนวคิดที่ใช้ในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ วันที่สอน 1. แบบรูปและ ความสัมพันธ์ 2. คาตอบของ สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 3. การแก้สมการ เชิงเส้น ตัวแปรเดียว 4. โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับ สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 3 1 6 5 แผนที่ 1 (1 ชั่วโมง) แผนที่ 2 (2 ชั่วโมง) แผนที่ 3 (1 ชั่วโมง) แผนที่ 4 (2 ชั่วโมง) แผนที่ 5 (2 ชั่วโมง) แผนที่ 6 (1 ชั่วโมง) แผนที่ 7 (1 ชั่วโมง) แผนที่ 8 (1 ชั่วโมง) แผนที่ 9 (2 ชั่วโมง) แผนที่ 10 (2 ชั่วโมง) กระบวนการสืบสอบ การเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิค TGT) การคิดแบบฮิวริสติกส์ การคิดแบบฮิวริสติกส์ แผนบูรณาการภายในกลุ่มสาระ กระบวนการสืบสอบ การคิดแบบฮิวริสติกส์ การเรียนแบบร่วมมือ (เทคนิค Jigsaw II) การคิดแบบฮิวริสติกส์ บูรณาการอาเซียนศึกษา การคิดแบบฮิวริสติกส์ การคิดแบบฮิวริสติกส์ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 3 พ.ย. 57 7 พ.ย. 57 10 พ.ย. 57 13 พ.ย. 57 และ 14 พ.ย. 57 17 พ.ย. 57 21 พ.ย. 57 24 พ.ย. 57 28 พ.ย. 57 1 ธ.ค. 57 และ 2 ธ.ค. 57 8 ธ.ค. 57 และ 9 ธ.ค. 57 รวม 15 ชั่วโมง 10 แผน 3 แนวคิด 13 วัน
  • 3. 312 ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ผู้สอน นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์ จานวน 1 ชั่วโมง สอนวันที่ 28 พ.ย. 57 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลอง ทางคณิตศาสตร์อื่นๆ แทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้ ตัวชี้วัด ม 1/2 แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ ม 1/3 เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์ หรือปัญหาและแก้โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ สาระสาคัญ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มีปัญหาในชีวิตประจาวันมากมายที่สามารถใช้สมการช่วยในการแก้ปัญหา โดยเริ่มจากการ เขียนความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการหาให้อยู่ในรูปของสมการ แล้วจึงแก้สมการหาคาตอบของสิ่งที่ ต้องการ สรุปขั้นตอนในการแก้โจทย์ปัญหาสมการได้ ดังนี้ 1. วิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่าโจทย์กาหนดอะไรมาให้ และโจทย์ต้องการให้หาอะไร 2. กาหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ต้องการหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่โจทย์ต้องการ 3. เขียนสมการตามเงื่อนไขในโจทย์ 4. แก้สมการเพื่อหาคาตอบที่โจทย์ต้องการ 5. ตรวจสอบคาตอบที่ได้กับเงื่อนไขในโจทย์ ดังนั้น เราจึงควรรู้จักเขียนสมการเพื่อหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ 1. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์ หรือปัญหาอย่างง่ายได้ 2. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากโจทย์ปัญหาสมการที่กาหนดให้ได้ 3. หาคาตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาสมการได้ 4. นักเรียนให้ใช้ความรู้เรื่องสมการในการแปลงเงินจากสกุลหนึ่งไปอีกสกุลหนึ่งในกลุ่ม ประเทศอาเซียนได้
  • 4. 313 ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนมี 1. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 2. ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ใฝ่หาความรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน 4. รักความเป็นไทย สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน ข้อที่ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆได้ 1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง 2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้ 3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา 3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงในสังคม 3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา 3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย
  • 5. 314 สาระการเรียนรู้ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) หรือประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และบรูไน เพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่าง ประเทศ รวมถึงให้อาเซียนมีความแข็งแกร่ง มีภูมิต้านทานที่ดีในการรับมือกับปัญหาใหม่ ๆ ระดับโลก ประชาคมอาเซียนเปรียบกับการเป็นครอบครัวเดียวกันของประเทศ สมาชิกอาเซียน ถือกาเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 พร้อมกับมีการร่วมลงนามในปฏิญญาให้ เป็นประชาคมเดียวกันให้สาเร็จภายใน พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) พร้อมกับมีการแบ่งประชาคมย่อย ออกเป็น 3 ประชาคม หรือ 3 เสาหลัก ได้แก่ 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community–APSC) 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community–AEC) 3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Asean Socio-Cultural Community– ASCC) ความเป็นมาของประชาคมอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เกิดขึ้นมาจากการพัฒนาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) เนื่องจากสมาชิกอาเซียนเห็นว่า ปัจจุบันอาเซียนมีจานวนประเทศ 10 ประเทศ ประชากรเกือบ 500 ล้านคน ดังนั้นถือว่าเป็นเศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ่ จึงควรร่วมมือกันเพื่อทาให้อาเซียนมีความเข้มแข็งในด้านต่างๆ มากขึ้น
  • 6. 315 เป้าหมายสาคัญของประชาคมอาเซียน มี 4 ด้าน คือ 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and Production Base) 2. สร้างขีดความสามามารถทางเศรษฐกิจ (High Competitive Economic Region) 3. สร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Equitable Economic Development) 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (Fully Integrated into Global Economy) ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า จาการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่ภาษีจะเปิด โอกาสให้สินค้า เคลื่อนย้ายเสรี 2. คาดว่าการส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า 20% ต่อปี 3. เปิดโอกาสการค้าบริการในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรมและ ร้านอาหาร สุขภาพ ทาให้ไทยมีรายได้จากการค้าบริการไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น 4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรียิ่งขึ้น อุปสรรคการลงทุน ระหว่างอาเซียน จะลดลง อาเซียนจะเป็นเขตการลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียมจีนและอินเดีย 5. เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย เมื่อมีการใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน/ เป็นพันธมิตรทางธุรกิจร่วมกับอาเซียนอื่น ทาให้เกิดความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (Comparative Advantage) และลดต้นทุนการผลิต 6. เพิ่มอานาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก สร้างความเชื่อมั่นให้ประชาคมโลก 7. ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ ผลการศึกษา แสดงว่า AEC จะทาให้ รายได้ที่แท้จริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 หรือคิดเป็นมูลค่า 69 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ จากข้อมูลของประชาคมอาเซียนสามารถนาความรู้เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวมา วิเคราะห์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จากการคาดการณ์ว่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า 20% ต่อปี หากปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีการส่งออก 80,000 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2557 มูลค่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนควรจะมีการขยายตัวไม่ต่ากว่า เท่าไร วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว x บาท จะได้ x คิดเป็น 20 % ของ 80,000 ล้านบาท จะได้สมการ 000,80× 100 20 =x 000,16=x ตรวจคำตอบ แทนค่า 000,16x  ในสมการ 000,80× 100 20 =x จะได้ 16,000 = 16,000 เป็นจริง ตอบ 16,000 ล้านบาท
  • 7. 316 ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าการส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถ ขยายตัวได้จริง 18,000 ล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวกี่เปอร์เซนต์ วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว x % จะได้ 18,000 คิดเป็น x % ของ 80,000 ล้านบาท จะได้สมการ คือ 000,80 100 x 000,18  800x000,18  นา 800 1 คูณทั้งสองข้างของสมการ 800 1 800x 800 1 000,18  x5.22  5.22x  ตรวจคำตอบ แทนค่า 5.22x  ในสมการ 000,80 100 x 000,18  จะได้ 000,80 100 5.22 000,18  18,000 = 18,000 เป็นจริง ตอบ การส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถขยายตัวได้ 22.5 % ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลในปี พ.ศ. 2557 พบว่า 5 เท่าของปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไป สิงคโปร์ มากกว่า 3 แสนล้านบาท อยู่ 7 แสนล้านบาท วิธีทา ให้ x แทนปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์ จะได้สมการคือ 5x – 3 = 7 นา 3 บวกทั้งสองข้างของสมการ 5x – 3 + 3 = 7 + 3 5x = 10 นา 5 1 คูณทั้งสองข้างของสมการ 5 1  5x = 5 1 10 x = 2
  • 8. 317 ตรวจคำตอบ แทนค่า x = 2 ในสมการ 5x – 3 = 7 5(2) – 3 = 7 7 = 7 สมการเป็นจริง ตอบ ปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์ คือ 2 แสนล้านบาท ตัวอย่างที่ 4 มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายจานวนหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2557 ขายให้บรูไนได้ครึ่งหนึ่งของ ที่ซื้อมา ปี พ.ศ. 2558 ขายให้กัมพูชาได้อีก 5 3 ของจานวนแร่โลหะที่เหลือจากปี พ.ศ. 2557 ถ้าปี พ.ศ. 2557 ขายแร่โลหะได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ ให้หาว่ามาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายทั้งหมดกี่ล้านเหรียญสหรัฐ วิธีทา สมมติมาเลเซียซื้อแร่โลหะมาทั้งหมด x ล้านเหรียญสหรัฐ พ.ศ. 2557 ขายได้ 2 x ล้านเหรียญสหรัฐ พ.ศ. 2558 ขายได้ 5 3 ของที่เหลือ 10 x3 = 2 x × 5 3 ล้านเหรียญสหรัฐ เนื่องจากพ.ศ. 2558 ได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ จะได้ 111 10 x3  370 3 110,1 x 110,1 10111x3     ตรวจคำตอบ แทนค่า x = 370 ในสมการ 111 10 x3  111 10 )370(3  111 = 111 สมการเป็นจริง ตอบ มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขาย 370 ล้านเหรียญสหรัฐ
  • 9. 318 กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา ครูถามตอบและสนทนาร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับอาเซียนในประเด็นดังต่อไปนี้ - สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) หรือประชาคมอาเซียน คืออะไร - ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยสมาชิกกี่ประเทศ อะไรบ้าง - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC คืออะไร มีเป้าหมายเพื่ออะไร - ประเทศไทยจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมประชาคมอาเซียนอย่างไร ขั้นสอน (การคิดแบบฮิวริสติกส์) 1. ขั้นสร้างความสัมพันธ์ (Relate) 1.1 ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างที่ 1 และ 2 จากเอกสารแนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดา ประกอบ การถามตอบ และอภิปรายร่วมกับนักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้ - โจทย์ให้ข้อมูลอะไรบ้าง และข้อมูลมีความสัมพันธ์กันอย่างไร - จะเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงมูลค่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนควรจะมีการขยายตัว ไม่ต่ากว่าเท่าไรได้อย่างไร - จะเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงเปอร์เซนต์ของขยายตัวการส่งออกของไทยไปอาเซียนได้ อย่างไร พร้อมทั้งสุ่มนักเรียนบางคนออกมาแสดงแนวคิดในประเด็นที่กาหนดหน้ากระดาน แล้วให้ นักเรียนคนอื่นร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดของเพื่อน 1.2 ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างที่ 3 และตัวอย่างที่ 4 จากเอกสารแนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดาประกอบการถามตอบ และอภิปรายร่วมกับนักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้ - โจทย์กาหนดอะไรบ้าง - โจทย์ให้หาอะไร - จะมีวิธีการใดในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหานี้ - หากต้องการหาคาตอบของโจทย์ปัญหาดังกล่าวจะทาได้ง่ายขึ้นโดยเขียนเป็นสมการ แล้วหาคาตอบของสมการนั้น สมการของโจทย์ปัญหานี้เขียนได้อย่างไร - มีวิธีการใดบ้างที่จะทาให้สร้างสมการของโจทย์ปัญหานี้ได้ง่ายขึ้น - ข้อมูลที่โจทย์ให้มาสามารถเขียนโยงความสัมพันธ์ได้อย่างไรบ้าง 1.3 ครูและนักเรียนร่วมกันแก้สมการโจทย์ตัวอย่างที่ 3 และตัวอย่างที่ 4 จากเอกสาร แนะแนวทางที่ 8 บนกระดานอย่างเป็นขั้นตอน โดยร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
  • 10. 319 2. ขั้นสารวจตรวจค้น (Investigate) 2.1 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มย่อยกลุ่มละ 4-5 คน โดยในแต่ละกลุ่มมีนักเรียนคละ ความสามารถทั้งเก่ง กลาง และอ่อน แล้วร่วมกันศึกษาตัวอย่าง และทากิจกรรมเกมที่ 3 สมการใบ้คา คะแนนเป็นทีมทั้งคะแนนจากการตอบคาถามในใบกิจกรรม และคะแนนการมีส่วนร่วมในการทางานกลุ่ม 2.2 ครูกระตุ้นและแนะนาให้นักเรียนคิดอย่างอิสระโดยใช้หลายๆวิธีใน การเชื่อมโยง ข้อมูลที่โจทย์ให้ แล้วสรุปเป็นวิธีของกลุ่มตามที่แต่ละคนสนใจ หรือตามความถนัด 3. ขั้นประเมินและติดต่อสื่อสาร (Evaluate and Communicate) 3.1 ครูแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนตรวจสอบคาตอบ และประเมินความถูกต้องของ แนวคิด ขั้นตอนวิธีการ คิดรวมทั้งพิจารณาความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ โดยเน้นย้าให้นักเรียน สารวจหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่กาหนดให้ แล้วจัดข้อมูลและการคิดให้เป็นระบบ โดยใช้ คาถามต่าง ๆ เช่น - การโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่โจทย์กาหนดถูกต้อง เป็นระบบ และครบถ้วน หรือไม่ - การเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์ในรูปของสมการถูกต้องหรือไม่ 3.2 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองเพื่อประเมินคาตอบในการทากิจกรรมของกลุ่มตนเอง โดยกาหนดเวลาประมาณ 5-10 นาที 3.3 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอแนวคิดหน้าห้อง 3.4 ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาตอบ และวิธีการคิดจากปัญหาในกิจกรรมสารวจ ตรวจค้นที่ 7 การแปลงเงินในสกุลอาเซียน โดยใช้การเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนอาสาออกมาแสดงวิธีคิด ของตน และให้เพื่อนคนอื่นร่วมวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์วิธีคิดของตน ทั้งนี้ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาอภิปรายตามความเหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้ นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดกับผลงานของเพื่อน โดยไม่ต้องกังวลเรื่องความถูกผิดของความคิด 3.5 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าวิธีคิด หรือแนวคิดที่ร่วมกันนาเสนอนั้นวิธีใด เหมือนกัน คล้ายกัน และแตกต่างกันในประเด็นใดบ้าง แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อจากัด และมีความเหมาะสม กันสถานการณ์ใดบ้าง 3.6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนเสนอแนะแนวคิดที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามความเหมาะสม หรือ ซักถามประเด็นที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิดต่อเนื่องจากปัญหาที่พบในกิจกรรม ตามความเหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดกับผลงานของเพื่อน 4. ขั้นความคิดสร้างสรรค์ (Create) 4.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มย่อยร่วมกันทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 8 แปลงเงินในสกุล เงินอาเซียน โดยครูแนะนาให้นักเรียนใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การคิดย้อนกลับจากคาตอบไปยังโจทย์ปัญหา โดยกาหนดเวลาในการคิดระดมสมองกันภายในกลุ่ม 10 นาที โดยครูแจ้งว่าถ้ากลุ่มใดคิดเสร็จก่อน เวลาให้ส่งตัวแทนกลุ่มมารับกระดาษขาวเทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นป้ายนาเสนอผลงาน 4.2 เมื่อครบกาหนดเวลา ครูแจกกระดาษขาวเทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นป้าย นาเสนอผลงานให้กลุ่มที่เหลือ
  • 11. 320 4.3 ครูให้นักเรียนอาสามาแสดงผลงานหน้าห้องโดยให้แสดงผลงานของกลุ่ม แล้วให้ นักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันหาคาตอบ หรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่น่าสนใจ จากนั้นนักเรียนกลุ่ม เจ้าของผลงานเฉลยคาตอบ และแนวคิด ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปการเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์ในรูป ของสมการ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแนวคิด และขั้นตอนการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว พร้อมทั้งการตรวจสอบความถูกต้องและความสมเหตุสมผล ของคาตอบ 3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 8 เป็นการบ้าน ซึ่งครูแจกให้นักเรียนหรือนักเรียน สามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์ www.pookpikschool.com สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อยโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - เอกสารกิจกรรมเกมที่ 3 สมการใบ้คา - เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 7 การแปลงเงินในสกุลอาเซียน - เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - เว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์ www.pookpikschool.com การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 ประเมินพฤติกรรมการเรียน 1.2 ตรวจความถูกต้องจากทาเอกสาร ดังนี้ - เอกสารกิจกรรมเกมที่ 3 - เอกสารแนะแนวทางที่ 8 - เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 7 - เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8
  • 12. 321 1.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ - ใฝ่หาความรู้ - มุ่งมั่นในการทางาน - รักความเป็นไทย 1.4 สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน - ด้านความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน 2.2 เอกสารประกอบนวัตกรรม ดังนี้ - เอกสารกิจกรรมเกมที่ 3 - เอกสารแนะแนวทางที่ 8 - เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 7 - เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8 2.3 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ - ใฝ่หาความรู้ - มุ่งมั่นในการทางาน - รักความเป็นไทย 2.4 แบบประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน - ด้านความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเรียน ได้คะแนนร้อยละ 90-100 ระดับ 4 ถือว่า ดีมาก ได้คะแนนร้อยละ 80-89 ระดับ 3 ถือว่า ดี ได้คะแนนร้อยละ 70-79 ระดับ 2 ถือว่า พอใช้ ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 70 ระดับ 1 ถือว่า ต้องปรับปรุง
  • 13. 322 3.2 การประเมินความถูกต้องของทาเอกสารประกอบนวัตกรรม ได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ระดับ 4 ถือว่า ดีมาก ได้คะแนนร้อยละ 70-79 ระดับ 3 ถือว่า ดี ได้คะแนนร้อยละ 60-69 ระดับ 2 ถือว่า พอใช้ ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 60 ระดับ 1 ถือว่า ต้องปรับปรุง 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน 3.4 สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล ดีมาก 13 - 15 คะแนน ดี 09 - 12 คะแนน พอใช้ 01 - 80 คะแนน ต้องปรับปรุง 0 คะแนน การมอบหมายงาน - ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 8 เป็นการบ้าน แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด - ห้องอาเซียนศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา - ห้องจัดนิทรรศการและผลงานนักเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หรือของโรงเรียน เป็นต้น - เว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com และเว็บไซต์ www.pookpikschool.com และเว็บไซต์อื่น ๆ
  • 14. 323 ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ - ครูควรยกตัวอย่างประกอบตามความเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน และ พฤติกรรมการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนอ่อนอาจยกตัวอย่างและพูดแนะนามากกว่า นักเรียนที่เก่ง และสาหรับนักเรียนแดนครูควรกระตุ้น ท้าทายให้นักเรียนคิดหาคาตอบ หลาย ๆ วิธี - ในการทากิจกรรมในแต่ละขั้นครูควรสังเกตนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อคอยให้คาปรึกษา และชี้แนะในกรอบที่เหมาะสม ทั้งเพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนได้ อย่างเต็มศักยภาพ และเป็นข้อมูลในการวัดประเมิน - ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ ในระหว่างที่ครูจัด กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละขั้นอย่างกว้างขวาง - หากครูพบว่ามีข้อบกพร่องในกิจกรรมบางขั้น ควรปรับปรุงให้ดีขึ้นในครั้งต่อไปโดยยึด หลักผู้เรียนเป็นสาคัญ
  • 15. 324
  • 16. 325 บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ปริมาณงานและคุณภาพผลงานของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์มีพัฒนาการในทิศทางที่ดีขึ้นเป็นลาดับ มีคุณภาพมากขึ้น การเขียน อธิบายกระชับ เข้าใจง่ายมากยิ่งขึ้น การอธิบายวิธีคิดเป็นลาดับและขั้นตอนที่ชัดเจนมากขึ้น นักเรียนสามารถใช้การเขียนโยงความคิดหลากหลายแนวทาง และลักษณะคาตอบมีความหลากหลาย มากยิ่งขึ้นด้วยเช่นกัน นักเรียนเกือบทั้งห้องคือประมาณ 90% กระตือรือร้นในการทากิจกรรมทั้งกิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมกลุ่มย่อย ตลอดกิจกรรมอภิปรายรวมกันทั้งเรียน นักเรียนเริ่มขอเสนอให้ครูสั่งงานในรูปแบบ ที่ตนเองสนใจ เช่น นักเรียนขอแสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับสมการ ขอให้ครูจัดเกมสมการที่ออกไปใช้ สถานที่นอกห้องเรียน ขอแต่งเพลงสมการประกอบท่าเต้น เป็นต้น ลงชื่อ............................................................................ (นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์) ผู้สอน
  • 17. 326 ภาคผนวกของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 ประกอบด้วย 1. เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. เอกสารกิจกรรมเกมที่ 3 สมการใบ้คา 3. เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 7 การแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน 4. เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 5. แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน 6. แบบบันทึกการตรวจเอกสารประกอบนวัตกรรม 7. แบบสรุปประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8. แบบสรุปการประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน
  • 18. 327 เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างที่ 1 จากการคาดการณ์ว่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า 20% ต่อปี หากปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีการส่งออก 80,000 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2557 มูลค่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนควรจะมีการขยายตัวไม่ต่ากว่า เท่าไร วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว x บาท จะได้ x คิดเป็น 20 % ของ 80,000 ล้านบาท จะได้สมการ ........................................................ ........................................................ ตรวจคำตอบ แทนค่า ............. ในสมการ ........................................................ จะได้ ........................................................ ตอบ ........................................................ ล้านบาท ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าการส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถขยายตัว ได้จริง 18,000 ล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวกี่เปอร์เซนต์ วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว ............... % จะได้ ........................................................................... จะได้สมการ คือ ........................................................................... ........................................................................... นา ............................................. ทั้งสองข้างของสมการ ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ...........................................................................
  • 19. 328 ตรวจคำตอบ แทนค่า ...................... ในสมการ ........................................ ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ตอบ การส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถขยายตัวได้ …………………………… ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลในปี พ.ศ. 2557 พบว่า 5 เท่าของปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไป สิงคโปร์ มากกว่า 3 แสนล้านบาท อยู่ 7 แสนล้านบาท วิธีทา ให้ ................ แทนปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์ จะได้สมการคือ ............................................................................ นา ................................ ทั้งสองข้างของสมการ ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ตรวจคำตอบ แทนค่า x = 2 ในสมการ 5x – 3 = 7 5(2) – 3 = 7 7 = 7 สมการเป็นจริง ตอบ ปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์ คือ ………………………….. %
  • 20. 329 ตัวอย่างที่ 4 มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายจานวนหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2557 ขายให้บรูไนได้ครึ่งหนึ่งของ ที่ซื้อมา ปี พ.ศ. 2558 ขายให้กัมพูชาได้อีก 5 3 ของจานวนแร่โลหะที่เหลือจากปี พ.ศ. 2557 ถ้าปี พ.ศ. 2557 ขายแร่โลหะได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ ให้หาว่า มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายทั้งหมดกี่ล้านเหรียญสหรัฐ วิธีทา สมมติมาเลเซียซื้อแร่โลหะมาทั้งหมด .......... ล้านเหรียญสหรัฐ พ.ศ. 2557 ขายได้ .......... ล้านเหรียญสหรัฐ พ.ศ. 2558 ขายได้ 5 3 ของที่เหลือ .............................. ล้านเหรียญสหรัฐ เนื่องจากพ.ศ. 2558 ได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ จะได้ ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ตรวจคำตอบ แทนค่า ....................... ในสมการ ........................................................... ........................................................................... ........................................................................... ตอบ มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขาย ........................................... ล้านเหรียญสหรัฐ
  • 21. 330 กิจกรรมเกมที่ 3 สมการใบ้คา ชื่อกลุ่ม............................................ ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... พระอะไร ?? มีหนวด คำชี้แจง : จงหาคาตอบของสมการข้อต่อไปนี้ แล้วนาพยัญชนะหรือสระท้ายที่อยู่ท้ายคาตอบ ที่ได้มาเรียงกันตามลาดับตั้งแต่ข้อ 1-10 จะพบกับคาตอบของปริศนา พระอะไร??มีหนวด 1. สองเท่าของจานวนหนึ่งบวกกับ 10 มีค่าเท่ากับ 22 a. 13 ( ะ ) 2. 16=6+x5 b. -30 ( ะ) 3. 20=x+10- c. 15 ( จ ) 4. 12=2- 3 x2 d. -5 ( ต ) 5. 6+x5=8+x7 e. -25 ( โ ) 6. ผลรวมของเลขคู่สองจานวนเรียงกันมีค่าเป็น 10 จงหาจานวนน้อย f. 6 (พ ) 7. 32=25+x5.0 g. -1 ( ะ ) 8. ( )5-x3=x2 h. 14 ( เ ) 9. พ่อมีอายุเป็น 6 เท่าของลูก ถ้าปีหน้าพ่อจะมีอายุครบ 31 ปี i. 5 (๗ ) ปัจจุบันลูกอายุกี่ปี j. 2 ( ร ) 10. ( )4-x2=5+x k. -14 ( อ ) l. 21 ( น ) m. -2 ( า ) n. 4 ( เ ) ตอบ พระมีหนวด คือ .....................................................
  • 22. 331 กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 7 การแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลสกุลเงินของประเทศในกลุ่มอาเซียน ใช้เวลา 5-10 นาที จากนั้นครูจะชูป้ายสมมติสถานการณ์ ถามนักเรียนให้ใช้ความรู้เรื่องสมการในการแปลงเงิน จากสกุลหนึ่งไปอีกสกุลหนึ่ง เช่น สถานการณ์ที่ 1 ยายมะลิขายตะกร้าหวายในราคา 1,500 บาท ให้นายงวนชาวพม่า นายงวนต้องจ่ายเงินเท่าไรในหน่วยสกุลเงินของประเทศตนเอง สถานการณ์ที่ 2 หม่องคะยองเช่าบัสปรับอากาศในราคา 60,000 จ๊าด เดินทางไป ประเทศลาว และต้องจ่ายเงินที่ปลายทางเป็น 2 เท่าของค่ารถต้นทาง หม่องคะยองจะต้องจ่ายเงิน เท่าไร ข้อมูลข่าวสาร สกุลเงินอาเซียน และสกุลเงินสมาชิกอาเซียน 1. บรูไน ดารุสซาลาม ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์บรูไน อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์บรูไน = 25.10 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ดอลล่าร์บรูไน, 5 ดอลล่าร์บรูไน, 10 ดอลล่าร์บรูไน, 20 ดอลล่าร์บรูไน, 25 ดอลล่าร์บรูไน, 50 ดอลล่าร์บรูไน, 100 ดอลล่าร์บรูไน, 500 ดอลล่าร์บรูไน, 1,000 ดอลล่าร์บรูไน และ 10,000 ดอลล่าร์บรูไน
  • 23. 332 2. ราชอาณาจักรกัมพูชา ใช้สกุลเงิน เรียล อัตราแลกเปลี่ยน 150 เรียล = 1 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 50 เรียล, 100 เรียล, 500 เรียล, 1,000 เรียล, 2,000 เรียล, 5,000 เรียล, 10,000 เรียล, 20,000 เรียล, 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล 3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ใช้สกุลเงิน รูเปียห์ อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ = 3.95 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1,000 รูเปียห์, 2,000 รูเปียห์, 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์, 20,000 รูเปียห์, 50,000 รูเปียห์ และ 100,000 รูเปียห์
  • 24. 333 4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ใช้สกุลเงิน กีบ อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ = 4.05 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 500 กีบ, 1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ และ 50,000 กีบ 5. มาเลเซีย ใช้สกุลเงิน ริงกิต อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิตมาเลเซีย = 10.40 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ริงกิต, 5 ริงกิต, 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต
  • 25. 334 6. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ใช้สกุลเงิน จ๊าด อัตราแลกเปลี่ยน 1 จ๊าด = 5 บาทไทย ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 10 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด 1,000 จ๊าด, 5,000 จ๊าด และ 10,000 จ๊าด 7. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ใช้สกุลเงิน เปโซ อัตราแลกเปลี่ยน 1.40 เปโซ = 0.78 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 เปโซ, 50 เปโซ, 100 เปโซ, 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ
  • 26. 335 8. สาธารณรัฐสิงคโปร์ ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์สิงค์โปร์ อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์สิงคโปร์ = 24.40 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 2 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 5 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 10 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 50 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 100 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 1,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ และ 10,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ 9. ราชอาณาจักรไทย ใช้สกุลเงิน บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 บาท, 50 บาท, 100 บาท, 500 บาท และ 1,000 บาท
  • 27. 336 10. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ใช้สกุลเงิน ด่ง อัตราแลกเปลี่ยน 900 ด่ง = 1.64 บาทไทย ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 100 ด่ง, 200 ด่ง, 500 ด่ง, 1,000 ด่ง, 2,000 ด่ง, 5,000 ด่ง, 10,000 ด่ง, 20,000 ด่ง, 50,000 ด่ง, 100,000 ด่ง, 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2557 โดยอัตราแลกเปลี่ยนข้างต้นเป็น ประมาณการซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน
  • 28. 337 แบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จงแสดงวิธีคิด เขียนสมการและหาคาตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาต่อไปนี้ 1. สารละลายชนิดหนึ่งจานวน 18 ลิตร มีแอลกอฮอล์ 55% ส่วนที่เหลือเป็นน้า ถ้าต้องการให้ สารละลายนี้มีแอลกอฮอล์ 15% จะต้องเติมน้าลงไปกี่ลิตร วิธีคิด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………..……………………… ตรวจคำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
  • 29. 338 2. ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษมีสองฉบับ ฉบับที่หนึ่งมี 40 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน ฉบับที่สองมี 30 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน พีระทาข้อสอบฉบับที่หนึ่งได้คะแนน 75% จะต้องทาฉบับที่สองถูกกี่ข้อ จึงจะได้คะแนนรวมสองฉบับเป็น 80% วิธีคิด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ตรวจคำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
  • 30. 339 3. การสอบวิชาฟิสิกส์อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคต่อปลายภาคเป็น 60 : 40 สันติทาคะแนน ระหว่างภาคได้ 85% สันติจะต้องสอบปลายภาคให้ได้กี่คะแนนจึงจะได้คะแนนรวมเป็น 83 คะแนน วิธีคิด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ตรวจคำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
  • 31. 340 4. สูตรทาขนมชั้นชนิดหนึ่งต้องใช้แป้ง 2 กิโลกรัม ผสมกับน้าตาล 4 ถ้วยตวง ถ้าต้องให้ส่วนผสม ของน้าตาลเป็น 6 ถ้วยตวง ต้องใช้แป้งปริมาณเท่าใดรสชาติจึงจะคงเดิม วิธีคิด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ตรวจคำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
  • 32. 341 แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน ประเมินครั้งที่ 8 วันที่ 28 เดือน. พฤศจิกายน. พ.ศ. 2557 คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการทากิจกรรม และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ที่ ชื่อ-สกุล ความกระตือรือร้นและตั้งใจในการเรียน ความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา ทางานอย่างเป็นระบบและมีระเบียบ รวม สรุปผล การประเมิน 4 4 4 12 ผ่าน ไม่ ผ่าน 1 เด็กชาย กิตติศักดิ์ บุญเฮง 4 4 4 12  2 เด็กชาย กันทรากร คาซุย 4 4 3 11  3 เด็กชาย คณิศร ธนบวรตระกูล 4 4 4 12  4 เด็กชาย เจตดิลก ประดิษฐุ์ค่าย 4 3 4 11  5 เด็กชาย เจษฎาภรณ์ คุ้มญาติ 3 4 3 10  6 เด็กชาย ฐิติพงศ์ สัตยาพันธุ์ 4 4 4 12  7 เด็กชาย ฐิติวุฒน์ นาคกัน 4 4 3 11  8 เด็กชาย ณัฐวุฒิ ชูเชิด 4 4 4 12  9 เด็กชาย ดรัณภพ พัดสายทอง 4 3 4 11  10 เด็กชาย ธนทัต เขตสมุทร 3 4 3 10  11 เด็กชาย ธนภูมิ เงินศรีสิทธิ์ 4 4 4 12  12 เด็กชาย ธนาวุฒิ สุทธิสารฐานิช 4 4 3 11  13 เด็กชาย ธีรภัทร ฆ้องรัน 4 4 4 12  14 เด็กชาย นครินทร์ พวงชาติ 4 4 4 12  15 เด็กชาย นฤสรณ์ นภาโชติ 4 4 3 11  16 เด็กชาย ประกาศิต สมเพชร 4 4 4 12  17 เด็กชาย ปิยังกูร ฟุ้งมาก 4 3 4 11  18 เด็กชาย พงศภัท ภูต้อม 3 4 3 10 
  • 33. 342 ที่ ชื่อ-สกุล ความกระตือรือร้นและตั้งใจในการเรียน ความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา ทางานอย่างเป็นระบบและมีระเบียบ รวม สรุปผล การประเมิน 4 4 4 12 ผ่าน ไม่ ผ่าน 19 เด็กชาย พีระพล แม้ประเสริฐ 4 4 4 12  20 เด็กชาย ไพรวรรณ พุฒพงษ์ 3 4 3 10  21 เด็กชาย ยุทธชัย เมฑมล 4 4 4 12  22 เด็กชาย วราธร บุญตุ้ม 4 3 4 11  23 เด็กชาย ศักดินนท์ กอเซ็ม 3 4 3 10  24 เด็กชาย สมหวัง นามทัศน์ 4 4 4 12  25 เด็กชาย สิทธิกร ศิริมงคล 4 4 3 11  26 เด็กชาย อภิวัฒน์ มณีโชติ 4 4 4 12  27 เด็กหญิง ฐิติรัตน์ ล้าศรี 4 3 4 11  28 เด็กหญิง วรัฐยา ทองสร้อย 3 4 3 10  29 เด็กหญิง ศิริลักษณ์ พงษ์สุข 3 4 2 9  30 เด็กหญิง อนุสรา โนนพรมราช 4 4 3 11  31 เด็กหญิง อภัชชา ธิน้อมธรรม 4 4 4 12  หมายเหตุ ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินต้องได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป คือ ตั้งแต่ 8 คะแนนขึ้นไป (ลงชื่อ) ............................................... ผู้ประเมิน (นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์)
  • 34. 343 รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินพฤติกรรม (Rubrics) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 4 3 2 1 1. พฤติกรรมการเรียน 1.1 ความตั้งใจและ กระตือรือร้น ในการเรียน 1. ตั้งใจเรียน กระตือรือร้น ในการเรียน ดีมาก 2. สนใจซักถาม ปัญหาข้อสงสัย อยู่เสมอ 1. ตั้งใจเรียน กระตือรือร้น ในการเรียนดี 2. สนใจซักถาม ปัญหาข้อสงสัย เป็นส่วนใหญ่ 1. ตั้งใจเรียน กระตือรือร้น ในการเรียน พอใช้ 2. สนใจซักถาม ปัญหาข้อสงสัย บ้าง 1. ตั้งใจเรียน แต่ขาดความ กระตือรือร้น ในการเรียน 2. ไม่สนใจ ซักถามปัญหา ข้อสงสัยเลย 1.2 ความรับผิดชอบ และตรงต่อเวลา 1. ทางานที่ ได้รับมอบหมาย ดีมาก 2. เข้าเรียนตรง เวลา และส่งงาน ทันเวลาทุกชิ้น 1. ทางานที่ ได้รับมอบหมาย ดี 2. เข้าเรียนตรง เวลา และ ส่งงานทันเวลา บางชิ้น 1. ทางานที่ ได้รับมอบหมาย เป็นส่วนใหญ่ 2. เข้าเรียนสาย ส่งงานทันเวลา บางชิ้น 1. ไม่ค่อย รับผิดชอบงานที่ ได้รับมอบหมาย 2. เข้าเรียน สาย และส่ง งานไม่ตรงเวลา 1.3 ทางานอย่างเป็น ระบบและมีระเบียบ ทางานทุกชิ้น โดยมีการ วางแผนแล้ว ปฏิบัติตามอย่าง เป็นระบบ และ ทางานเป็น ระเบียบ เรียบร้อย มีวางแผนในการ ทางานบางชิ้น แล้วปฏิบัติตาม และทางานเป็น ระเบียบ เรียบร้อย บางส่วน ทางานโดย วางแผนบ้าง เล็กน้อย และ ทางานไม่ เรียบร้อย เท่าที่ควร ทางานโดยไม่มี การวางแผน และทางานไม่ เรียบร้อย
  • 35. 344 แบบบันทึกการตรวจเอกสารประกอบนวัตกรรม ประเมินครั้งที่ 8 วันที่ 28 เดือน. พฤศจิกายน. พ.ศ. 2557 คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการทากิจกรรม และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ที่ ชื่อ-สกุล เอกสารกิจกรรมเกม3 เอกสารแนะแนวทางที่8 กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่7 เอกสารแบบฝึกหัดที่8 รวม สรุปผล การ ประเมิน 10 10 10 10 40 ผ่าน ไม่ ผ่าน 1 เด็กชาย กิตติศักดิ์ บุญเฮง 10 9 10 9 38  2 เด็กชาย กันทรากร คาซุย 10 8 9 10 37  3 เด็กชาย คณิศร ธนบวรตระกูล 9 10 9 9 37  4 เด็กชาย เจตดิลก ประดิษฐุ์ค่าย 9 9 9 9 36  5 เด็กชาย เจษฎาภรณ์ คุ้มญาติ 10 9 10 9 38  6 เด็กชาย ฐิติพงศ์ สัตยาพันธุ์ 10 8 9 10 37  7 เด็กชาย ฐิติวุฒน์ นาคกัน 9 10 9 9 37  8 เด็กชาย ณัฐวุฒิ ชูเชิด 9 9 9 9 36  9 เด็กชาย ดรัณภพ พัดสายทอง 10 9 10 9 38  10 เด็กชาย ธนทัต เขตสมุทร 10 8 9 10 37  11 เด็กชาย ธนภูมิ เงินศรีสิทธิ์ 9 10 9 9 37  12 เด็กชาย ธนาวุฒิ สุทธิสารฐานิช 9 9 9 9 36  13 เด็กชาย ธีรภัทร ฆ้องรัน 10 9 10 9 38  14 เด็กชาย นครินทร์ พวงชาติ 10 8 9 10 37  15 เด็กชาย นฤสรณ์ นภาโชติ 9 10 9 9 37  16 เด็กชาย ประกาศิต สมเพชร 9 9 9 9 36  17 เด็กชาย ปิยังกูร ฟุ้งมาก 10 10 10 9 39  18 เด็กชาย พงศภัท ภูต้อม 9 9 9 9 36 
  • 36. 345 ที่ ชื่อ-สกุล เอกสารกิจกรรมเกม3 เอกสารแนะแนวทางที่8 กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่7 เอกสารแบบฝึกหัดที่8 รวม สรุปผล การ ประเมิน 10 10 10 10 40 ผ่าน ไม่ ผ่าน 19 เด็กชาย พีระพล แม้ประเสริฐ 9 10 9 9 37  20 เด็กชาย ไพรวรรณ พุฒพงษ์ 9 9 9 9 36  21 เด็กชาย ยุทธชัย เมฑมล 10 10 10 9 39  22 เด็กชาย วราธร บุญตุ้ม 9 9 9 9 36  23 เด็กชาย ศักดินนท์ กอเซ็ม 10 9 10 9 38  24 เด็กชาย สมหวัง นามทัศน์ 10 10 9 10 39  25 เด็กชาย สิทธิกร ศิริมงคล 9 10 9 9 37  26 เด็กชาย อภิวัฒน์ มณีโชติ 9 9 9 9 36  27 เด็กหญิง ฐิติรัตน์ ล้าศรี 10 10 10 9 39  28 เด็กหญิง วรัฐยา ทองสร้อย 10 8 9 10 37  29 เด็กหญิง ศิริลักษณ์ พงษ์สุข 9 10 9 9 37  30 เด็กหญิง อนุสรา โนนพรมราช 9 9 9 9 36  31 เด็กหญิง อภัชชา ธิน้อมธรรม 10 9 10 9 38  หมายเหตุ ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินต้องได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป คือ ตั้งแต่ 28 คะแนนขึ้นไป (ลงชื่อ) ............................................... ผู้ประเมิน (นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์)
  • 37. 346 แบบสรุปการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินครั้งที่ 8 วันที่ 28 เดือน. พฤศจิกายน. พ.ศ. 2557 คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการทากิจกรรม และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ที่ ชื่อ-สกุล รักชาติศาสน์กษัตริย์ ใฝ่หาความรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย รวม สรุปผล การ ประเมิน 3 3 3 3 12 ผ่าน ไม่ ผ่าน 1 เด็กชาย กิตติศักดิ์ บุญเฮง 3 3 3 2 11  2 เด็กชาย กันทรากร คาซุย 3 2 3 3 11  3 เด็กชาย คณิศร ธนบวรตระกูล 3 3 3 3 12  4 เด็กชาย เจตดิลก ประดิษฐุ์ค่าย 3 2 3 3 11  5 เด็กชาย เจษฎาภรณ์ คุ้มญาติ 3 2 3 3 11  6 เด็กชาย ฐิติพงศ์ สัตยาพันธุ์ 3 3 3 3 12  7 เด็กชาย ฐิติวุฒน์ นาคกัน 3 3 3 3 12  8 เด็กชาย ณัฐวุฒิ ชูเชิด 3 2 3 3 11  9 เด็กชาย ดรัณภพ พัดสายทอง 3 2 3 3 11  10 เด็กชาย ธนทัต เขตสมุทร 3 3 3 3 12  11 เด็กชาย ธนภูมิ เงินศรีสิทธิ์ 3 3 3 3 12  12 เด็กชาย ธนาวุฒิ สุทธิสารฐานิช 3 2 3 3 11  13 เด็กชาย ธีรภัทร ฆ้องรัน 3 2 3 3 11  14 เด็กชาย นครินทร์ พวงชาติ 3 3 3 3 12  15 เด็กชาย นฤสรณ์ นภาโชติ 3 3 3 3 12  16 เด็กชาย ประกาศิต สมเพชร 3 2 3 3 11  17 เด็กชาย ปิยังกูร ฟุ้งมาก 3 3 3 3 12  18 เด็กชาย พงศภัท ภูต้อม 3 3 3 3 12 
  • 38. 347 ที่ ชื่อ-สกุล รักชาติศาสน์กษัตริย์ ใฝ่หาความรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย รวม สรุปผล การ ประเมิน 3 3 3 3 12 ผ่าน ไม่ ผ่าน 19 เด็กชาย พีระพล แม้ประเสริฐ 3 3 3 3 12  20 เด็กชาย ไพรวรรณ พุฒพงษ์ 3 2 3 3 11  21 เด็กชาย ยุทธชัย เมฑมล 3 3 3 3 12  22 เด็กชาย วราธร บุญตุ้ม 3 2 3 3 11  23 เด็กชาย ศักดินนท์ กอเซ็ม 3 2 3 3 11  24 เด็กชาย สมหวัง นามทัศน์ 3 3 3 3 12  25 เด็กชาย สิทธิกร ศิริมงคล 3 3 3 3 12  26 เด็กชาย อภิวัฒน์ มณีโชติ 3 2 3 3 11  27 เด็กหญิง ฐิติรัตน์ ล้าศรี 3 3 3 3 12  28 เด็กหญิง วรัฐยา ทองสร้อย 3 3 3 3 12  29 เด็กหญิง ศิริลักษณ์ พงษ์สุข 3 3 3 3 12  30 เด็กหญิง อนุสรา โนนพรมราช 3 2 3 3 11  31 เด็กหญิง อภัชชา ธิน้อมธรรม 3 2 3 3 11  หมายเหตุ ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินต้องได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป คือ ตั้งแต่ 8 คะแนนขึ้นไป (ลงชื่อ) ............................................... ผู้ประเมิน (นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์)
  • 39. 348 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนระยองวิทยาคมปากน้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ภาคเรียนที่ ................... ปีการศึกษา .......................... ชื่อ............................................นามสกุล..................................ชั้น. ...ม.1... เลขที่............... คาชี้แจง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 มีความรัก และภูมิใจในความเป็นชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา 1.3 แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ คะแนนเฉลี่ย 2. ใฝ่หาความรู้ 2.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ 2.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 2.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล คะแนนเฉลี่ย 3. มุ่งมั่น ในการทางาน 3.1 มีความตั้งใจ และพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย 3.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ คะแนนเฉลี่ย 4. รัก ความเป็นไทย 6.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 6.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย คะแนนเฉลี่ย ลงชื่อ ..................................................... ผู้ประเมิน (.......................................................) ............. /................... /.............. เกณฑ์การให้คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน
  • 40. 349 เกณฑ์การประเมินคะแนนเฉลี่ย - คะแนนเฉลี่ย 2.5-3.0 ให้ 3 คะแนน - คะแนนเฉลี่ย 1.5-2.4 ให้ 2 คะแนน - คะแนนเฉลี่ย 0.5-1.4 ให้ 1 คะแนน - คะแนนเฉลี่ย 0.0-0.4 ให้ 0 คะแนน -
  • 41. 350 แบบสรุปการประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน ประเมินครั้งที่ 8 วันที่ 28 เดือน. พฤศจิกายน. พ.ศ. 2557 คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการทากิจกรรม และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ที่ ชื่อ-สกุล ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา รวม สรุปผล การประเมิน 15 15 15 45 ผ่าน ไม่ ผ่าน 1 เด็กชาย กิตติศักดิ์ บุญเฮง 14 14 14 42  2 เด็กชาย กันทรากร คาซุย 12 13 14 39  3 เด็กชาย คณิศร ธนบวรตระกูล 13 12 13 38  4 เด็กชาย เจตดิลก ประดิษฐุ์ค่าย 12 12 12 36  5 เด็กชาย เจษฎาภรณ์ คุ้มญาติ 13 12 12 37  6 เด็กชาย ฐิติพงศ์ สัตยาพันธุ์ 14 14 14 42  7 เด็กชาย ฐิติวุฒน์ นาคกัน 12 13 14 39  8 เด็กชาย ณัฐวุฒิ ชูเชิด 13 12 13 38  9 เด็กชาย ดรัณภพ พัดสายทอง 12 12 12 36  10 เด็กชาย ธนทัต เขตสมุทร 13 12 12 37  11 เด็กชาย ธนภูมิ เงินศรีสิทธิ์ 14 14 14 42  12 เด็กชาย ธนาวุฒิ สุทธิสารฐานิช 12 13 14 39  13 เด็กชาย ธีรภัทร ฆ้องรัน 13 12 13 38  14 เด็กชาย นครินทร์ พวงชาติ 12 12 12 36  15 เด็กชาย นฤสรณ์ นภาโชติ 13 12 12 37  16 เด็กชาย ประกาศิต สมเพชร 12 15 14 41  17 เด็กชาย ปิยังกูร ฟุ้งมาก 14 14 14 42  18 เด็กชาย พงศภัท ภูต้อม 14 14 14 42 
  • 42. 351 ที่ ชื่อ-สกุล ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา รวม สรุปผล การประเมิน 15 15 15 45 ผ่าน ไม่ ผ่าน 19 เด็กชาย พีระพล แม้ประเสริฐ 13 12 12 37  20 เด็กชาย ไพรวรรณ พุฒพงษ์ 12 14 14 40  21 เด็กชาย ยุทธชัย เมฑมล 12 13 14 39  22 เด็กชาย วราธร บุญตุ้ม 13 12 13 38  23 เด็กชาย ศักดินนท์ กอเซ็ม 12 12 12 36  24 เด็กชาย สมหวัง นามทัศน์ 13 15 15 43  25 เด็กชาย สิทธิกร ศิริมงคล 14 14 14 42  26 เด็กชาย อภิวัฒน์ มณีโชติ 12 13 14 39  27 เด็กหญิง ฐิติรัตน์ ล้าศรี 15 15 14 44  28 เด็กหญิง วรัฐยา ทองสร้อย 14 14 14 42  29 เด็กหญิง ศิริลักษณ์ พงษ์สุข 12 13 14 39  30 เด็กหญิง อนุสรา โนนพรมราช 13 12 13 38  31 เด็กหญิง อภัชชา ธิน้อมธรรม 14 13 12 40  หมายเหตุ ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินต้องได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป คือ ตั้งแต่ 32 คะแนนขึ้นไป (ลงชื่อ) ............................................... ผู้ประเมิน (นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์)