SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ทรัพยากรน้า
ทรัพยากรน้า

     โลกของเราประกอบขึ้นด้วยพื้นดินและพื้นน้ า โดยส่ วนที่เป็ นฝื นน้ านั้น มีอยู่
ประมาณ 3ส่ วน (75%) และเป็ นพื้นดิน 1 ส่ วน (25%) น้ ามีความสาคัญอย่างยิงกับชีวต
                                                                              ่      ิ
ของพืชและสัตว์บนโลกรวมทั้งมนุษย์เราด้วย
น้ าเป็ นทรัพยากรที่สามารถเกิดหมุนเวียนได้เรื่ อย ๆ ไม่มีวนหมดสิ้ น เมื่อแสงแดดส่ องมา
                                                          ั
บนพื้นโลก น้ าจากทะเลและมหาสมุทรก็จะระเหยเป็ นไอน้ าลอยขึ้นสู่ เบื้องบนเนื่องจาก
ไอน้ ามีความเบากว่าอากาศ เมื่อไอน้ าลอยสู่เบื้องบนแล้ว จะได้รับความเย็นและกลันตัว  ่
กลายเป็ นละอองน้ าเล็ก ๆ ลอยจับตัวกันเป็ นกลุ่มเมฆ เมื่อจับตัวกันมากขึ้นและกระทบ
ความเย็นก็จะกลันตัวกลายเป็ นหยดน้ าตกลงสู่พ้ืนโลก น้ าบนพื้นโลกจะระเหยกลายเป็ น
                    ่
ไอน้ าอีกเมื่อได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ ไอน้ าจะรวมตัวกันเป็ นเมฆและกลันตัว   ่
เป็ นหยดน้ ากระบวนการเช่นนี้ เกิดขึ้นเป็ นวัฏฎจักรหมุนเวียนต่อเนื่องกันตลอดเวลา
                                                    ่
เรี ยกว่า วัฎจักรน้ า ทาให้มีน้ าเกิดขึ้นบนผิวโลกอยูสม่าเสมอ
ประโยชน์ ของนา
                                      ้

                                                             ิ ่
             น้ าเป็ นแหล่งกาเนิดชีวตของสัตว์และพืชคนเรามีชีวตอยูโดยขาดน้ าได้ไม่เกิน 3 วัน
                                    ิ
      และน้ ายังมีความจาเป็ นทั้งในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่ งมีความสาคัญอย่าง
      ยิงในการพัฒนาประเทศ ประโยชน์ของน้ า ได้แก่
        ่
§ น้ าเป็ นสิ่ งจาเป็ นที่เราใช้สาหรับการดื่มกิน การประกอบอาหาร ชาระร่ างกาย ฯลฯ
                                                                    ่
§ น้ ามีความจาเป็ นสาหรับการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ แหล่งน้ าเป็ นที่อยูอาศัยของปลาและสัตว์
      น้ าอื่น ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็ นอาหาร
§ ในการอุตสาหกรรม ต้องใช้น้ าในขบวนการผลิตใช้ลางของเสี ยใช้หล่อเครื่ องจักรและ
                                                        ้
      ระบายความร้อน ฯลฯ
§ น้ าเป็ นแหล่งพลังงาน พลังงานจากน้ าใช้ทาระหัด ทาเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้ าได้
§ แม่น้ า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็ นเส้นทางคมนาคมขนส่งที่สาคัญ
§ ทัศนียภาพของริ มฝั่งทะเลและน้ าที่ใสสะอาดเป็ นแหล่งท่องเที่ยวของมนุษย์
ปัญหาของทรัพยากรน้า

1. ปัญหาการมีนาน้ อยเกินไป เกิดการขาดแคลนอันเป็ นผลเนื่องจากการตัดไม้ทาลายป่ า ทา
                      ้
     ให้ปริ มาณน้ าฝนน้อยลง เกิดความแห้งแล้งเสี ยหายต่อพืชเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์
2. ปัญหาการมีนามากเกินไป เป็ นผลมาจากการตัดไม้มากเกินไป ทาให้เกิดน้ าท่วมไหลบ่า
                        ้
     ในฤดูฝน สร้างความเสี ยหายแก่ชีวตและทรัพย์สิน
                                              ิ
3. ปัญหานาเสี ย เป็ นปัญหาใหม่ในปั จจุบน สาเหตุที่ทาให้เกิดน้ าเสี ย ได้แก่
               ้                                ั
  -น้ าทิ้งจากบ้านเรื อน ขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิกลที่ถูกทิ้งสู่ แม่น้ าลาคลอง
                                                     ู
  -น้ าเสี ยจากโรงงานอุตสาหกรรม
  -น้ าฝนพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แม่น้ าลาคลอง
  -น้ าเสี ยที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลเสี ยหายทั้งต่อสุ ขภาพอนามัย เป็ นอันตรายต่อสัตว์น้ า และมนุษย์
     ส่ งกลิ่นเหม็น รบกวน ทาให้ไม่สามารถนาแหล่งน้ านั้นมาใช้ประโยชน์ได้ท้ งการ       ั
     อุปโภค บริ โภค เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม
ผลกระทบของน้าเสี ยตอสิ่ งแวดลอม
                   ่         ้
• เป็ นแหล่งแพร่ ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด ท้องเสี ย
• เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนาโรคต่าง ๆ
• ทาให้เกิดปัญหามลพิษต่อดิน น้ า และอากาศ
• ทาให้เกิดเหตุราคาญ เช่น กลิ่นเหม็นของน้ าโสโครก
• ทาให้เกิดการสู ญเสี ยทัศนียภาพ เกิดสภาพที่ไม่น่าดู เช่น สภาพน้ าที่มีสีดาคล้ าไปด้วย
  ขยะ และสิ่ งปฏิกลู
• ทาให้เกิดการสูญเสี ยทางเศรษฐกิจ เช่น การสูญเสี ยพันธุ์ปลาบางชนิดจานวนสัตว์น้ า
  ลดลง
• ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในระยะยาว
การอนุ รกษน้า
                         ั ์

     ดังได้กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า น้ ามีความสาคัญและมีประโยชน์มหาศาล เราจึงควร
ช่วยแก้ไขปัญหาน้ าเสี ยหรื อการสู ญเสี ยทรัพยากรน้ าด้วยการอนุรักษ์น้ า ดังนี้
1. การใช้ นาอย่ างประหยัด การใช้น้ าอย่างประหยัดนอกจากจะลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ า
           ้
ลงได้แล้ว ยังทาให้ปริ มาณน้ าเสี ยที่จะทิ้งลงแหล่งน้ ามีปริ มาณน้อย และป้ องกันการขาด
แคลนน้ าได้ดวย ้
2. การสงวนนาไว้ ใช้ ในบางฤดูหรือในสภาวะทีมนามากเหลือใช้ ควรมีการเก็บน้ าไว้ใช้
                 ้                             ่ ี ้
เช่น การทาบ่อเก็บน้ า การสร้างโอ่งน้ า ขุดลอกแหล่งน้ า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้ า
และระบบชลประทาน
3. การพัฒนาแหล่ งนา ในบางพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ า จาเป็ นที่จะต้องหาแหล่งน้ าเพิ่มเติม
                     ้
เพื่อให้สามารถมีน้ าไว้ใช้ ทั้งในครัวเรื อนและในการเกษตรได้อย่างพอเพียง ปั จจุบน  ั
การนาน้ าบาดาลขึ้นมาใช้กาลังแพร่ หลายมากขึ้นแต่อาจมีปัญหาเรื่ องแผ่นดินทรุ ด
การอนุ รกษน้า
                          ั ์

4. การป้ องกันนาเสี ย การไม่ทิ้งขยะและสิ่ งปฏิกลและสารพิษลงในแหล่งน้ า น้ าเสี ยที่เกิด
                ้                              ู
จากโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมีการบาบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อย
ลงสู่แหล่งน้ า
5. การนานาเสี ยกลับไปใช้ น้ าที่ไม่สามารถใช้ได้ในกิจการอย่างหนึ่งอาจใช้ได้ในอีก
           ้
กิจการหนึ่ง เช่น น้ าทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร สามารถนาไปรดต้นไม้ได้
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ

More Related Content

What's hot

เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.muk290140
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
ผลการผลิต เชียงใหม่
ผลการผลิต เชียงใหม่ผลการผลิต เชียงใหม่
ผลการผลิต เชียงใหม่Dow P.
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 

What's hot (6)

เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
ผลการผลิต เชียงใหม่
ผลการผลิต เชียงใหม่ผลการผลิต เชียงใหม่
ผลการผลิต เชียงใหม่
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 

Similar to Powerpoint ทรัพยากรน้ำ

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)Araya Toonton
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1Nuttayaporn2138
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงChutikan Mint
 
ปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วมปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วมchakhrit2211
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjintana533
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjirawat191
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 

Similar to Powerpoint ทรัพยากรน้ำ (20)

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
ปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วมปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 

Powerpoint ทรัพยากรน้ำ

  • 2.
  • 3. ทรัพยากรน้า โลกของเราประกอบขึ้นด้วยพื้นดินและพื้นน้ า โดยส่ วนที่เป็ นฝื นน้ านั้น มีอยู่ ประมาณ 3ส่ วน (75%) และเป็ นพื้นดิน 1 ส่ วน (25%) น้ ามีความสาคัญอย่างยิงกับชีวต ่ ิ ของพืชและสัตว์บนโลกรวมทั้งมนุษย์เราด้วย น้ าเป็ นทรัพยากรที่สามารถเกิดหมุนเวียนได้เรื่ อย ๆ ไม่มีวนหมดสิ้ น เมื่อแสงแดดส่ องมา ั บนพื้นโลก น้ าจากทะเลและมหาสมุทรก็จะระเหยเป็ นไอน้ าลอยขึ้นสู่ เบื้องบนเนื่องจาก ไอน้ ามีความเบากว่าอากาศ เมื่อไอน้ าลอยสู่เบื้องบนแล้ว จะได้รับความเย็นและกลันตัว ่ กลายเป็ นละอองน้ าเล็ก ๆ ลอยจับตัวกันเป็ นกลุ่มเมฆ เมื่อจับตัวกันมากขึ้นและกระทบ ความเย็นก็จะกลันตัวกลายเป็ นหยดน้ าตกลงสู่พ้ืนโลก น้ าบนพื้นโลกจะระเหยกลายเป็ น ่ ไอน้ าอีกเมื่อได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ ไอน้ าจะรวมตัวกันเป็ นเมฆและกลันตัว ่ เป็ นหยดน้ ากระบวนการเช่นนี้ เกิดขึ้นเป็ นวัฏฎจักรหมุนเวียนต่อเนื่องกันตลอดเวลา ่ เรี ยกว่า วัฎจักรน้ า ทาให้มีน้ าเกิดขึ้นบนผิวโลกอยูสม่าเสมอ
  • 4. ประโยชน์ ของนา ้ ิ ่ น้ าเป็ นแหล่งกาเนิดชีวตของสัตว์และพืชคนเรามีชีวตอยูโดยขาดน้ าได้ไม่เกิน 3 วัน ิ และน้ ายังมีความจาเป็ นทั้งในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่ งมีความสาคัญอย่าง ยิงในการพัฒนาประเทศ ประโยชน์ของน้ า ได้แก่ ่ § น้ าเป็ นสิ่ งจาเป็ นที่เราใช้สาหรับการดื่มกิน การประกอบอาหาร ชาระร่ างกาย ฯลฯ ่ § น้ ามีความจาเป็ นสาหรับการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ แหล่งน้ าเป็ นที่อยูอาศัยของปลาและสัตว์ น้ าอื่น ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็ นอาหาร § ในการอุตสาหกรรม ต้องใช้น้ าในขบวนการผลิตใช้ลางของเสี ยใช้หล่อเครื่ องจักรและ ้ ระบายความร้อน ฯลฯ § น้ าเป็ นแหล่งพลังงาน พลังงานจากน้ าใช้ทาระหัด ทาเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ § แม่น้ า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็ นเส้นทางคมนาคมขนส่งที่สาคัญ § ทัศนียภาพของริ มฝั่งทะเลและน้ าที่ใสสะอาดเป็ นแหล่งท่องเที่ยวของมนุษย์
  • 5.
  • 6. ปัญหาของทรัพยากรน้า 1. ปัญหาการมีนาน้ อยเกินไป เกิดการขาดแคลนอันเป็ นผลเนื่องจากการตัดไม้ทาลายป่ า ทา ้ ให้ปริ มาณน้ าฝนน้อยลง เกิดความแห้งแล้งเสี ยหายต่อพืชเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ 2. ปัญหาการมีนามากเกินไป เป็ นผลมาจากการตัดไม้มากเกินไป ทาให้เกิดน้ าท่วมไหลบ่า ้ ในฤดูฝน สร้างความเสี ยหายแก่ชีวตและทรัพย์สิน ิ 3. ปัญหานาเสี ย เป็ นปัญหาใหม่ในปั จจุบน สาเหตุที่ทาให้เกิดน้ าเสี ย ได้แก่ ้ ั -น้ าทิ้งจากบ้านเรื อน ขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิกลที่ถูกทิ้งสู่ แม่น้ าลาคลอง ู -น้ าเสี ยจากโรงงานอุตสาหกรรม -น้ าฝนพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แม่น้ าลาคลอง -น้ าเสี ยที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลเสี ยหายทั้งต่อสุ ขภาพอนามัย เป็ นอันตรายต่อสัตว์น้ า และมนุษย์ ส่ งกลิ่นเหม็น รบกวน ทาให้ไม่สามารถนาแหล่งน้ านั้นมาใช้ประโยชน์ได้ท้ งการ ั อุปโภค บริ โภค เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม
  • 7.
  • 8. ผลกระทบของน้าเสี ยตอสิ่ งแวดลอม ่ ้ • เป็ นแหล่งแพร่ ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด ท้องเสี ย • เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนาโรคต่าง ๆ • ทาให้เกิดปัญหามลพิษต่อดิน น้ า และอากาศ • ทาให้เกิดเหตุราคาญ เช่น กลิ่นเหม็นของน้ าโสโครก • ทาให้เกิดการสู ญเสี ยทัศนียภาพ เกิดสภาพที่ไม่น่าดู เช่น สภาพน้ าที่มีสีดาคล้ าไปด้วย ขยะ และสิ่ งปฏิกลู • ทาให้เกิดการสูญเสี ยทางเศรษฐกิจ เช่น การสูญเสี ยพันธุ์ปลาบางชนิดจานวนสัตว์น้ า ลดลง • ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในระยะยาว
  • 9. การอนุ รกษน้า ั ์ ดังได้กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า น้ ามีความสาคัญและมีประโยชน์มหาศาล เราจึงควร ช่วยแก้ไขปัญหาน้ าเสี ยหรื อการสู ญเสี ยทรัพยากรน้ าด้วยการอนุรักษ์น้ า ดังนี้ 1. การใช้ นาอย่ างประหยัด การใช้น้ าอย่างประหยัดนอกจากจะลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ า ้ ลงได้แล้ว ยังทาให้ปริ มาณน้ าเสี ยที่จะทิ้งลงแหล่งน้ ามีปริ มาณน้อย และป้ องกันการขาด แคลนน้ าได้ดวย ้ 2. การสงวนนาไว้ ใช้ ในบางฤดูหรือในสภาวะทีมนามากเหลือใช้ ควรมีการเก็บน้ าไว้ใช้ ้ ่ ี ้ เช่น การทาบ่อเก็บน้ า การสร้างโอ่งน้ า ขุดลอกแหล่งน้ า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้ า และระบบชลประทาน 3. การพัฒนาแหล่ งนา ในบางพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ า จาเป็ นที่จะต้องหาแหล่งน้ าเพิ่มเติม ้ เพื่อให้สามารถมีน้ าไว้ใช้ ทั้งในครัวเรื อนและในการเกษตรได้อย่างพอเพียง ปั จจุบน ั การนาน้ าบาดาลขึ้นมาใช้กาลังแพร่ หลายมากขึ้นแต่อาจมีปัญหาเรื่ องแผ่นดินทรุ ด
  • 10.
  • 11. การอนุ รกษน้า ั ์ 4. การป้ องกันนาเสี ย การไม่ทิ้งขยะและสิ่ งปฏิกลและสารพิษลงในแหล่งน้ า น้ าเสี ยที่เกิด ้ ู จากโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมีการบาบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อย ลงสู่แหล่งน้ า 5. การนานาเสี ยกลับไปใช้ น้ าที่ไม่สามารถใช้ได้ในกิจการอย่างหนึ่งอาจใช้ได้ในอีก ้ กิจการหนึ่ง เช่น น้ าทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร สามารถนาไปรดต้นไม้ได้