SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
เชิญตะวัน
เชิญสิงดีๆ
มาสูชวต
เชิญพรทีสมฤทธิมาสร้างชีวา
      ่        ่ ีิ        ่ั    ์

                     

                     




               ว.
วชิรเมธี
คำปรารภ
                                                              และมีศกยภาพในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจะเกิดขึนมาได้อย่างไร
                                                                                                                        ั                                                  ้
                                                                                                                          ต่ อ มาคุ ณ นั น ทนา มั่ น เศรษฐวิ ท ย์ ได้ น ำเรื่ อ งที่ ส นทนากั น ไปนำเสนอให้ คุ ณ อุ ด ม 	
    (จากห้องสมุดธรรมดา
–
โรงเรียนเตรียมสามเณร)

                                                             อุดมปัญญาวิทย์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการบริษัท ยูแทคไทย จำกัด
                                                                                                             ในขณะนั้นพิจารณา ผลก็คือ คุณอุดม อุดมปัญญาวิทย์ รวมทั้งผู้บริหารระดับสูงของบริษัท
                 นับแต่อาตมภาพบวชเรียนที่วัดครึ่งใต้ ตำบลครึ่ง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
                                                                                                             ทุกคนต่างมีความเห็นเป็นเอกฉันท์วา ควรส่งเสริมการศึกษาของคณะสงฆ์ให้ดทสด และนันจึง
                                                                                                                                                         ่                                               ี ี่ ุ        ่
เมื่อปี ๒๕๓๐ เป็นต้นมา และยังอยู่เป็นสามเณรศึกษาพระปริยัติธรรมและศึกษาวิชาสามัญ
                                                                                                             เป็นทีมาของการ “ทอดกฐินสามัคคี” ณ วัดครึงใต้ ในปี ๒๕๔๗ ซึงเป็นปีแรก และเป็นจุดเริมต้น
                                                                                                                      ่                                                ่                    ่                        ่
จนสำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในปี ๒๕๓๒ นั้น ตลอดเวลาดังกล่าวที่ได้อาศัยศึกษาพระธรรม
                                                                                                             ของการทอดกฐินในปีต่อๆ มาอย่างต่อเนื่องยาวนาน จนในที่สุดเจตนารมณ์ซึ่งเป็นเพียงความฝัน
วินัยอยู่ในวัดครึ่งใต้ ผู้เขียนได้พบเห็นสภาพความขาดแคลนของวัดในหลายเรื่องด้วยกัน เช่น
                                                                                                             ในอดี ต ก็ ไ ด้ รั บ การสานต่ อ ให้ เ ห็ น เป็ น รู ป ธรรม กล่ า วคื อ คุ ณ อุ ด ม อุ ด มปั ญ ญาวิ ท ย์ และ
ขาดแคลนอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน ขาดแคลนอาคารเรียน ขาดแคลนครูบาอาจารย์
                                                                                                             กัลยาณมิตรอีกหลายบริษัทได้ร่วมกันสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่สวยงาม พรั่งพร้อมด้วย
ขาดแคลนงบประมาณ สิ่งเดียวเท่านั้นที่ทางโรงเรียนวัดแห่งนี้มีพร้อมอย่างเต็มเปี่ยมก็คือ
                                                                                                             อุปกรณ์ทางการศึกษาสมบูรณ์แบบที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย และมอบถวายไว้กับวัดครึ่งใต้
ความตั้งใจอย่างแน่วแน่ที่จะเปิดโอกาสทางการศึกษาให้แก่พระภิกษุสามเณรให้ได้รับการศึกษา
                                                                                                             ต.ครึ่ง อ.เชียงของ จ.เชียงราย พร้อมทั้งได้กราบทูลเชิญเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 	
อย่างดีทสดของท่านเจ้าอาวาส ซึงก็คอ พระครูวรฬห์วรยธรรม ในปัจจุบนนี้
               ี่ ุ                           ่ ื              ิุ ิิ                   ั
                                                                                                             สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเป็นประธานเปิดอาคารเรียนอย่างเป็นทางการ
                 วันหนึ่ง เมื่อผู้เขียนไปนั่งอ่านหนังสืออยู่ในห้องสมุดเก่าๆ ของวัด ซึ่งเป็นห้องสมุดที่       เมือวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ การเสด็จพระราชดำเนินในวันนัน นำความปลาบปลืมยินดีมาสู่
                                                                                                                 ่                                                                        ้                     ้
สร้างขึนมาตามยถากรรม กล่าวคือ ใช้ไม้ฟากกันเป็นห้องโดยมีฝาผนังข้างหนึงเป็นกำแพงวัดทีใช้
             ้                                                   ้                         ่           ่     ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างหาที่สุดมิได้ และกลายเป็นประวัติศาสตร์แห่งความภาคภูมิใจร่วมกัน
เป็นผนังห้องสมุดไปด้วยในตัว ขณะทีผเู้ ขียนซึงขณะนันยังเป็นสามเณรอายุเพียง ๑๔ ปี นังพิงผนัง
                                                  ่          ่         ้                            ่        ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งก็คือ แก่ผู้บริหาร พนักงานทุกคนของบริษัท
ห้องสมุดอ่านหนังสืออย่างเพลิดเพลินเจริญใจแล้วก็เดินออกมาจากห้องสมุด เพือเข้าเรียนในวิชา        ่             ยูแทคไทย จำกัด ในวันนี้ ที่ได้มองเห็นว่า เงินทุกบาททุกสตางค์ที่เกิดจากการทอดกฐินทุกปีนั้น
ต่อไปนั้น เพื่อนๆ ก็ชี้มาที่ผู้เขียนพลางหัวเราะฮากันครืน เมื่อผู้เขียนหันไปสำรวจก็พบความผิด                  ถูกใช้ไปอย่างคุมค่าและมีความหมายทางการศึกษามากทีสด
                                                                                                                                   ้                                               ุ่
ปกติอันเป็นที่มาของเสียงหัวเราะ นั่นก็คือ ผนังปูนเก่าๆ สีขาวซีดของผนังห้องสมุดได้ลอกติด
แผ่นหลังของผูเ้ ขียนออกมาด้วยหนึงแผ่น ผูเ้ ขียนแกะผนังปูนเก่าๆ นันออกจากแผ่นหลังของตัวเอง
                                               ่                                   ้                                      หลังจากงานเปิดโรงเรียนที่พัฒนามาจากห้องสมุดเพียงห้องเดียวในยุคต้นของงาน
แล้วนาทีนนเอง ก็เกิดปณิธานขึนมาในใจว่า “วันหนึ่งข้างหน้า หากสามารถพึ่งตนเองในทาง	
                    ั้                      ้                                                                พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆ์ที่ริเริ่มโดยผู้เขียนและคุณอุดม อุดมปัญญาวิทย์แล้ว คุณอุดม
สติปญญาได้เมือไหร่ จะขอกลับมาสร้างห้องสมุดทีดทสดให้แก่โรงเรียนวัดแห่งนีให้จงได้” 	
           ั             ่                                                ่ ี ี่ ุ                ้          อุดมปัญญาวิทย์ พร้อมทังประธานเจ้าหน้าทีบริหารและกรรมการผูจดการบริษท ยูแทคไทย จำกัด
                                                                                                                                               ้                   ่                        ้ั        ั
แม้วนเวลาจะผ่านไปเนินนานเพียงไร แต่ปณิธานนีกยงคงก้องกังวานอยูในใจของผูเ้ ขียนเสมอมา
         ั                       ่                                 ้็ั                   ่                   ยั ง คงมี วิ สั ย ทั ศ น์ ต่ อ ไปว่ า ควรมี ก ารจั ด ระบบการบริ ห ารงานของโรงเรี ย นในทุ ก เรื่ อ งให้ มี
                                                                                                             ระบบมาตรฐาน สมกับทีได้รวมกันสร้างสรรค์พฒนามาแต่ตน อย่างน้อยทีสดก็ควรจะเป็นโรงเรียน
                                                                                                                                              ่ ่                        ั            ้            ุ่
                 อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อผู้เขียนเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นจากการเขียนหนังสือชื่อ “ธรรมะติดปีก”
                                                                                                             พระปริยัติธรรมตัวอย่างหรือเป็นโรงเรียนเตรียมสามเณรในอนาคต สมตามแนวพระราชดำริใน
บ้างแล้ว ก็มเี หตุให้ได้พบกับกัลยาณมิตรคนหนึงคือ คุณนันทนา มันเศรษฐวิทย์ มหาอุบาสิกา
                                                               ่                     ่
                                                                                                             สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทได้พระราชทานในวันเสด็จพระราชดำเนิน
                                                                                                                                                                                ี่
ผูสนใจในธรรมปฏิบตได้มานังสนทนาธรรมกับผูเ้ ขียนทีวดเบญจมบพิตร ช่วงหนึงของการสนทนา
   ้                          ัิ        ่                                ่ั                  ่
                                                                                                             ด้วย ด้วยวิสัยทัศน์อันยาวไกลดังกล่าว จึงเป็นเหตุให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการกำกับทิศทางและ
คุณนันทนา มั่นเศรษฐวิทย์ ได้ปวารณาตนขอถวายความอุปถัมภ์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
                                                                                                             แนวนโยบายในการบริหารโรงเรียนขึนมาชุดหนึงโดยมีคณอุดม อุดมปัญญาวิทย์ และผู้เขียนร่วมกัน
                                                                                                                                                       ้             ่       ุ
ผู้ เ ขี ย นจึ ง นำเสนอว่ า หากอยากส่ ง เสริ ม การเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา ไม่ มี วิ ธี ใ ดจะดี ไ ปกว่ า
                                                                                                             เป็นประธาน และเพื่อให้การที่ริเริ่มไว้สำเร็จเป็นรูปธรรม คณะกรรมการจึงเห็นควรจัดตั้งมูลนิธิ
การช่วยกัน “ถวายความรู้” ให้แก่พระภิกษุสามเณรซึ่งเป็นศาสนทายาทให้ได้รับการศึกษา
                                                                                                             ขึนมามูลนิธหนึง เพือรองรับการบริหารกิจการของโรงเรียนให้มความยังยืนต่อไปในอนาคต
                                                                                                               ้              ิ ่ ่                                                     ี      ่
อย่างดีที่สุด เมื่อคุณนันทนาเห็นด้วย ผู้เขียนจึงเสนอว่า ควรร่วมกันสร้างห้องสมุดให้พระภิกษุ
สามเณรได้อ่านหนังสือกันให้มากๆ เพราะหากพระภิกษุสามเณรมีความรู้ไม่มาก เติบโตขึ้นมา                                         ด้วยเหตุดังกล่าวมา การทอดกฐินสามัคคีที่นำโดยบริ ษั ท ยู แ ทคไทย จำกั ด ในปี
ในระบบการศึ ก ษาที่ ก ะพร่ อ งกะแพร่ ง ทั้ ง ยั ง ไม่ รั ก ในการแสวงหาวิ ช าความรู้ หรื อ ถึ ง รั ก          ๒๕๕๒ นี้ คุ ณ อุ ด ม อุ ด มปั ญ ญาวิ ท ย์ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การ
ในการแสวงหาวิชาความรู้ แต่หากไม่มสถาบันการศึกษาทีดพอ พระภิกษุสามเณรทีเ่ ป็นปัญญาชน
                                                    ี                        ่ี                              บริษท ยูแทคไทย จำกัด ในฐานะประธานกรรมการกฐินอีกตำแหน่งหนึง จึงระบุวตถุประสงค์ของ
                                                                                                                    ั                                                                            ่        ั
การทอดกฐินไว้ว่า ต้องการระดมเงินทุนจำนวนหนึ่งเพื่อจัดตั้งเป็นมูลนิธิสำหรับอุปถัมภ์
โรงเรียน ความดำริที่เป็นกุศลดังกล่าวนี้ทราบไปถึงคุ ณ ยายทั ศ นี ย์ บุ รุ ษ พั ฒ น์ ซึ่งเป็น
นักการศึกษาผู้ปรารถนาจะสร้างศาสนทายาทระดับปัญญาชนไว้ให้กับสถาบันสงฆ์ไทย                                                                  สารบัญ
เป็นทุนเดิมอยูแล้ว จึงมีมทตาจิต ขอร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินอีกส่วนหนึงด้วย
                      ่         ุิ                                           ่
              จึงเป็นอันว่า กฐินสามัคคีประจำปี ๒๕๕๒ นี้ จึงมีบริษัทยูแทคไทย จำกัด และ
                                                                                                                                                                    หน้า
คุณยายทัศนีย์ บุรษพัฒน์ และครอบครัวร่วมกันเป็นเจ้าภาพหลัก โดยมีกลยาณมิตรจากบริษท
                          ุ                                                         ั                        ั   ภาค ๑ ทฤษฎี
และองค์กรอืนๆ อีกหลายแห่งร่วมเป็นบุญภาคีผมสวนแห่งความดีเช่นทีเ่ คยจัดมาทุกปี
                    ่                                ู้ ี ่
              ความสำเร็จของ “โครงการพัฒนาการศึกษาของคณะสงฆ์แห่งอนุภมภาคลุมน้ำโขง”        ู ิ ่                   	 	 	 ดั่งดวงตะวัน                                  ๗
ในเบื้องต้นเท่าที่กล่าวมานั้น เกิดขึ้นได้ก็เพราะความเสียสละของกัลยาณมิตรชาวยูแทคไทย                                     กัลยาณมิตรธรรม :
ทุกคน กอปรกับวิสัยทัศน์ทางการศึกษาของผู้บริหารระดับสูงของบริษัทยูแทคไทย จำกัด
ที่นำโดยคุณอุดม อุดมปัญญาวิทย์ เป็นต้น จึงทำให้วันนี้มีพระภิกษุสามเณรมากมาย                                             ภาวะผู้นำของกัลยาณมิตร                       ๑๓
ในท้องถินทุรกันดารได้รบโอกาสทางการศึกษาอย่างดียง
            ่               ั                                   ิ่
              ผู้เขียนในฐานะประธานกรรมการพัฒนาการศึกษาของคณะสงฆ์แห่งอนุภูมิภาค                                   ภาค ๒ กรณีศึกษา                                     ๑๗	
ลุ่มน้ำโขง ตระหนักในคุณูปการอันสูงยิ่งของคุณอุดม อุดมปัญญาวิทย์ และชาวยูแทคไทย
ทุกคน ตลอดจนถึงภาคีกลยาณมิตรทุกภาคส่วนทีได้ชวยกันสร้างฝันให้เป็นจริง จึงขอถือโอกาส
                              ั                          ่ ่
                                                                                                                        ความรู้จักคิดและกัลยาณมิตรของ
นี้ ก ล่ า วอนุ โ มทนาและบั น ทึ ก กุ ศ ลกิ ริ ย าของทุ ก ท่ า น ทุ ก คน ทุ ก ฝ่ า ย ไว้ ใ ห้ เ ป็ น หลั ก ฐาน          - พระเจ้าอโศกมหาราช :
ทางประวัติศาสตร์ในบรรทัดนี้ ที่ครั้งหนึ่งในชีวิตเราทั้งหลายได้ร่วมกันสร้างสิ่งที่ดีที่สุดคือ                              จากทรราชกระหายสงครามเป็นมหาราชโลกไม่ลืม    ๒๐
โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมมอบไว้ ใ ห้ เ ป็ น สมบั ติ ข องพระบวรพุ ท ธศาสนา พร้ อ มทั้ ง ยั ง ได้
มอบโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กเยาวชนอีกมากมายนับไม่ถวน ในโอกาสอันเป็นมงคลยิงทีเ่ รา
                                                                      ้                                  ่              - องคุลิมาล :
ได้มาร่วมกันทอดกฐินสามัคคีอีกครั้งหนึ่งนี้ ผู้เขียนก็ขออัญเชิญคุณพระศรีรัตนตรัยอำนวยพร                                    จากฆาตกรใจร้ายกลายเป็นพระอรหันต์เปี่ยมเมตตา ๓๔
ให้ผู้เกี่ยวข้องกับการทอดกฐินสามัคคีในคราวนี้ จงประสบความสุข สิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล
สมบูรณ์พูนผลด้วยศีล สมาธิ ปัญญา และจงได้ดวงตาเห็นธรรมตามองค์สมเด็จพระสัมมา                                              - กิสาโคตมี :
สัมพุทธเจ้าโดยทัวหน้ากันด้วยเทอญ
                        ่                                                                                                 จากสตรีวิกลจริตพลิกชีวิตเป็นพระอรหันต์     ๔๐
                                                                                                                        - หลุยส์ เบรลล์ :
                                                                    พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี
                                                    ประธานกรรมการพัฒนาการศึกษาของคณะสงฆ์                                  จากคนตาบอดสู่คนของโลก                      ๔๖
                                                                     แห่งอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง                           - อัลเฟรด โนเบล :
                                                                         ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๒
                                                                                                                          จากคนบาปกลายเป็นนักบุญอันดับหนึ่งของโลก    ๕๕
หน้า

ภาค ๓ วิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงชีวิตของบุคคลสำคัญ ๖๕	
      - อโศกมหาราช
                                                                                 ภาค
๑
ทฤษฎี
      - องคุลิมาล
      - กิสาโคตมี
                                                                                       ดั่งดวงตะวัน
      - หลุยส์ เบรลล์
      - อัลเฟรด โนเบล
                                                                    พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งการศึกษา มนุษย์ทุกคน
ภาคพิเศษ                                             ๖๖	
                                                             มีศักยภาพในการเป็นนักศึกษา กล่าวคือ สามารถฝึก หัด พัฒนา
      บริษัทยูแทคไทย จำกัด : กัลยาณมิตรยิ่งใหญ่              ให้มีพัฒนาการที่ดียิ่งๆ ขึ้นไปจากปุถุชนจนเป็นกัลยาณชน และ
      ผู้สร้างโรงเรียนเตรียมสามเณรวัดครึ่งใต้วิทยา           อารยชนในที่สุด ผู้ที่ศึกษาสำเร็จการศึกษาตามแนวทางของพุทธ-

                                                            ศาสนา นับว่าเป็น “พุทธะ” คือ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน	

                                                                       ที่ว่าเป็น ผู้รู้ หมายถึง รู้จักโลกและชีวิตตามความเป็นจริง
                                                             เช่น รู้ว่าโลกและชีวิตเป็นไปตามเหตุตามปัจจัย ไม่ได้เป็นไปตามที่
                                                             ใจเราต้องการ รูวาใดๆ ในโลกล้วนตกอยูภายใต้กฎไตรลักษณ์ คือ
                                                                                    ้่                          ่
                                                             ไม่ เ ที่ ย ง เป็ น ทุ ก ข์ เป็ น อนั ต ตา (ไม่ แ น่ ไม่ ไ ด้ ดั่ ง ใจ ไม่ มี อ ะไร
                                                             สมบูรณ์แบบ) รู้ว่ากายใจของเราเป็นเพียงองค์ประกอบของเหตุ
                                                             ปัจจัยฝ่ายรูปธรรมและนามธรรมมารวมกันชั่วคราว ตัวตน (อัตตา)
ที่แท้จริงของเรานั้นไม่มี ความรู้สึกว่าตัวฉัน (อหังการ) ของฉัน        ผูรู้ ผูตน ผู้เบิกบาน ฉันนั้น บัวทุกดอกมีวิวัฒนาการสูงสุดอยู่ที่การ
                                                                         ้ ้ ื่
(มมังการ) นี่แหละตัวฉัน (เอโสหมสฺม) เป็นเพียงความหลงผิดทีเรา
                                     ิ                     ่          ได้ ผ ลิ บ าน มนุ ษ ย์ ทุ ก คนก็ มี วิ วั ฒ นาการสู ง สุ ด อยู่ ที่ ก ารได้ ตื่ น รู้
คิดกันขึนมาเอง หรือความรูวา ชีวิตของมนุษย์ทุกคนล้วนมีโอกาส
        ้                  ้่                                         สู่อิสรภาพ
เผชิญโลกธรรมทั้ง ๘ อันประกอบด้วยได้ลาภ เสื่อมลาภ ได้ยศ
                                                                            มนุษย์มีศักยภาพที่จะเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานได้ก็จริงอยู่ แต่
เสือมยศ สรรเสริญ นินทา สุข ทุกข์
   ่
                                                                      ศักยภาพเช่นว่านั้นจะได้รับการพัฒนาขึ้นมาหรือไม่ ย่อมขึ้นอยู่กับ
       กล่าวอย่างถึงทีสด ความรูจกโลกและชีวตตามความเป็นจริง
                        ่ ุ        ้ั          ิ                      เหตุปัจจัย ๒ ประการ ซึ่งพระพุทธองค์ทรงเรียกว่า “บุพนิมิตแห่ง
คือ การรู้ว่าชีวิตเป็นทุกข์ (ทุกข์) และความทุกข์นั้นเกิดขึ้นมาจาก     มรรค” หรือ “รุ่งอรุณของชีวิตดีงาม”
สาเหตุคืออวิชชา (สมุทัย) แต่เมื่อความทุกข์มีอยู่ ภาวะที่ปลอด
                                                                            บุพนิมิตแห่งมรรค (มรรคมีองค์ ๘ หรือ ระบบการศึกษาเพื่อ
ทุกข์ก็มีอยู่เช่นกัน (นิโรธ) และทางดับทุกข์นั้น ก็มีอยู่แล้ว (มรรค)
                                                                      พัฒนาศักยภาพแห่งความเป็นพุทธ) หรือ “รุ่งอรุณของชีวิตดีงาม”
เป็นต้น
                                                                      ตามที่กล่าวมานี้มี ๒ ประการ
      ที่ว่าเป็น ผู้ตื่น หมายถึง ตื่นจากการถูกครอบงำของกิเลส
                                                                              ๑. โยนิโสมนสิการ                                ความรู้จักคิด
คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง
                                                                              ๒. กัลยาณมิตร                                   ความมีมิตรดี
      ที่ว่าเป็น ผู้เบิกบาน หมายถึง หลุดพ้นจากพันธนาการของ
                                                                              ทั้งความรู้จักคิด (analytical thinking) และความมีมิตรดี
กิเลสอย่างสิ้นเชิง จึงมีจิตและปัญญาที่เป็นอิสระ สดชื่น เบิกบาน
                                                                      (having good friends) เป็นพุทธธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ
ผ่องใส เป็นสุข ดังหนึ่งดอกบัวที่พ้นจากน้ำในยามรัตติกาล ครั้นได้
                                                                      ไว้เป็นอันมากว่า เป็นปัจจัยสำคัญอันเป็นจุดเริ่มต้นของการมีชีวิต
สัมผัสแสงแรกแห่งอาทิตย์อุทัยก็พลันเริงแรงแสงฉายอย่างงดงาม
                                                                      ที่มีการศึกษา หรือเป็นจุดตั้งต้นของการดำเนินอยู่บนเส้นทางของ
ในยามรุ่งอรุณ
                                                                      การเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน หรือการดำเนินอยู่บนอริยมรรค ใคร
     มนุษย์ทุกคนก็เป็นเช่นดอกบัว คือ บัวทุกดอกมีศักยภาพที่            ก็ตามมีความรู้จักคิดและมีมิตรดี ก็เป็นอันว่า คนคนนั้นกำลังมี
จะผลิบานฉันใด มนุษย์ทกคนก็มศกยภาพทีจะเป็นพุทธะ คือ เป็น
                      ุ     ี ั        ่                              ชีวิตที่มีหลักประกันว่า จะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง มีแนวโน้ม มี
อนาคตที่สดใส เชื่อมั่นได้ว่า จะสามารถก้าวไปข้างหน้าได้อย่าง                         แห่งหน แต่ในทางกลับกัน คนที่ไม่รู้จักคิด แม้จะมีกัลยาณมิตรอยู่
สง่างาม รุ่งโรจน์โชตนา เหมือนดั่งเมื่อมีรัศมีอ่อนๆ ของดวงอาทิตย์                    รอบกาย ก็ ไ ม่ อ าจได้ รั บ ประโยชน์ โ สตถิ ผ ลอย่ า งที่ ค วรจะเป็ น
อุทัยไขแสงเรื่อเรืองขึ้นมาก่อนในยามรุ่งอรุณ ก็เป็นอันเชื่อมั่นได้ว่า                ดุ จ เดี ย วกั บ ทั พ พี ที่ อ ยู่ กั บ หม้ อ แกง ทว่ า ไม่ รู้ ร สแกง กบอยู่ กั บ
ไม่ช้าไม่นานต่อจากนั้น โลกทั้งโลกจะสว่างไสวไปด้วยพลังงาน                            ดอกบัว ทว่าไม่รู้รสเกสรบัว
จากแสงอาทิตย์โดยสมบูรณ์ ความข้อนีมพทธวัจนะตรัสไว้ดงต่อไปนี้
                                      ้ ี ุ               ั
                                                                                          ในอดีตกว่าพันปีมาแล้ว กาลิเลโอ กาลิเลอิ เคยสังเกตเห็น
      “ภิกษุทั้งหลาย ก่อนอาทิตย์อุทัย ย่อมมีแสงอรุณเรื่อเรืองขึ้น                   การแกว่งของโคมไฟในโบสถ์แห่งหนึ่งว่า มีระยะการแกว่งที่เท่ากัน
มาให้ เ ห็ น เป็ น บุ พ นิ มิ ต ฉั น ใด ความรู้ จั ก คิ ด ก็ เ ป็ น ตั ว นำ เป็ น   เสมอ จึงนำเอาเหตุการณ์เล็กๆ นี้มาพิจารณาก็ทำให้ค้นพบกฎการ
บุพนิมิตแห่งการเกิดขึ้นของอริยมรรคมีองค์ ๘ แก่ภิกษุ ฉันนั้น”                        แกว่งของลูกตุ้ม ซึ่งเป็นความจริงทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติที่ยัง
                                                                                    คงใช้ได้มาจนถึงทุกวันนี้
         “ภิกษุทั้งหลาย ก่อนอาทิตย์อุทัย ย่อมมีแสงอรุณเรื่อเรืองขึ้น
มาให้เห็นเป็นบุพนิมิต ฉันใด ความมีกัลยาณมิตร ก็เป็นตัวนำ                                    วั น หนึ่ ง ขณะที่ไ อแซค นิ ว ตั น นั่ ง อยู่ ใ ต้ ต้ น แอ๊ ป เปิ้ ล เขา
เป็ น บุ พ นิ มิ ต แห่ ง การเกิ ด ขึ้ น ของอริ ย มรรคมี อ งค์ ๘ แก่ ภิ ก ษุ         สังเกตเห็นว่า ลูกแอ๊ปเปิ้ลที่หล่นลงมาแล้วต้องตกลงดินเสมอ จึง
ฉันนั้น” (สํ.ม.๑๙/๕-๑๒๙/๒-๓๖)                                                       เกิดคำถามว่า ทำไมผลแอ๊ปเปิ้ลเมื่อหล่นจากขั้วแล้วจึงไม่ลอยขึ้น
                                                                                    สู่ น ภากาศ ผลของการครุ่ น คิ ด หาความจริ ง ที่ ซ่ อ นอยู่ เ บื้ อ งหลั ง
        โยนิโสมนสิการ หรือ ความรู้จักคิด เป็นศักยภาพที่สามารถ
                                                                                    ปรากฏการณ์คราวนี้ ทำให้เขาค้นพบกฎแห่งแรงดึงดูดหรือกฎแห่ง
ฝึกหัดพัฒนาให้เกิดขึ้นมาได้ ทั้งยังถือว่าเป็นคุณธรรมแกนที่เมื่อมี
                                                                                    แรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งก็เป็นความจริงทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
ขึ้นมาในบุคคลใดแล้ว แม้ไม่ต้องอาศัยกัลยาณมิตร ซึ่งเป็นปัจจัย
                                                                                    อีกอย่างหนึ่งที่ยังคงเป็นจริงอยู่มาจนถึงบัดนี้
ภายนอก เช่ น พระพุ ท ธเจ้ า พระอริ ย สาวก พระสาวกสาวิ ก า
ปัญญาชน หรือบุคคลทั่วไปเลย บุคคลนั้นๆ ก็สามารถพิจารณา                                     ในสมั ย พุ ท ธกาล ขณะที่ ส ามเณรน้ อ ยรู ป หนึ่ ง กำลั ง เดิ น
เหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน เรื่องราวหรือประสบการณ์ต่างๆ ที่ผ่าน                       บิณฑบาตอยู่ในหมู่บ้าน ระหว่างทางเธอสังเกตเห็นชาวนากำลัง
พบให้ก่อเกิดเป็น “ปัญญา” ที่นำมาพัฒนาชีวิตได้ ซึ่งเมื่อมองใน                        ไขน้ำเข้านา ช่างศรกำลังดัดลูกศร ช่างไม้กำลังเกลาไม้ เธอเกิด
แง่นี้ จึงกล่าวได้ว่า สำหรับคนที่รู้จักคิด ย่อมมีกัลยาณมิตรอยู่ทุก                  คำถามเชิงวิจัยขึ้นมาว่า ชาวนายังสามารถไขน้ำให้เข้านาได้ตาม

10                                                                                                                                                                11
ประสงค์ ช่างศรยังดัดลูกศรที่คดให้ตรงได้ตามประสงค์ ช่างไม้ยัง
เกลาไม้ที่ขรุขระให้กลมกลึงได้ตามประสงค์ แล้วทำไมเราจะฝึก
ตัวเองให้เป็นบัณฑิตไม่ได้ ด้วยความเป็นคนช่างคิด ช่างพิจารณา
ประสบการณ์ ที่ อ ยู่ ต รงหน้ า อย่ า งลึ ก ซึ้ ง สามเณรน้ อ ยจึ ง ถื อ เอา                        กัลยาณมิตรธรรม
:
ประสบการณ์ที่ได้ผ่านพบมาเตือนตนให้รีบพัฒนาตนเองจนบรรลุ
อริยมรรคกระทั่งภายในไม่ทันข้ามวัน ก็สามารถบรรลุภาวะพระ
                                                                                                ภาวะผู้นำของกัลยาณมิตร
นิ พ พานอั น เป็ น ผลที่ ห มายสู ง สุ ด ในทางพุ ท ธศาสนาได้ ส มตาม
เจตนารมณ์
                                                                                               ตามความหมายโดยทั่วไป กัลยาณมิตร หมายถึง บุคคล
             ตัวอย่างทั้งสามประการที่กล่าวมานี้ แสดงให้เห็นว่า สำหรับ
                                                                                      หรื อ สภาพแวดล้ อ มที่ มี ส่ ว นเกื้ อ กู ล ให้ บุ ค คลนั้ น ๆ รู้ จั ก การใช้
ผู้ ที่ มี โ ยนิ โ สมนสิ ก าร คื อ รู้ จั ก คิ ด หรื อ คิ ด เป็ น นั้ น แม้ ไ ม่ มี
                                                                                      ปัญญา ใช้ความคิด ใช้วิจารณญาณ อันเป็นเหตุให้มีวิถีชีวิตที่ดี
กัลยาณมิตรที่เป็นบุคคลสำคัญหรือเป็นผู้ทรงภูมิธรรมภูมิปัญญา
                                                                                      งาม เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตไปในทิศทางที่ประเสริฐ
คอยแนะนำพร่ำสอนโดยตรง เขาก็สามารถค้นพบ “ทางเดิน” ที่
                                                                                      เลิศล้ำ เป็นผู้ทรงธรรมทรงปัญญา แต่เมื่อว่าตามความหมายใน
รุ่งโรจน์ของตัวเองได้ แต่คนเช่นนี้มีไม่มากนัก สำหรับคนทั่วไปแล้ว
                                                                                      คั ม ภี ร์ ท่ า นยกตั ว อย่ า งว่ า กั ล ยาณมิ ต ร ย่ อ มหมายรวมตั้ ง แต่
การที่จะ “รู้จักคิด” จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัย “กัลยาณมิตร”
                                                                                      พระพุ ท ธเจ้ า พระอรหั น ต์ เป็ น ต้ น ลงมาจนถึ ง คนทั่ ว ไปที่ มี ส่ ว น
คอยเกื้อกูล
                                                                                      เกื้อกูลให้แต่ละบุคคลรู้จักการพัฒนาตัวเอง พระพุทธเจ้าของเรา
                                                                                      นั้น เมื่อตรัสถึงพระองค์เอง บ่อยครั้งก็ทรงระบุถึงสถานภาพของ
                                                                                      พระองค์ว่า ทรงเป็นเพียง “กัลยาณมิตร” ของมนุษยชาติ เช่น

                                                                                            “อาศัยเราเป็นกัลยาณมิตร ประดาสัตว์ผู้มีชาติเป็นธรรมดา
                                                                                      ย่อมพ้นจากชาติ ผู้มีชราเป็นธรรมดา ย่อมพ้นจากชรา ผู้มีมรณะ
                                                                                      เป็นธรรมดา ย่อมพ้นจากมรณะ ผู้มีความโศก ความคร่ำครวญ
12                                                                                                                                                              13
หวนไห้ ความทุ ก ข์ โ ทมนั ส และความคั บ แค้ น ใจเป็ น ธรรมดา                           วางใจในฝี มื อ การบั ญ ชาการรบ ต่ า งยอมให้ น ำทั พ ด้ ว ยความ
ย่อมพ้นจากความคร่ำครวญหวนไห้ ความทุกข์โทมนัส และความ                                   เต็มใจในฝีมือ เพราะรู้ว่าเป็นผู้คุ้มครองป้องกันให้ลุล่วงปลอดภัย
คับแค้นใจ” (สํ.ม.๑๙/๕-๑๑/๒-๕)                                                          ได้อย่างแท้จริง
        เมื่ อ กล่ า วอย่ า งเคร่ ง ครั ด กั ล ยาณมิ ต รที่ จ ะถื อ ว่ า เป็ น ดั่ ง          ๔. มี ว าทศิ ล ป์ เพราะกอปรด้วยศิลปะในการพูด รู้ว่าพูด
“รุ่งอรุณของชีวิตดีงาม” หรือเป็น “บุพนิมิตแห่งชีวิตดีงาม” ตาม                          อย่างไรจึงได้ผล พูดอย่างไรจึงจะสอดคล้องกับสถานการณ์และ
แนวพุทธพจน์ ควรจะมีคุณสมบัติที่เรียกว่า “กัลยาณมิตรธรรม”                               จริ ต ของบุ ค คล พู ด อย่ า งไรจึ ง จะทำให้ เ รื่ อ งที่ พู ด แจ่ ม กระจ่ า ง
๗ ประการดังต่อไปนี้                                                                    สร้างความเข้าใจให้แก่ผู้ฟัง รวมทั้งรู้จักว่า เมื่อไหร่ไม่ควรพูดด้วย
      ๑. น่ารัก เพราะกอปรด้วยเมตตา ชวนให้เข้าไปปรึกษาหารือ                             เหมือนช่างร้อยดอกไม้ รู้จักดอกไม้ว่าดอกชนิดไหนควรนำไปใช้
สอบถาม เรียนธรรม แสวงปัญญา เหมือนร่มไม้ใหญ่ที่มองเห็น                                  งานแบบใด สามารถเลือกใช้ดอกไม้ได้อย่างมีศิลปะ รวมทั้งรู้ว่า
ร่มเงาแต่ไกลแล้วอยากเข้าไปอาศัยหลบร้อนให้สบายใจ                                        ดอกไม้ชนิดใดไม่ควรใช้งานก็คัดออกจากกองดอกไม้
        ๒. น่าเคารพ เพราะกอปรด้วยคุณความดี มีศีลาจารวัตร                                      ๕. มีความสามารถในการฟังอย่างลึกซึ้ง เพราะกอปรด้วย
งดงาม วางตนสมควรแก่ฐานะ เชื่อถือได้โดยสนิทใจว่าเป็นคนดี                                ความอดทน ใจเย็น เห็นว่าคำพูดของผู้อื่นเป็นสิ่งอันควรน้อมใจรับ
จริง อยู่ใกล้แล้วได้ความอบอุ่น มั่นใจ เหมือนบ้านที่สร้างอย่าง                          ฟังด้วยความเคารพในสิ่งที่ผู้พูดต้องการจะกล่าว ยินดีฟังทัศนะที่
มั่ น คง แข็ ง แรง อยู่ อ าศั ย แล้ ว นอนหลั บ สนิ ท ด้ ว ยวางใจว่ า                   แตกต่างหลากหลายโดยไม่โกรธ ไม่ฉุนเฉียว ไม่หงุดหงิด ไม่เห็นว่า
ปลอดภัยอย่างแน่นอน                                                                     เป็นสิ่งต่ำต้อยด้อยค่า เหมือนพ่อแม่ที่ยินดีฟังคำถามด้วยความ
                                                                                       สนใจใฝ่รู้ ช่างซัก ช่างถาม ช่างสงสัยของลูกๆ ด้วยความใจเย็น
       ๓. น่ายกย่อง เพราะกอปรด้วยปัญญา เป็นพหูสูต ทรงภูมิรู้
ภูมิธรรม รอบด้าน ลึกซึ้ง กว้างขวางอย่างแท้จริง ควรยึดเป็นแบบ                                  ๖. มีความสามารถในการอธิบายขยายความได้อย่างลึกซึง        ้
อย่าง สร้างแรงบันดาลใจให้อยากเจริญรอยตาม ทั้งยังสามารถ                                 เพราะกอปรด้วยความรอบรู้อย่างสุขุม ลุ่มลึก ทั้งยังมีศิลปะในการ
เอ่ยอ้างถึงด้วยความสะดวกใจว่า เชี่ยวชาญปราดเปรื่อง มีความ                              อธิบายขยายความเรื่องที่ลึกซึ้งให้เข้าใจง่าย เรื่องที่เป็นนามธรรม
เป็นเลิศทางปัญญาและวิชาการ เหมือนแม่ทัพที่เหล่าทหารหาญ                                 ให้เป็นรูปธรรม รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงเรื่องราวจากเรื่องธรรมดา

1                                                                                                                                                              1
สามัญขึ้นไปหาเรื่องราวที่ลึกซึ้งยิ่งๆ ขึ้นไปได้อย่างเป็นระบบ โดย
ไม่ชวนสับสน ไขว้เขว หรือฟั่นเฝือ เหมือนนักกล่าวสุนทรพจน์ชั้น
นำที่ รู้ จั ก การร้ อ ยเรี ย งเรื่ อ งราวมากล่ า วได้ อ ย่ า งน่ า ฟั ง ตั้ ง แต่
เรืองง่ายๆ ไปจนถึงเรืองทีมความลึกซึงกินใจ ก่อเกิดความซาบซึงใจ
   ่                      ่ ่ ี             ้                                 ้                      ภาค
๒
กรณีศึกษา
แก่ผู้ฟังโดยถ้วนหน้า
        ๗.ไม่ชักนำในทางที่ผิด เพราะกอปรด้วยวิจารณญาณและ
ความปรารถนาดี จึงมีแต่ความเมตตาต่อผู้ที่เข้ามาสนิทเสวนา                                     ความรูจกคิด (โยนิโสมนสิการ) และการมีมตรดี (กัลยาณมิตร)
                                                                                                    ้ั                                    ิ
ปรารถนาให้เขาได้รับแต่สิ่งที่ดีงามล้ำเลิศโดยส่วนเดียว เหมือนหมู่                     ที่กล่าวมาข้างต้นทำงานร่วมกันอย่างไร เกื้อกูลหนุนส่งกันอย่างไร
ผึ้ ง ภมรที่ รู้ จั ก เลื อ กสรรแต่ ม วลน้ ำ หวานจากดวงดอกไม้ ที่ ไ ร้ พิ ษ          จะเห็ น ได้ จ ากกรณี ศึ ก ษาผ่ า นชี ว ประวั ติ ข องบุ ค คลสำคั ญ ดั ง จะ
มากลั่นกรองเป็นมธุรสเปี่ยมโอชา๑                                                      กล่าวต่อไปนี้
        กัลยาณมิตรชั้นนำ ย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติครบทั้ง ๗
                                                                                            ๑. พระเจ้าอโศกมหาราช ( พ.ศ. ๒๗๐ - ๓๑๒)
ประการ แต่ ส ำหรั บ คนทั่ ว ไป การมี คุ ณ สมบั ติ ข องกั ล ยาณมิ ต ร
เพียงข้อเดียว คือ “ไม่ชักนำในทางที่ผิด” ก็นับว่าเป็นกัลยาณมิตรที่
                                                                                            ๒. กิสาโคตมี (มีชีวิตอยู่ในพุทธกาล)
ควรสนิ ท เสวนาได้ แ ล้ ว ต่ อ จากนี้ ไ ป จะยกตั ว อย่ า งเพื่ อ ให้ เ ห็ น
คุ ณ ค่ า ความสำคั ญ และการทำงานของโยนิ โ สมนสิ ก ารและ                                     ๓. หลุยส์ เบรลล์ (ค.ศ. ๑๘๐๙ - ๑๘๕๒)
กัลยาณมิตร ซึ่งมักจะมาพร้อมกัน ดำรงอยู่ในกันและกัน เกิดขึ้น
ในลักษณะเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่กันและกันอย่างใกล้ชิดเสมอ                                      ๔. อัลเฟรด โนเบล (ค.ศ. ๑๘๓๓ - ๑๘๙๖)

                                                                                                                         
     ๑
       คำอธิบายกัลยาณมิตรธรรมในทีนี้ ผูเ้ ขียนจัดปรับใหม่โดยยกอุปมาประกอบ
                                  ่
เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น ผู้สนใจคำอธิบายตามตัวบทในบาลีเดิมควรดูใน                                                       
องฺ.สตฺตก.๒๓/๓๔/๓๓
1                                                                                                                                                        1
“
           ในบรรดาพระนามของท้าวพระยามหากษัตริย์
                  นับได้เป็นจำนวนพัน
จำนวนหมื่น
       ซึ่งมีอยู่อย่างดาษดื่นในข้อบันทึกทางประวัติศาสตร์
           พระนามของพระเจ้าอโศกมหาราช
ส่องแสง
     และดูเหมือนจะมีส่องแสงอยู่เพียงพระนามเดียวเท่านั้น
                        “
      ด้วยความรุ่งโรจน์เช่นเดียวกับดวงดาวอันสุกสกาวยิ่ง
                                  




                                                H.G.
Wells
                        นักเขียน
นักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษ



1                                                       1
ผลาญชีวิตผู้คนไปมากมายนับไม่ถ้วน จนได้รับพระราชสมัญญา
                                                                               ว่า “จัณฑาโศก” แปลว่า “อโศกทมิฬ” ด้วยเดชานุภาพทางการรบ
                                                                               อันหาใครเปรียบไม่ได้ ทำให้อาณาจักรของพระเจ้าอโศกแผ่ขยาย
                       อโศกมหาราช

                                            ออกไปอย่ า งกว้ า งขวางมากมายเสี ย ยิ่ ง กว่ า ประเทศอิ น เดี ย ใน
                                                                               ปัจจุบันหลายเท่า
 จากทรราชกระหายสงครามเป็นมหาราชโลกไม่ลืม
                                                                                       แต่แล้ว อยู่มาวันหนึ่ง ขณะที่ทรงกรีธาทัพไปทำสงคราม
                                                                               ยึดแคว้นกาลิงคะนั้นเอง จุดเปลี่ยนแห่งชีวิตของพระองค์ก็เดินทาง
                                                                               มาถึง กล่าวกันว่า สงครามกับแคว้นกาลิงคะคราวนั้น กองทัพของ
         พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเป็นพระราชโอรสของพระเจ้า                         พระองค์เข่นฆ่าทหาร ประชาชนผู้บริสุทธิ์ไปมากมายหลายแสนคน
พิ น ทุ ส ารแห่ ง ราชวงศ์ โ มริ ย ะ แคว้ น มคธ ทรงมี ชี วิ ต อยู่ ใ นพุ ท ธ-   เลื อ ดนองแผ่ น ดิ น กาลิ ง คะดั ง หนึ่ ง ทะเลเลื อ ดกว้ า งไกลไปสุ ด
ศตวรรษที่ ๓ (พ.ศ. ๒๗๐ - ๓๑๒) เมื่อครั้งที่พระราชบิดายังทรง                     ลูกหูลูกตา ความเสียหายอันใหญ่หลวงคราวนี้ ก่อให้เกิดความ
พระชนม์อยู่นั้น ทรงแต่งตั้งให้พระองค์ไปดำรงตำแหน่งอุปราช                       “สลดพระทั ย ” แก่ พ ระเจ้ า อโศกอย่ า งที่ ไ ม่ เ คยทรงเป็ น มาก่ อ น
ณ กรุงอุชเชนี แคว้นอวันตี ครั้นพระราชบิดาเสด็จสวรรคตแล้ว                       ทำให้พระองค์ทรงหันมาตั้งคำถามกับตนเองว่า สิ่งที่ทรงทำลงไป
พระองค์ทรงกรีธาทัพมายึดอำนาจทางการเมืองจากพระเชษฐา                             นั้นคุ้มกันหรือไม่กับชีวิตประชาชนที่ต้องมาสังเวยความกระหาย
ธิราช โดยทรงสังหารผลาญราชนิกุลร่วมสายโลหิตเดียวกันไปกว่า                       สงครามของตนเอง
๙๙ องค์ เหลือเพียงพระอนุชาหนึ่งองค์เท่านั้น จากนั้น ทรงจัดการ                          ในที่สุด ผลของการรู้จักใช้ “โยนิโสมนสิการ” โดยมี “ชีวิต
การเมื อ งภายในอี ก ๔ ปี (ตามคั ม ภี ร์ ฝ่ า ยพุ ท ธระบุ ว่ า ทรงยึ ด          ของผู้วายชนม์ในสงครามหลายแสนคน” เป็นกัลยาณมิตร ก็ทำให้
อำนาจ พ.ศ. ๒๑๔) เมื่อสถานการณ์ทางการเมืองสงบเรียบร้อย                          พระองค์ทรงได้คำตอบว่า สิ่งที่ทรงทำอยู่นั้นไม่ถูกต้อง หลังจาก
แล้ว จึงทรงทำพิธีปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ต่อจากพระราช                       ที่ ท รงได้ คิ ด คราวนั้ น แล้ ว ทรงเปลี่ ย นพระทั ย ไปเป็ น คนละคน
บิดา (พ.ศ. ๒๑๘)                                                                กล่ า วคื อ จากอโศกทมิ ฬ ผู้ ก ระหายเลื อ ดกระหายสงคราม
    ในยุ ค ต้ น ของการครองราชสมบั ติ นั้ น พระเจ้ า อโศกทรง                    มากระหายธรรมคือความดีงามและสันติภาพแทน นโยบายในการ
กระหายสงครามมาก ทรงรุกรบไปทุกหนทุกแห่ง เข่นฆ่า สังหาร                          บริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ของพระองค์ ก็ เ ปลี่ ย นไปจากเดิ ม อย่ า ง
20                                                                                                                                              21
สิ้นเชิง คือ จากนโยบาย “สงครามวิชัย” (มุ่งชัยชนะด้วยการทำ                     ในคราวยึดครองแคว้นกลิงคะนี้ จะมีประชาชน
สงครามขยายอาณาเขต) มาเป็น “ธรรมวิชัย” (มุ่งชัยชนะด้วยการ               ที่ ถู ก ฆ่ า ล้ ม ตายลง และถู ก จั บ เป็ น เชลยเป็ น
เผยแผ่ธรรมไปยังอาณาเขตที่ยึดมาได้ทั้งหมด) ข้อความในศิลา-               จำนวนเท่ า ใดก็ ต าม แม้ เ พี ย งหนึ่ ง ในร้ อ ยส่ ว น
จารึกที่พระองค์โปรดให้จัดทำขึ้นในเวลาต่อมา บันทึกเหตุการณ์             หรื อ หนึ่ ง ในพั น ส่ ว น (ของจำนวนที่ ก ล่ า วนั้ น )
สำคัญอันเป็นจุดเปลียนประวัตศาสตร์ในคราวนันเอาไว้วา
                   ่       ิ              ้      ่                     พระผู้ เ ป็ น ที่ รั ก แห่ ง ทวยเทพ ย่ อ มทรงสำนึ ก ว่ า
                                                                       เป็นกรรมอันร้ายแรงยิ่ง...
       	 “สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ปริ ย ทรรศี ผู้ เ ป็ น ที่ รั ก
       แห่งทวยเทพ เมื่ออภิเษกแล้วได้ ๘ พรรษา ทรงมี                         สำหรั บ พระผู้ เ ป็ น ที่ รั ก แห่ ง ทวยเทพ ชั ย ชนะ
       ชัยปราบแคว้นกลิงคะลงได้ จากแคว้นกลิงคะนั้น                      ที่ทรงถือว่ายิ่งใหญ่ที่สุด ได้แก่ ธรรมวิชัย (ชัยชนะ
       ประชาชนจำนวนหนึ่งแสนห้าหมื่นคนได้ถูกจับไป                       โดยธรรม) และธรรมวิ ชั ย นั้ น พระผู้ เ ป็ น ที่ รั ก
       เป็ น เชลย จำนวนประมาณหนึ่ ง แสนคนถู ก ฆ่ า                     แห่งทวยเทพได้ทรงกระทำสำเร็จแล้ว ทั้ง ณ ที่นี้
       และอีกหลายเท่าของจำนวนนั้นได้ล้มตายไป                           (ในพระราชอาณาเขตของพระองค์เอง) และใน
                                                                       ดินแดนข้างเคียงทังปวง ไกลออกไป ๖๐๐ โยชน์...
                                                                                           ้
            นับแต่กาลนั้นมาจนบัดนี้ อันเป็นเวลาที่แคว้น
       กลิงคะได้ถกยึดครองแล้ว การทรงประพฤติปฏิบติ
                   ู                                   ั                  ทุ ก หนทุ ก แห่ ง (ประชาชนเหล่ า นี้ ) พากั น
       ธรรม ความมีพระทัยใฝ่ธรรม และการทรงอบรม                          ประพฤติปฏิบตตามคำสอนธรรมของพระผูเ้ ป็นทีรก
                                                                                     ั ิ                            ่ั
       สั่งสอนธรรม ก็ได้เกิดมีขึ้นแล้วแก่พระผู้เป็นที่รัก              แห่งทวยเทพ...
       แห่งทวยเทพ
                                                                           ด้ ว ยเหตุ เ พี ย งนี้ ชั ย ชนะนี้ เ ป็ น อั น ได้ ก ระทำ
         การที่ ไ ด้ ท รงปราบปรามแคว้ น กลิ ง คะลงนั้ น                สำเร็จแล้วในที่ทุกสถานเป็นชัยชนะอันมีปีติเป็น
       ทำให้ พ ระผู้ เ ป็ น ที่ รั ก แห่ ง ทวยเทพ ทรงมี ค วาม          รส พรั่งพร้อมด้วยความเอิบอิ่มใจ เป็นปีติที่ได้มา
       สำนึกสลดพระทัย...                                               ด้วยธรรมวิชย...
                                                                                    ั


22                                                                                                                                     23
ชั ย ชนะอั น แท้ จ ริ ง นั้ น จะต้ อ งเป็ น ธรรมวิ ชั ย       อันเป็นหัวใจสำคัญของพระพุทธศาสนาให้พระองค์สดับ หลังจาก
         เท่านั้น ด้วยว่าธรรมวิชัยนั้นเป็นไปได้ทั้งในโลก                   ทรงสดับแล้ว ทรง “คิดได้” (โยนิโสมนสิการ) จึงทรงหันมาปฏิวัติ
         บัดนี้ และโลกเบื้องหน้า                                           การใช้ชีวิตของพระองค์ชนิดตรงกันข้ามกับที่ผ่านมาอย่างสิ้นเชิง
         	 ขอปวงความยิ น ดี แ ห่ ง สั ต ว์ ทั้ ง หลาย จงเป็ น              ทรงเปลียนพระองค์เองจาก “อโศกทมิฬ” มาเป็น “ศรีธรรมาโศกราช”
                                                                                   ่
         ความยินดีในความพากเพียรปฏิบัติธรรม เพราะ                          (พระเจ้าอโศกผูทรงเป็นศรีแห่งธรรม) พระพุทธวัจนะในพระธรรมบท
                                                                                          ้
         ว่าความยินดีนั้น ย่อมอำนวยผลทั้ ง ในโลกบั ด นี้                   ที่มีผลต่อการเปลี่ยนพระทัยมานับถือพระพุทธศาสนาของพระองค์
         และในโลกเบื้องหน้า” ๑                                             มีอยู่หนึ่งบท ประกอบด้วยสี่บาท ดังนี้

       ในคั ม ภี ร์ ส มั น ตปาสาทิ ก า (วิ น ย.อ.๑/๔๓) ผลงานของ                     “ความไม่ประมาทเป็นทางไม่ตาย
พระพุทธโฆษาจารย์เล่าถึงแรงจูงใจในการที่ทรงหันมาเลื่อมใสใน                        ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย
พระพุทธศาสนาว่า (นอกจากเกิดจากความสลดพระทัยในหายน-                               คนไม่ประมาทไม่มีวันตาย
ภัยที่เกิดแต่สงครามแล้ว) พระองค์ได้ทรงพบกับกัลยาณมิตร คือ                        คนประมาทไม่ต่างอะไรกับคนที่ตายแล้ว”
สามเณรนิโครธซึ่งเป็นพระนัดดาของท้าวเธอเอง ในการพบปะกัน                              ความเสียหายอันใหญ่หลวงในสงครามที่ทำให้สลดพระทัย
ในวั น หนึ่ ง ทรงสอบถามถึ ง หลั ก ธรรมคำสอนของพระพุ ท ธเจ้ า               เมื่อมาบวกกับพุทธธรรมจากกัลยาณมิตรอย่างสามเณรนิโครธ
สามเณรนิ โ ครธ ได้ แ สดงหลั ก ธรรมเรื่ อ ง “ความไม่ ป ระมาท”               คงจะทำให้พระเจ้าอโศกทรงหันกลับมาพิจารณาชีวิตของพระองค์
                                                                           อย่างลึกซึ้ง ว่ามรรคาที่ทรงดำเนินอยู่นั้น เป็นหนทางอันตราย เป็น
                                                                           วิถีแห่งการก่อทุกข์ ก่อเวรกรรมอันใหญ่หลวงแก่เพื่อนมนุษย์ ยัง
                                                                           ความเสียหายเกินประมาณให้เกิดขึ้นแก่ชีวิต ทรัพย์สิน ครอบครัว
     ๑
      พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). จารึกอโศก (ธรรมจักรบนเศียรสีสงห์) 	
                                ฺ                                ่ ิ       และบันทอนสันติภาพ สันติสขของสรรพชีพ สรรพสัตว์โดยแท้ นับแต่
                                                                                  ่                    ุ
รัฐศาสตร์แห่งธรรมาธิปไตย. (สำนักพิมพ์ผลิธัมม์ : กรุงเทพฯ), ๒๕๕๒,           วันที่ทรงสลดพระทัยและได้อาศัยการแนะนำจากกัลยาณมิตรแล้ว
หน้า ๖๙ - ๗๐.                                                              ต่อมา

2                                                                                                                                    2
ทรงฝักใฝ่พระพุทธศาสนามากยิ่งขึ้นถึงขนาดที่ทรงศึกษา              ปรึกษา สอบถาม เรียนรู้ธรรมะ ถวายไทยธรรม ตลอดถึงเสด็จ
พระพุทธศาสนาด้วยพระองค์เองจากพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ                      ประพาสเพือสอดส่องดูสารทุกข์สกดิบของปวงอาณาประชาราษฎร์
                                                                                     ่                ุ
ซึ่ ง เป็ น พระอรหั น ต์ แ ห่ ง ยุ ค สมั ย ในบั้ น ปลายแห่ ง พระชนมชี พ   พร้อมทั้งพระราชทานความช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ
ก็ถึงกับทรงสละราชสมบัติชั่วคราวมาบวชเป็นภิกษุในบวรพุทธ-                         - ทรงเปลี่ยนสมาช ที่เป็นงานสโมสรรื่นเริงสนุกสนานด้วย
ศาสนา                                                                     การเสพสุรายาเมา นำสัตว์ต่างๆ มาแข่งขัน ต่อสู้กัน ซึ่งเป็นเรื่อง
        ภายหลังจากที่พระเจ้าอโศกทรงกลับพระทัยจากผู้กระหาย                 เริงรมย์สนุกสนานการโลกีย์ล้วนๆ มาเป็นวิมานทรรศน์ คือ การจัด
สงครามมาเป็นผู้เผยแผ่ธรรมแล้ว ทรงยังคุณูปการเป็นอันมากให้                 นิทรรศการสิ่งดีมีคุณค่าที่จรรโลงจิตใจให้ประชาชนได้เห็นสิ่งที่ดี
เกิดขึ้นแก่อาณาจักรและศาสนจักรดังต่อไปนี้                                 งาม อันจะน้อมนำไปสู่การมีใจสูง
       (๑) ในทางอาณาจั ก ร ทรงเปลี่ ย นนโยบายการเมื อ งการ                      - ทรงเปลี่ยนพิธีมงคลที่เป็นการเชื่อในโชคลางผ่านพิธีกรรม
ปกครองจากสงครามวิ ชั ย (เอาชนะโดยสงคราม) มาเป็ น                          ขรึมขลังขมังเวทย์มาเป็นธรรมมงคลที่เน้นการปฏิบัติต่อกันและกัน
ธรรมวิชัย ทำให้บ้านเมืองเปลี่ยนจากกลียุคเพราะภัยสงครามเข้า                ให้ถูกต้อง (ตามแนวทิศ ๖) เป็นต้น
สู่ยุคแห่งสันติภาพอันยาวนาน                                                      - ทรงเปลี่ ย นเภรี โ ฆษ ที่ เ ป็ น เสี ย งกลองศึ ก อั น หมายถึ ง
       (๒) ทรงเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลงค่านิยม ระบบความ                   การเกิดขึ้นของสงครามที่มาพร้อมกับความหายนะ เป็นธรรมโฆษ
เชื่อ หรือกระบวนทัศน์แบบเดิมของอินเดียจากเดิมที่มีสาระไม่                 ที่เน้นการเชิญชวนประชาชนมาฟังธรรม
มากนักให้มีสาระมากขึ้น หรือในบางกรณีทรงยกเลิกของเดิมแล้ว                        - ทรงยกเลิกการฆ่าสัตว์ทั้งเพื่อการบริโภคและการบูชายัญ
สร้างขึ้นมาใหม่ในรัชสมัยของพระองค์ เช่น                                   อย่างชนิดที่พลิกระบบความเชื่อของคนในยุคสมัยก่อนหน้านั้น
        - ทรงเปลี่ยนวิหารยาตรา ที่พระราชาเสด็จไปทรงพักผ่อน                รวมทั้งในยุคสมัยของพระองค์อย่างชนิดเป็นตรงกันข้าม จนเป็นที่
เพื่ อ ทรงล่ า สั ต ว์ แ ละแสวงหาความสำราญส่ ว นพระองค์ ม าเป็ น          สังเกตกันในหมู่ผู้ศึกษาพุทธศาสนาในอินเดียว่า บางที การที่ทรง
ธรรมยาตรา ที่พระราชาเสด็จไปทรงนมัสการพระสงฆ์ผู้ทรงศีล                     ยกเลิกการบริโภคเนือสัตว์และการบูชายัญนีเอง อาจเป็นจุดเริมต้น
                                                                                               ้                   ่              ่


2                                                                                                                                           2
ของค่านิยมการรับประทานอาหาร “มังสวิรัติ” ในเวลาต่อมาจนถึง                           (๔) ทรงสร้ า งถนน ขุ ด บ่ อ น้ ำ สร้ า งที่ พั กริ ม ทาง สร้ า งโรง
ทุกวันนี้ก็เป็นได้ ในศิลาจารึกฉบับที่ ๑ ระบุถึงวัตรปฏิบัติในเรื่องนี้           พยาบาล (อโรคยสาลา) สวนสาธารณะมากมายทั่วราชอาณาจักร
ไว้อย่างชัดเจนว่า
                                                                                     (๕) ทรงส่งเสริมการศึกษาแก่ประชาชน โดยผ่านการเรียน
     “ธรรมโองการนี้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รัก                 ธรรมและเผยแผ่ธรรม เป็นเหตุให้มีประชาชนรู้หนังสือกันอย่าง
แห่งทวยเทพ ได้โปรดให้จารึกไว้                                                   แพร่หลาย
         ณ ถิ่นนี้ บุคคลไม่พึงฆ่าสัตว์มีชีวิตใดๆ เพื่อการบูชายัญ                       (๖) ทรงโปรดให้ทำศิลาจารึก บันทึกหลักธรรมคำสอนของ
ไม่ พึ ง จั ด งานชุ ม นุ ม เพื่ อ การเลี้ ย งรื่ น เริ ง (สมาช) ใดๆ เพราะว่ า   พระพุ ท ธเจ้ า ประดิ ษ ฐานยั ง ชุ ม ชนเมื อ ง และสถานที่ ส ำคั ญ ที่
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวยเทพ ทรงมอง                    เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าทุกแห่งทั่วทั้งพระราชอาณาจักร
เห็นโทษเป็นอันมากในการชุมนุมเช่นนั้น ก็แลการชุมนุมบางอย่าง
ที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวยเทพ ทรงเห็น                       (๗) ในทางศาสนจักร ทรงรับเป็นประธานอุปถัมภ์ในการ
ชอบว่าเป็นสิ่งที่ดี มีอยู่อีกส่วนหนึ่ง (ต่างหาก)                                ทำสั ง คายนาพระธรรมวิ นั ย ครั้ ง ที่ ๓ ซึ่ ง ทำให้ พ ระธรรมวิ นั ย
                                                                                ได้รับการจัดระบบครบสมบูรณ์ทั้ง ๓ ปิฎก คือ พระวินัย พระสูตร
      แต่กอนนี้ ในโรงครัวหลวงของพระเจ้าอยูหวปริยทรรศี ผูเ้ ป็นทีรก
           ่                                 ่ ั                  ่ั
                                                                                พระอภิธรรม
แห่งทวยเทพ สัตว์ได้ถูกฆ่าเพื่อทำเป็นอาหาร วันละหลายแสนตัว
ครั้นมาในกาลบัดนี้ เมื่อธรรมโองการนี้อันพระองค์โปรดให้จารึก                             (๘) ทรงริเริ่ม “ธรรมยาตรา” คือการจาริกแสวงบุญไปยัง
แล้ว สัตว์เพียง ๓ ตัว เท่านั้นที่ถูกฆ่า คือ นกยูง ๒ ตัว และเนื้อ                สั ง เวชนี ย สถานทั้ ง สี่ ที่ นั บ เนื่ อ งในพุ ท ธประวั ติ ต ามแนวทางที่
๑ ตัว ถึงแม้เนื้อนั้นก็ไม่ได้ถูกฆ่าเป็นประจำ ก็แลสัตว์ทั้งสามนี้ (ใน            พระพุ ท ธเจ้ า ทรงประทานเอาไว้ ใ ห้ ใ นมหาปริ นิ พ พานสู ต ร ซึ่ ง
กาลภายหน้า) ก็จักไม่ถูกฆ่าอีกเลย”                                               เป็นต้นแบบของพุทธบริษัทในการจาริกแสวงบุญมาจนถึงบัดนี้
     (๓) ทรงแต่งตั้งธรรมมหาอำมาตย์ให้เป็นตัวแทนพระองค์                                 (๙) ทรงให้เสรีภาพทางศาสนาแก่ประชาชนอย่างเต็มที่ ดังที่
เดินทางไปยังหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ราชธานีต่างๆ เพื่อ                      มีหลักฐานบันทึกไว้ในหลักศิลาจารึกหลักที่ ๑๒ ความตอนหนึ่ง
สอนธรรมแก่ประชาชนทั่วทุกหนทุกแห่ง                                               ระบุว่า

2                                                                                                                                                    2
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi
Choen tawan vajiramedhi

More Related Content

What's hot

คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4Kroo nOOy
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมniralai
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูniralai
 
ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]tualumnioff
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์niralai
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์niralai
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1niralai
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์niralai
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 

What's hot (20)

คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
Jaidee
JaideeJaidee
Jaidee
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 

Similar to Choen tawan vajiramedhi

1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555waranyuati
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน Padvee Academy
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบKobwit Piriyawat
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2Kroo nOOy
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครูkashinova
 
ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับด้าน
ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับด้านครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับด้าน
ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับด้านkrupornpana55
 

Similar to Choen tawan vajiramedhi (20)

พิธีไหว้ครู
พิธีไหว้ครูพิธีไหว้ครู
พิธีไหว้ครู
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
History
HistoryHistory
History
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
 
History
HistoryHistory
History
 
History
HistoryHistory
History
 
ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับด้าน
ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับด้านครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับด้าน
ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับด้าน
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 

Choen tawan vajiramedhi

  • 1.
  • 3. คำปรารภ และมีศกยภาพในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจะเกิดขึนมาได้อย่างไร ั ้ ต่ อ มาคุ ณ นั น ทนา มั่ น เศรษฐวิ ท ย์ ได้ น ำเรื่ อ งที่ ส นทนากั น ไปนำเสนอให้ คุ ณ อุ ด ม (จากห้องสมุดธรรมดา – โรงเรียนเตรียมสามเณร) อุดมปัญญาวิทย์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการบริษัท ยูแทคไทย จำกัด ในขณะนั้นพิจารณา ผลก็คือ คุณอุดม อุดมปัญญาวิทย์ รวมทั้งผู้บริหารระดับสูงของบริษัท นับแต่อาตมภาพบวชเรียนที่วัดครึ่งใต้ ตำบลครึ่ง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ทุกคนต่างมีความเห็นเป็นเอกฉันท์วา ควรส่งเสริมการศึกษาของคณะสงฆ์ให้ดทสด และนันจึง ่ ี ี่ ุ ่ เมื่อปี ๒๕๓๐ เป็นต้นมา และยังอยู่เป็นสามเณรศึกษาพระปริยัติธรรมและศึกษาวิชาสามัญ เป็นทีมาของการ “ทอดกฐินสามัคคี” ณ วัดครึงใต้ ในปี ๒๕๔๗ ซึงเป็นปีแรก และเป็นจุดเริมต้น ่ ่ ่ ่ จนสำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในปี ๒๕๓๒ นั้น ตลอดเวลาดังกล่าวที่ได้อาศัยศึกษาพระธรรม ของการทอดกฐินในปีต่อๆ มาอย่างต่อเนื่องยาวนาน จนในที่สุดเจตนารมณ์ซึ่งเป็นเพียงความฝัน วินัยอยู่ในวัดครึ่งใต้ ผู้เขียนได้พบเห็นสภาพความขาดแคลนของวัดในหลายเรื่องด้วยกัน เช่น ในอดี ต ก็ ไ ด้ รั บ การสานต่ อ ให้ เ ห็ น เป็ น รู ป ธรรม กล่ า วคื อ คุ ณ อุ ด ม อุ ด มปั ญ ญาวิ ท ย์ และ ขาดแคลนอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน ขาดแคลนอาคารเรียน ขาดแคลนครูบาอาจารย์ กัลยาณมิตรอีกหลายบริษัทได้ร่วมกันสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่สวยงาม พรั่งพร้อมด้วย ขาดแคลนงบประมาณ สิ่งเดียวเท่านั้นที่ทางโรงเรียนวัดแห่งนี้มีพร้อมอย่างเต็มเปี่ยมก็คือ อุปกรณ์ทางการศึกษาสมบูรณ์แบบที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย และมอบถวายไว้กับวัดครึ่งใต้ ความตั้งใจอย่างแน่วแน่ที่จะเปิดโอกาสทางการศึกษาให้แก่พระภิกษุสามเณรให้ได้รับการศึกษา ต.ครึ่ง อ.เชียงของ จ.เชียงราย พร้อมทั้งได้กราบทูลเชิญเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ อย่างดีทสดของท่านเจ้าอาวาส ซึงก็คอ พระครูวรฬห์วรยธรรม ในปัจจุบนนี้ ี่ ุ ่ ื ิุ ิิ ั สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเป็นประธานเปิดอาคารเรียนอย่างเป็นทางการ วันหนึ่ง เมื่อผู้เขียนไปนั่งอ่านหนังสืออยู่ในห้องสมุดเก่าๆ ของวัด ซึ่งเป็นห้องสมุดที่ เมือวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ การเสด็จพระราชดำเนินในวันนัน นำความปลาบปลืมยินดีมาสู่ ่ ้ ้ สร้างขึนมาตามยถากรรม กล่าวคือ ใช้ไม้ฟากกันเป็นห้องโดยมีฝาผนังข้างหนึงเป็นกำแพงวัดทีใช้ ้ ้ ่ ่ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างหาที่สุดมิได้ และกลายเป็นประวัติศาสตร์แห่งความภาคภูมิใจร่วมกัน เป็นผนังห้องสมุดไปด้วยในตัว ขณะทีผเู้ ขียนซึงขณะนันยังเป็นสามเณรอายุเพียง ๑๔ ปี นังพิงผนัง ่ ่ ้ ่ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งก็คือ แก่ผู้บริหาร พนักงานทุกคนของบริษัท ห้องสมุดอ่านหนังสืออย่างเพลิดเพลินเจริญใจแล้วก็เดินออกมาจากห้องสมุด เพือเข้าเรียนในวิชา ่ ยูแทคไทย จำกัด ในวันนี้ ที่ได้มองเห็นว่า เงินทุกบาททุกสตางค์ที่เกิดจากการทอดกฐินทุกปีนั้น ต่อไปนั้น เพื่อนๆ ก็ชี้มาที่ผู้เขียนพลางหัวเราะฮากันครืน เมื่อผู้เขียนหันไปสำรวจก็พบความผิด ถูกใช้ไปอย่างคุมค่าและมีความหมายทางการศึกษามากทีสด ้ ุ่ ปกติอันเป็นที่มาของเสียงหัวเราะ นั่นก็คือ ผนังปูนเก่าๆ สีขาวซีดของผนังห้องสมุดได้ลอกติด แผ่นหลังของผูเ้ ขียนออกมาด้วยหนึงแผ่น ผูเ้ ขียนแกะผนังปูนเก่าๆ นันออกจากแผ่นหลังของตัวเอง ่ ้ หลังจากงานเปิดโรงเรียนที่พัฒนามาจากห้องสมุดเพียงห้องเดียวในยุคต้นของงาน แล้วนาทีนนเอง ก็เกิดปณิธานขึนมาในใจว่า “วันหนึ่งข้างหน้า หากสามารถพึ่งตนเองในทาง ั้ ้ พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆ์ที่ริเริ่มโดยผู้เขียนและคุณอุดม อุดมปัญญาวิทย์แล้ว คุณอุดม สติปญญาได้เมือไหร่ จะขอกลับมาสร้างห้องสมุดทีดทสดให้แก่โรงเรียนวัดแห่งนีให้จงได้” ั ่ ่ ี ี่ ุ ้ อุดมปัญญาวิทย์ พร้อมทังประธานเจ้าหน้าทีบริหารและกรรมการผูจดการบริษท ยูแทคไทย จำกัด ้ ่ ้ั ั แม้วนเวลาจะผ่านไปเนินนานเพียงไร แต่ปณิธานนีกยงคงก้องกังวานอยูในใจของผูเ้ ขียนเสมอมา ั ่ ้็ั ่ ยั ง คงมี วิ สั ย ทั ศ น์ ต่ อ ไปว่ า ควรมี ก ารจั ด ระบบการบริ ห ารงานของโรงเรี ย นในทุ ก เรื่ อ งให้ มี ระบบมาตรฐาน สมกับทีได้รวมกันสร้างสรรค์พฒนามาแต่ตน อย่างน้อยทีสดก็ควรจะเป็นโรงเรียน ่ ่ ั ้ ุ่ อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อผู้เขียนเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นจากการเขียนหนังสือชื่อ “ธรรมะติดปีก” พระปริยัติธรรมตัวอย่างหรือเป็นโรงเรียนเตรียมสามเณรในอนาคต สมตามแนวพระราชดำริใน บ้างแล้ว ก็มเี หตุให้ได้พบกับกัลยาณมิตรคนหนึงคือ คุณนันทนา มันเศรษฐวิทย์ มหาอุบาสิกา ่ ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทได้พระราชทานในวันเสด็จพระราชดำเนิน ี่ ผูสนใจในธรรมปฏิบตได้มานังสนทนาธรรมกับผูเ้ ขียนทีวดเบญจมบพิตร ช่วงหนึงของการสนทนา ้ ัิ ่ ่ั ่ ด้วย ด้วยวิสัยทัศน์อันยาวไกลดังกล่าว จึงเป็นเหตุให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการกำกับทิศทางและ คุณนันทนา มั่นเศรษฐวิทย์ ได้ปวารณาตนขอถวายความอุปถัมภ์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา แนวนโยบายในการบริหารโรงเรียนขึนมาชุดหนึงโดยมีคณอุดม อุดมปัญญาวิทย์ และผู้เขียนร่วมกัน ้ ่ ุ ผู้ เ ขี ย นจึ ง นำเสนอว่ า หากอยากส่ ง เสริ ม การเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา ไม่ มี วิ ธี ใ ดจะดี ไ ปกว่ า เป็นประธาน และเพื่อให้การที่ริเริ่มไว้สำเร็จเป็นรูปธรรม คณะกรรมการจึงเห็นควรจัดตั้งมูลนิธิ การช่วยกัน “ถวายความรู้” ให้แก่พระภิกษุสามเณรซึ่งเป็นศาสนทายาทให้ได้รับการศึกษา ขึนมามูลนิธหนึง เพือรองรับการบริหารกิจการของโรงเรียนให้มความยังยืนต่อไปในอนาคต ้ ิ ่ ่ ี ่ อย่างดีที่สุด เมื่อคุณนันทนาเห็นด้วย ผู้เขียนจึงเสนอว่า ควรร่วมกันสร้างห้องสมุดให้พระภิกษุ สามเณรได้อ่านหนังสือกันให้มากๆ เพราะหากพระภิกษุสามเณรมีความรู้ไม่มาก เติบโตขึ้นมา ด้วยเหตุดังกล่าวมา การทอดกฐินสามัคคีที่นำโดยบริ ษั ท ยู แ ทคไทย จำกั ด ในปี ในระบบการศึ ก ษาที่ ก ะพร่ อ งกะแพร่ ง ทั้ ง ยั ง ไม่ รั ก ในการแสวงหาวิ ช าความรู้ หรื อ ถึ ง รั ก ๒๕๕๒ นี้ คุ ณ อุ ด ม อุ ด มปั ญ ญาวิ ท ย์ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การ ในการแสวงหาวิชาความรู้ แต่หากไม่มสถาบันการศึกษาทีดพอ พระภิกษุสามเณรทีเ่ ป็นปัญญาชน ี ่ี บริษท ยูแทคไทย จำกัด ในฐานะประธานกรรมการกฐินอีกตำแหน่งหนึง จึงระบุวตถุประสงค์ของ ั ่ ั
  • 4. การทอดกฐินไว้ว่า ต้องการระดมเงินทุนจำนวนหนึ่งเพื่อจัดตั้งเป็นมูลนิธิสำหรับอุปถัมภ์ โรงเรียน ความดำริที่เป็นกุศลดังกล่าวนี้ทราบไปถึงคุ ณ ยายทั ศ นี ย์ บุ รุ ษ พั ฒ น์ ซึ่งเป็น นักการศึกษาผู้ปรารถนาจะสร้างศาสนทายาทระดับปัญญาชนไว้ให้กับสถาบันสงฆ์ไทย สารบัญ เป็นทุนเดิมอยูแล้ว จึงมีมทตาจิต ขอร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินอีกส่วนหนึงด้วย ่ ุิ ่ จึงเป็นอันว่า กฐินสามัคคีประจำปี ๒๕๕๒ นี้ จึงมีบริษัทยูแทคไทย จำกัด และ หน้า คุณยายทัศนีย์ บุรษพัฒน์ และครอบครัวร่วมกันเป็นเจ้าภาพหลัก โดยมีกลยาณมิตรจากบริษท ุ ั ั ภาค ๑ ทฤษฎี และองค์กรอืนๆ อีกหลายแห่งร่วมเป็นบุญภาคีผมสวนแห่งความดีเช่นทีเ่ คยจัดมาทุกปี ่ ู้ ี ่ ความสำเร็จของ “โครงการพัฒนาการศึกษาของคณะสงฆ์แห่งอนุภมภาคลุมน้ำโขง” ู ิ ่ ดั่งดวงตะวัน ๗ ในเบื้องต้นเท่าที่กล่าวมานั้น เกิดขึ้นได้ก็เพราะความเสียสละของกัลยาณมิตรชาวยูแทคไทย กัลยาณมิตรธรรม : ทุกคน กอปรกับวิสัยทัศน์ทางการศึกษาของผู้บริหารระดับสูงของบริษัทยูแทคไทย จำกัด ที่นำโดยคุณอุดม อุดมปัญญาวิทย์ เป็นต้น จึงทำให้วันนี้มีพระภิกษุสามเณรมากมาย ภาวะผู้นำของกัลยาณมิตร ๑๓ ในท้องถินทุรกันดารได้รบโอกาสทางการศึกษาอย่างดียง ่ ั ิ่ ผู้เขียนในฐานะประธานกรรมการพัฒนาการศึกษาของคณะสงฆ์แห่งอนุภูมิภาค ภาค ๒ กรณีศึกษา ๑๗ ลุ่มน้ำโขง ตระหนักในคุณูปการอันสูงยิ่งของคุณอุดม อุดมปัญญาวิทย์ และชาวยูแทคไทย ทุกคน ตลอดจนถึงภาคีกลยาณมิตรทุกภาคส่วนทีได้ชวยกันสร้างฝันให้เป็นจริง จึงขอถือโอกาส ั ่ ่ ความรู้จักคิดและกัลยาณมิตรของ นี้ ก ล่ า วอนุ โ มทนาและบั น ทึ ก กุ ศ ลกิ ริ ย าของทุ ก ท่ า น ทุ ก คน ทุ ก ฝ่ า ย ไว้ ใ ห้ เ ป็ น หลั ก ฐาน - พระเจ้าอโศกมหาราช : ทางประวัติศาสตร์ในบรรทัดนี้ ที่ครั้งหนึ่งในชีวิตเราทั้งหลายได้ร่วมกันสร้างสิ่งที่ดีที่สุดคือ จากทรราชกระหายสงครามเป็นมหาราชโลกไม่ลืม ๒๐ โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมมอบไว้ ใ ห้ เ ป็ น สมบั ติ ข องพระบวรพุ ท ธศาสนา พร้ อ มทั้ ง ยั ง ได้ มอบโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กเยาวชนอีกมากมายนับไม่ถวน ในโอกาสอันเป็นมงคลยิงทีเ่ รา ้ ่ - องคุลิมาล : ได้มาร่วมกันทอดกฐินสามัคคีอีกครั้งหนึ่งนี้ ผู้เขียนก็ขออัญเชิญคุณพระศรีรัตนตรัยอำนวยพร จากฆาตกรใจร้ายกลายเป็นพระอรหันต์เปี่ยมเมตตา ๓๔ ให้ผู้เกี่ยวข้องกับการทอดกฐินสามัคคีในคราวนี้ จงประสบความสุข สิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมบูรณ์พูนผลด้วยศีล สมาธิ ปัญญา และจงได้ดวงตาเห็นธรรมตามองค์สมเด็จพระสัมมา - กิสาโคตมี : สัมพุทธเจ้าโดยทัวหน้ากันด้วยเทอญ ่ จากสตรีวิกลจริตพลิกชีวิตเป็นพระอรหันต์ ๔๐ - หลุยส์ เบรลล์ : พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี ประธานกรรมการพัฒนาการศึกษาของคณะสงฆ์ จากคนตาบอดสู่คนของโลก ๔๖ แห่งอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง - อัลเฟรด โนเบล : ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๒ จากคนบาปกลายเป็นนักบุญอันดับหนึ่งของโลก ๕๕
  • 5. หน้า ภาค ๓ วิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงชีวิตของบุคคลสำคัญ ๖๕ - อโศกมหาราช ภาค ๑ ทฤษฎี - องคุลิมาล - กิสาโคตมี ดั่งดวงตะวัน - หลุยส์ เบรลล์ - อัลเฟรด โนเบล พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งการศึกษา มนุษย์ทุกคน ภาคพิเศษ ๖๖ มีศักยภาพในการเป็นนักศึกษา กล่าวคือ สามารถฝึก หัด พัฒนา บริษัทยูแทคไทย จำกัด : กัลยาณมิตรยิ่งใหญ่ ให้มีพัฒนาการที่ดียิ่งๆ ขึ้นไปจากปุถุชนจนเป็นกัลยาณชน และ ผู้สร้างโรงเรียนเตรียมสามเณรวัดครึ่งใต้วิทยา อารยชนในที่สุด ผู้ที่ศึกษาสำเร็จการศึกษาตามแนวทางของพุทธ- ศาสนา นับว่าเป็น “พุทธะ” คือ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ที่ว่าเป็น ผู้รู้ หมายถึง รู้จักโลกและชีวิตตามความเป็นจริง เช่น รู้ว่าโลกและชีวิตเป็นไปตามเหตุตามปัจจัย ไม่ได้เป็นไปตามที่ ใจเราต้องการ รูวาใดๆ ในโลกล้วนตกอยูภายใต้กฎไตรลักษณ์ คือ ้่ ่ ไม่ เ ที่ ย ง เป็ น ทุ ก ข์ เป็ น อนั ต ตา (ไม่ แ น่ ไม่ ไ ด้ ดั่ ง ใจ ไม่ มี อ ะไร สมบูรณ์แบบ) รู้ว่ากายใจของเราเป็นเพียงองค์ประกอบของเหตุ ปัจจัยฝ่ายรูปธรรมและนามธรรมมารวมกันชั่วคราว ตัวตน (อัตตา)
  • 6. ที่แท้จริงของเรานั้นไม่มี ความรู้สึกว่าตัวฉัน (อหังการ) ของฉัน ผูรู้ ผูตน ผู้เบิกบาน ฉันนั้น บัวทุกดอกมีวิวัฒนาการสูงสุดอยู่ที่การ ้ ้ ื่ (มมังการ) นี่แหละตัวฉัน (เอโสหมสฺม) เป็นเพียงความหลงผิดทีเรา ิ ่ ได้ ผ ลิ บ าน มนุ ษ ย์ ทุ ก คนก็ มี วิ วั ฒ นาการสู ง สุ ด อยู่ ที่ ก ารได้ ตื่ น รู้ คิดกันขึนมาเอง หรือความรูวา ชีวิตของมนุษย์ทุกคนล้วนมีโอกาส ้ ้่ สู่อิสรภาพ เผชิญโลกธรรมทั้ง ๘ อันประกอบด้วยได้ลาภ เสื่อมลาภ ได้ยศ มนุษย์มีศักยภาพที่จะเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานได้ก็จริงอยู่ แต่ เสือมยศ สรรเสริญ นินทา สุข ทุกข์ ่ ศักยภาพเช่นว่านั้นจะได้รับการพัฒนาขึ้นมาหรือไม่ ย่อมขึ้นอยู่กับ กล่าวอย่างถึงทีสด ความรูจกโลกและชีวตตามความเป็นจริง ่ ุ ้ั ิ เหตุปัจจัย ๒ ประการ ซึ่งพระพุทธองค์ทรงเรียกว่า “บุพนิมิตแห่ง คือ การรู้ว่าชีวิตเป็นทุกข์ (ทุกข์) และความทุกข์นั้นเกิดขึ้นมาจาก มรรค” หรือ “รุ่งอรุณของชีวิตดีงาม” สาเหตุคืออวิชชา (สมุทัย) แต่เมื่อความทุกข์มีอยู่ ภาวะที่ปลอด บุพนิมิตแห่งมรรค (มรรคมีองค์ ๘ หรือ ระบบการศึกษาเพื่อ ทุกข์ก็มีอยู่เช่นกัน (นิโรธ) และทางดับทุกข์นั้น ก็มีอยู่แล้ว (มรรค) พัฒนาศักยภาพแห่งความเป็นพุทธ) หรือ “รุ่งอรุณของชีวิตดีงาม” เป็นต้น ตามที่กล่าวมานี้มี ๒ ประการ ที่ว่าเป็น ผู้ตื่น หมายถึง ตื่นจากการถูกครอบงำของกิเลส ๑. โยนิโสมนสิการ ความรู้จักคิด คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ๒. กัลยาณมิตร ความมีมิตรดี ที่ว่าเป็น ผู้เบิกบาน หมายถึง หลุดพ้นจากพันธนาการของ ทั้งความรู้จักคิด (analytical thinking) และความมีมิตรดี กิเลสอย่างสิ้นเชิง จึงมีจิตและปัญญาที่เป็นอิสระ สดชื่น เบิกบาน (having good friends) เป็นพุทธธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ ผ่องใส เป็นสุข ดังหนึ่งดอกบัวที่พ้นจากน้ำในยามรัตติกาล ครั้นได้ ไว้เป็นอันมากว่า เป็นปัจจัยสำคัญอันเป็นจุดเริ่มต้นของการมีชีวิต สัมผัสแสงแรกแห่งอาทิตย์อุทัยก็พลันเริงแรงแสงฉายอย่างงดงาม ที่มีการศึกษา หรือเป็นจุดตั้งต้นของการดำเนินอยู่บนเส้นทางของ ในยามรุ่งอรุณ การเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน หรือการดำเนินอยู่บนอริยมรรค ใคร มนุษย์ทุกคนก็เป็นเช่นดอกบัว คือ บัวทุกดอกมีศักยภาพที่ ก็ตามมีความรู้จักคิดและมีมิตรดี ก็เป็นอันว่า คนคนนั้นกำลังมี จะผลิบานฉันใด มนุษย์ทกคนก็มศกยภาพทีจะเป็นพุทธะ คือ เป็น ุ ี ั ่ ชีวิตที่มีหลักประกันว่า จะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง มีแนวโน้ม มี
  • 7. อนาคตที่สดใส เชื่อมั่นได้ว่า จะสามารถก้าวไปข้างหน้าได้อย่าง แห่งหน แต่ในทางกลับกัน คนที่ไม่รู้จักคิด แม้จะมีกัลยาณมิตรอยู่ สง่างาม รุ่งโรจน์โชตนา เหมือนดั่งเมื่อมีรัศมีอ่อนๆ ของดวงอาทิตย์ รอบกาย ก็ ไ ม่ อ าจได้ รั บ ประโยชน์ โ สตถิ ผ ลอย่ า งที่ ค วรจะเป็ น อุทัยไขแสงเรื่อเรืองขึ้นมาก่อนในยามรุ่งอรุณ ก็เป็นอันเชื่อมั่นได้ว่า ดุ จ เดี ย วกั บ ทั พ พี ที่ อ ยู่ กั บ หม้ อ แกง ทว่ า ไม่ รู้ ร สแกง กบอยู่ กั บ ไม่ช้าไม่นานต่อจากนั้น โลกทั้งโลกจะสว่างไสวไปด้วยพลังงาน ดอกบัว ทว่าไม่รู้รสเกสรบัว จากแสงอาทิตย์โดยสมบูรณ์ ความข้อนีมพทธวัจนะตรัสไว้ดงต่อไปนี้ ้ ี ุ ั ในอดีตกว่าพันปีมาแล้ว กาลิเลโอ กาลิเลอิ เคยสังเกตเห็น “ภิกษุทั้งหลาย ก่อนอาทิตย์อุทัย ย่อมมีแสงอรุณเรื่อเรืองขึ้น การแกว่งของโคมไฟในโบสถ์แห่งหนึ่งว่า มีระยะการแกว่งที่เท่ากัน มาให้ เ ห็ น เป็ น บุ พ นิ มิ ต ฉั น ใด ความรู้ จั ก คิ ด ก็ เ ป็ น ตั ว นำ เป็ น เสมอ จึงนำเอาเหตุการณ์เล็กๆ นี้มาพิจารณาก็ทำให้ค้นพบกฎการ บุพนิมิตแห่งการเกิดขึ้นของอริยมรรคมีองค์ ๘ แก่ภิกษุ ฉันนั้น” แกว่งของลูกตุ้ม ซึ่งเป็นความจริงทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติที่ยัง คงใช้ได้มาจนถึงทุกวันนี้ “ภิกษุทั้งหลาย ก่อนอาทิตย์อุทัย ย่อมมีแสงอรุณเรื่อเรืองขึ้น มาให้เห็นเป็นบุพนิมิต ฉันใด ความมีกัลยาณมิตร ก็เป็นตัวนำ วั น หนึ่ ง ขณะที่ไ อแซค นิ ว ตั น นั่ ง อยู่ ใ ต้ ต้ น แอ๊ ป เปิ้ ล เขา เป็ น บุ พ นิ มิ ต แห่ ง การเกิ ด ขึ้ น ของอริ ย มรรคมี อ งค์ ๘ แก่ ภิ ก ษุ สังเกตเห็นว่า ลูกแอ๊ปเปิ้ลที่หล่นลงมาแล้วต้องตกลงดินเสมอ จึง ฉันนั้น” (สํ.ม.๑๙/๕-๑๒๙/๒-๓๖) เกิดคำถามว่า ทำไมผลแอ๊ปเปิ้ลเมื่อหล่นจากขั้วแล้วจึงไม่ลอยขึ้น สู่ น ภากาศ ผลของการครุ่ น คิ ด หาความจริ ง ที่ ซ่ อ นอยู่ เ บื้ อ งหลั ง โยนิโสมนสิการ หรือ ความรู้จักคิด เป็นศักยภาพที่สามารถ ปรากฏการณ์คราวนี้ ทำให้เขาค้นพบกฎแห่งแรงดึงดูดหรือกฎแห่ง ฝึกหัดพัฒนาให้เกิดขึ้นมาได้ ทั้งยังถือว่าเป็นคุณธรรมแกนที่เมื่อมี แรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งก็เป็นความจริงทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ขึ้นมาในบุคคลใดแล้ว แม้ไม่ต้องอาศัยกัลยาณมิตร ซึ่งเป็นปัจจัย อีกอย่างหนึ่งที่ยังคงเป็นจริงอยู่มาจนถึงบัดนี้ ภายนอก เช่ น พระพุ ท ธเจ้ า พระอริ ย สาวก พระสาวกสาวิ ก า ปัญญาชน หรือบุคคลทั่วไปเลย บุคคลนั้นๆ ก็สามารถพิจารณา ในสมั ย พุ ท ธกาล ขณะที่ ส ามเณรน้ อ ยรู ป หนึ่ ง กำลั ง เดิ น เหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน เรื่องราวหรือประสบการณ์ต่างๆ ที่ผ่าน บิณฑบาตอยู่ในหมู่บ้าน ระหว่างทางเธอสังเกตเห็นชาวนากำลัง พบให้ก่อเกิดเป็น “ปัญญา” ที่นำมาพัฒนาชีวิตได้ ซึ่งเมื่อมองใน ไขน้ำเข้านา ช่างศรกำลังดัดลูกศร ช่างไม้กำลังเกลาไม้ เธอเกิด แง่นี้ จึงกล่าวได้ว่า สำหรับคนที่รู้จักคิด ย่อมมีกัลยาณมิตรอยู่ทุก คำถามเชิงวิจัยขึ้นมาว่า ชาวนายังสามารถไขน้ำให้เข้านาได้ตาม 10 11
  • 8. ประสงค์ ช่างศรยังดัดลูกศรที่คดให้ตรงได้ตามประสงค์ ช่างไม้ยัง เกลาไม้ที่ขรุขระให้กลมกลึงได้ตามประสงค์ แล้วทำไมเราจะฝึก ตัวเองให้เป็นบัณฑิตไม่ได้ ด้วยความเป็นคนช่างคิด ช่างพิจารณา ประสบการณ์ ที่ อ ยู่ ต รงหน้ า อย่ า งลึ ก ซึ้ ง สามเณรน้ อ ยจึ ง ถื อ เอา กัลยาณมิตรธรรม : ประสบการณ์ที่ได้ผ่านพบมาเตือนตนให้รีบพัฒนาตนเองจนบรรลุ อริยมรรคกระทั่งภายในไม่ทันข้ามวัน ก็สามารถบรรลุภาวะพระ ภาวะผู้นำของกัลยาณมิตร นิ พ พานอั น เป็ น ผลที่ ห มายสู ง สุ ด ในทางพุ ท ธศาสนาได้ ส มตาม เจตนารมณ์ ตามความหมายโดยทั่วไป กัลยาณมิตร หมายถึง บุคคล ตัวอย่างทั้งสามประการที่กล่าวมานี้ แสดงให้เห็นว่า สำหรับ หรื อ สภาพแวดล้ อ มที่ มี ส่ ว นเกื้ อ กู ล ให้ บุ ค คลนั้ น ๆ รู้ จั ก การใช้ ผู้ ที่ มี โ ยนิ โ สมนสิ ก าร คื อ รู้ จั ก คิ ด หรื อ คิ ด เป็ น นั้ น แม้ ไ ม่ มี ปัญญา ใช้ความคิด ใช้วิจารณญาณ อันเป็นเหตุให้มีวิถีชีวิตที่ดี กัลยาณมิตรที่เป็นบุคคลสำคัญหรือเป็นผู้ทรงภูมิธรรมภูมิปัญญา งาม เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตไปในทิศทางที่ประเสริฐ คอยแนะนำพร่ำสอนโดยตรง เขาก็สามารถค้นพบ “ทางเดิน” ที่ เลิศล้ำ เป็นผู้ทรงธรรมทรงปัญญา แต่เมื่อว่าตามความหมายใน รุ่งโรจน์ของตัวเองได้ แต่คนเช่นนี้มีไม่มากนัก สำหรับคนทั่วไปแล้ว คั ม ภี ร์ ท่ า นยกตั ว อย่ า งว่ า กั ล ยาณมิ ต ร ย่ อ มหมายรวมตั้ ง แต่ การที่จะ “รู้จักคิด” จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัย “กัลยาณมิตร” พระพุ ท ธเจ้ า พระอรหั น ต์ เป็ น ต้ น ลงมาจนถึ ง คนทั่ ว ไปที่ มี ส่ ว น คอยเกื้อกูล เกื้อกูลให้แต่ละบุคคลรู้จักการพัฒนาตัวเอง พระพุทธเจ้าของเรา นั้น เมื่อตรัสถึงพระองค์เอง บ่อยครั้งก็ทรงระบุถึงสถานภาพของ พระองค์ว่า ทรงเป็นเพียง “กัลยาณมิตร” ของมนุษยชาติ เช่น “อาศัยเราเป็นกัลยาณมิตร ประดาสัตว์ผู้มีชาติเป็นธรรมดา ย่อมพ้นจากชาติ ผู้มีชราเป็นธรรมดา ย่อมพ้นจากชรา ผู้มีมรณะ เป็นธรรมดา ย่อมพ้นจากมรณะ ผู้มีความโศก ความคร่ำครวญ 12 13
  • 9. หวนไห้ ความทุ ก ข์ โ ทมนั ส และความคั บ แค้ น ใจเป็ น ธรรมดา วางใจในฝี มื อ การบั ญ ชาการรบ ต่ า งยอมให้ น ำทั พ ด้ ว ยความ ย่อมพ้นจากความคร่ำครวญหวนไห้ ความทุกข์โทมนัส และความ เต็มใจในฝีมือ เพราะรู้ว่าเป็นผู้คุ้มครองป้องกันให้ลุล่วงปลอดภัย คับแค้นใจ” (สํ.ม.๑๙/๕-๑๑/๒-๕) ได้อย่างแท้จริง เมื่ อ กล่ า วอย่ า งเคร่ ง ครั ด กั ล ยาณมิ ต รที่ จ ะถื อ ว่ า เป็ น ดั่ ง ๔. มี ว าทศิ ล ป์ เพราะกอปรด้วยศิลปะในการพูด รู้ว่าพูด “รุ่งอรุณของชีวิตดีงาม” หรือเป็น “บุพนิมิตแห่งชีวิตดีงาม” ตาม อย่างไรจึงได้ผล พูดอย่างไรจึงจะสอดคล้องกับสถานการณ์และ แนวพุทธพจน์ ควรจะมีคุณสมบัติที่เรียกว่า “กัลยาณมิตรธรรม” จริ ต ของบุ ค คล พู ด อย่ า งไรจึ ง จะทำให้ เ รื่ อ งที่ พู ด แจ่ ม กระจ่ า ง ๗ ประการดังต่อไปนี้ สร้างความเข้าใจให้แก่ผู้ฟัง รวมทั้งรู้จักว่า เมื่อไหร่ไม่ควรพูดด้วย ๑. น่ารัก เพราะกอปรด้วยเมตตา ชวนให้เข้าไปปรึกษาหารือ เหมือนช่างร้อยดอกไม้ รู้จักดอกไม้ว่าดอกชนิดไหนควรนำไปใช้ สอบถาม เรียนธรรม แสวงปัญญา เหมือนร่มไม้ใหญ่ที่มองเห็น งานแบบใด สามารถเลือกใช้ดอกไม้ได้อย่างมีศิลปะ รวมทั้งรู้ว่า ร่มเงาแต่ไกลแล้วอยากเข้าไปอาศัยหลบร้อนให้สบายใจ ดอกไม้ชนิดใดไม่ควรใช้งานก็คัดออกจากกองดอกไม้ ๒. น่าเคารพ เพราะกอปรด้วยคุณความดี มีศีลาจารวัตร ๕. มีความสามารถในการฟังอย่างลึกซึ้ง เพราะกอปรด้วย งดงาม วางตนสมควรแก่ฐานะ เชื่อถือได้โดยสนิทใจว่าเป็นคนดี ความอดทน ใจเย็น เห็นว่าคำพูดของผู้อื่นเป็นสิ่งอันควรน้อมใจรับ จริง อยู่ใกล้แล้วได้ความอบอุ่น มั่นใจ เหมือนบ้านที่สร้างอย่าง ฟังด้วยความเคารพในสิ่งที่ผู้พูดต้องการจะกล่าว ยินดีฟังทัศนะที่ มั่ น คง แข็ ง แรง อยู่ อ าศั ย แล้ ว นอนหลั บ สนิ ท ด้ ว ยวางใจว่ า แตกต่างหลากหลายโดยไม่โกรธ ไม่ฉุนเฉียว ไม่หงุดหงิด ไม่เห็นว่า ปลอดภัยอย่างแน่นอน เป็นสิ่งต่ำต้อยด้อยค่า เหมือนพ่อแม่ที่ยินดีฟังคำถามด้วยความ สนใจใฝ่รู้ ช่างซัก ช่างถาม ช่างสงสัยของลูกๆ ด้วยความใจเย็น ๓. น่ายกย่อง เพราะกอปรด้วยปัญญา เป็นพหูสูต ทรงภูมิรู้ ภูมิธรรม รอบด้าน ลึกซึ้ง กว้างขวางอย่างแท้จริง ควรยึดเป็นแบบ ๖. มีความสามารถในการอธิบายขยายความได้อย่างลึกซึง ้ อย่าง สร้างแรงบันดาลใจให้อยากเจริญรอยตาม ทั้งยังสามารถ เพราะกอปรด้วยความรอบรู้อย่างสุขุม ลุ่มลึก ทั้งยังมีศิลปะในการ เอ่ยอ้างถึงด้วยความสะดวกใจว่า เชี่ยวชาญปราดเปรื่อง มีความ อธิบายขยายความเรื่องที่ลึกซึ้งให้เข้าใจง่าย เรื่องที่เป็นนามธรรม เป็นเลิศทางปัญญาและวิชาการ เหมือนแม่ทัพที่เหล่าทหารหาญ ให้เป็นรูปธรรม รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงเรื่องราวจากเรื่องธรรมดา 1 1
  • 10. สามัญขึ้นไปหาเรื่องราวที่ลึกซึ้งยิ่งๆ ขึ้นไปได้อย่างเป็นระบบ โดย ไม่ชวนสับสน ไขว้เขว หรือฟั่นเฝือ เหมือนนักกล่าวสุนทรพจน์ชั้น นำที่ รู้ จั ก การร้ อ ยเรี ย งเรื่ อ งราวมากล่ า วได้ อ ย่ า งน่ า ฟั ง ตั้ ง แต่ เรืองง่ายๆ ไปจนถึงเรืองทีมความลึกซึงกินใจ ก่อเกิดความซาบซึงใจ ่ ่ ่ ี ้ ้ ภาค ๒ กรณีศึกษา แก่ผู้ฟังโดยถ้วนหน้า ๗.ไม่ชักนำในทางที่ผิด เพราะกอปรด้วยวิจารณญาณและ ความปรารถนาดี จึงมีแต่ความเมตตาต่อผู้ที่เข้ามาสนิทเสวนา ความรูจกคิด (โยนิโสมนสิการ) และการมีมตรดี (กัลยาณมิตร) ้ั ิ ปรารถนาให้เขาได้รับแต่สิ่งที่ดีงามล้ำเลิศโดยส่วนเดียว เหมือนหมู่ ที่กล่าวมาข้างต้นทำงานร่วมกันอย่างไร เกื้อกูลหนุนส่งกันอย่างไร ผึ้ ง ภมรที่ รู้ จั ก เลื อ กสรรแต่ ม วลน้ ำ หวานจากดวงดอกไม้ ที่ ไ ร้ พิ ษ จะเห็ น ได้ จ ากกรณี ศึ ก ษาผ่ า นชี ว ประวั ติ ข องบุ ค คลสำคั ญ ดั ง จะ มากลั่นกรองเป็นมธุรสเปี่ยมโอชา๑ กล่าวต่อไปนี้ กัลยาณมิตรชั้นนำ ย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติครบทั้ง ๗ ๑. พระเจ้าอโศกมหาราช ( พ.ศ. ๒๗๐ - ๓๑๒) ประการ แต่ ส ำหรั บ คนทั่ ว ไป การมี คุ ณ สมบั ติ ข องกั ล ยาณมิ ต ร เพียงข้อเดียว คือ “ไม่ชักนำในทางที่ผิด” ก็นับว่าเป็นกัลยาณมิตรที่ ๒. กิสาโคตมี (มีชีวิตอยู่ในพุทธกาล) ควรสนิ ท เสวนาได้ แ ล้ ว ต่ อ จากนี้ ไ ป จะยกตั ว อย่ า งเพื่ อ ให้ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ความสำคั ญ และการทำงานของโยนิ โ สมนสิ ก ารและ ๓. หลุยส์ เบรลล์ (ค.ศ. ๑๘๐๙ - ๑๘๕๒) กัลยาณมิตร ซึ่งมักจะมาพร้อมกัน ดำรงอยู่ในกันและกัน เกิดขึ้น ในลักษณะเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่กันและกันอย่างใกล้ชิดเสมอ ๔. อัลเฟรด โนเบล (ค.ศ. ๑๘๓๓ - ๑๘๙๖) ๑ คำอธิบายกัลยาณมิตรธรรมในทีนี้ ผูเ้ ขียนจัดปรับใหม่โดยยกอุปมาประกอบ ่ เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น ผู้สนใจคำอธิบายตามตัวบทในบาลีเดิมควรดูใน องฺ.สตฺตก.๒๓/๓๔/๓๓ 1 1
  • 11. ในบรรดาพระนามของท้าวพระยามหากษัตริย์ นับได้เป็นจำนวนพัน จำนวนหมื่น ซึ่งมีอยู่อย่างดาษดื่นในข้อบันทึกทางประวัติศาสตร์ พระนามของพระเจ้าอโศกมหาราช ส่องแสง และดูเหมือนจะมีส่องแสงอยู่เพียงพระนามเดียวเท่านั้น “ ด้วยความรุ่งโรจน์เช่นเดียวกับดวงดาวอันสุกสกาวยิ่ง H.G. Wells นักเขียน นักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษ 1 1
  • 12. ผลาญชีวิตผู้คนไปมากมายนับไม่ถ้วน จนได้รับพระราชสมัญญา ว่า “จัณฑาโศก” แปลว่า “อโศกทมิฬ” ด้วยเดชานุภาพทางการรบ อันหาใครเปรียบไม่ได้ ทำให้อาณาจักรของพระเจ้าอโศกแผ่ขยาย อโศกมหาราช ออกไปอย่ า งกว้ า งขวางมากมายเสี ย ยิ่ ง กว่ า ประเทศอิ น เดี ย ใน ปัจจุบันหลายเท่า จากทรราชกระหายสงครามเป็นมหาราชโลกไม่ลืม แต่แล้ว อยู่มาวันหนึ่ง ขณะที่ทรงกรีธาทัพไปทำสงคราม ยึดแคว้นกาลิงคะนั้นเอง จุดเปลี่ยนแห่งชีวิตของพระองค์ก็เดินทาง มาถึง กล่าวกันว่า สงครามกับแคว้นกาลิงคะคราวนั้น กองทัพของ พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเป็นพระราชโอรสของพระเจ้า พระองค์เข่นฆ่าทหาร ประชาชนผู้บริสุทธิ์ไปมากมายหลายแสนคน พิ น ทุ ส ารแห่ ง ราชวงศ์ โ มริ ย ะ แคว้ น มคธ ทรงมี ชี วิ ต อยู่ ใ นพุ ท ธ- เลื อ ดนองแผ่ น ดิ น กาลิ ง คะดั ง หนึ่ ง ทะเลเลื อ ดกว้ า งไกลไปสุ ด ศตวรรษที่ ๓ (พ.ศ. ๒๗๐ - ๓๑๒) เมื่อครั้งที่พระราชบิดายังทรง ลูกหูลูกตา ความเสียหายอันใหญ่หลวงคราวนี้ ก่อให้เกิดความ พระชนม์อยู่นั้น ทรงแต่งตั้งให้พระองค์ไปดำรงตำแหน่งอุปราช “สลดพระทั ย ” แก่ พ ระเจ้ า อโศกอย่ า งที่ ไ ม่ เ คยทรงเป็ น มาก่ อ น ณ กรุงอุชเชนี แคว้นอวันตี ครั้นพระราชบิดาเสด็จสวรรคตแล้ว ทำให้พระองค์ทรงหันมาตั้งคำถามกับตนเองว่า สิ่งที่ทรงทำลงไป พระองค์ทรงกรีธาทัพมายึดอำนาจทางการเมืองจากพระเชษฐา นั้นคุ้มกันหรือไม่กับชีวิตประชาชนที่ต้องมาสังเวยความกระหาย ธิราช โดยทรงสังหารผลาญราชนิกุลร่วมสายโลหิตเดียวกันไปกว่า สงครามของตนเอง ๙๙ องค์ เหลือเพียงพระอนุชาหนึ่งองค์เท่านั้น จากนั้น ทรงจัดการ ในที่สุด ผลของการรู้จักใช้ “โยนิโสมนสิการ” โดยมี “ชีวิต การเมื อ งภายในอี ก ๔ ปี (ตามคั ม ภี ร์ ฝ่ า ยพุ ท ธระบุ ว่ า ทรงยึ ด ของผู้วายชนม์ในสงครามหลายแสนคน” เป็นกัลยาณมิตร ก็ทำให้ อำนาจ พ.ศ. ๒๑๔) เมื่อสถานการณ์ทางการเมืองสงบเรียบร้อย พระองค์ทรงได้คำตอบว่า สิ่งที่ทรงทำอยู่นั้นไม่ถูกต้อง หลังจาก แล้ว จึงทรงทำพิธีปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ต่อจากพระราช ที่ ท รงได้ คิ ด คราวนั้ น แล้ ว ทรงเปลี่ ย นพระทั ย ไปเป็ น คนละคน บิดา (พ.ศ. ๒๑๘) กล่ า วคื อ จากอโศกทมิ ฬ ผู้ ก ระหายเลื อ ดกระหายสงคราม ในยุ ค ต้ น ของการครองราชสมบั ติ นั้ น พระเจ้ า อโศกทรง มากระหายธรรมคือความดีงามและสันติภาพแทน นโยบายในการ กระหายสงครามมาก ทรงรุกรบไปทุกหนทุกแห่ง เข่นฆ่า สังหาร บริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ของพระองค์ ก็ เ ปลี่ ย นไปจากเดิ ม อย่ า ง 20 21
  • 13. สิ้นเชิง คือ จากนโยบาย “สงครามวิชัย” (มุ่งชัยชนะด้วยการทำ ในคราวยึดครองแคว้นกลิงคะนี้ จะมีประชาชน สงครามขยายอาณาเขต) มาเป็น “ธรรมวิชัย” (มุ่งชัยชนะด้วยการ ที่ ถู ก ฆ่ า ล้ ม ตายลง และถู ก จั บ เป็ น เชลยเป็ น เผยแผ่ธรรมไปยังอาณาเขตที่ยึดมาได้ทั้งหมด) ข้อความในศิลา- จำนวนเท่ า ใดก็ ต าม แม้ เ พี ย งหนึ่ ง ในร้ อ ยส่ ว น จารึกที่พระองค์โปรดให้จัดทำขึ้นในเวลาต่อมา บันทึกเหตุการณ์ หรื อ หนึ่ ง ในพั น ส่ ว น (ของจำนวนที่ ก ล่ า วนั้ น ) สำคัญอันเป็นจุดเปลียนประวัตศาสตร์ในคราวนันเอาไว้วา ่ ิ ้ ่ พระผู้ เ ป็ น ที่ รั ก แห่ ง ทวยเทพ ย่ อ มทรงสำนึ ก ว่ า เป็นกรรมอันร้ายแรงยิ่ง... “สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ปริ ย ทรรศี ผู้ เ ป็ น ที่ รั ก แห่งทวยเทพ เมื่ออภิเษกแล้วได้ ๘ พรรษา ทรงมี สำหรั บ พระผู้ เ ป็ น ที่ รั ก แห่ ง ทวยเทพ ชั ย ชนะ ชัยปราบแคว้นกลิงคะลงได้ จากแคว้นกลิงคะนั้น ที่ทรงถือว่ายิ่งใหญ่ที่สุด ได้แก่ ธรรมวิชัย (ชัยชนะ ประชาชนจำนวนหนึ่งแสนห้าหมื่นคนได้ถูกจับไป โดยธรรม) และธรรมวิ ชั ย นั้ น พระผู้ เ ป็ น ที่ รั ก เป็ น เชลย จำนวนประมาณหนึ่ ง แสนคนถู ก ฆ่ า แห่งทวยเทพได้ทรงกระทำสำเร็จแล้ว ทั้ง ณ ที่นี้ และอีกหลายเท่าของจำนวนนั้นได้ล้มตายไป (ในพระราชอาณาเขตของพระองค์เอง) และใน ดินแดนข้างเคียงทังปวง ไกลออกไป ๖๐๐ โยชน์... ้ นับแต่กาลนั้นมาจนบัดนี้ อันเป็นเวลาที่แคว้น กลิงคะได้ถกยึดครองแล้ว การทรงประพฤติปฏิบติ ู ั ทุ ก หนทุ ก แห่ ง (ประชาชนเหล่ า นี้ ) พากั น ธรรม ความมีพระทัยใฝ่ธรรม และการทรงอบรม ประพฤติปฏิบตตามคำสอนธรรมของพระผูเ้ ป็นทีรก ั ิ ่ั สั่งสอนธรรม ก็ได้เกิดมีขึ้นแล้วแก่พระผู้เป็นที่รัก แห่งทวยเทพ... แห่งทวยเทพ ด้ ว ยเหตุ เ พี ย งนี้ ชั ย ชนะนี้ เ ป็ น อั น ได้ ก ระทำ การที่ ไ ด้ ท รงปราบปรามแคว้ น กลิ ง คะลงนั้ น สำเร็จแล้วในที่ทุกสถานเป็นชัยชนะอันมีปีติเป็น ทำให้ พ ระผู้ เ ป็ น ที่ รั ก แห่ ง ทวยเทพ ทรงมี ค วาม รส พรั่งพร้อมด้วยความเอิบอิ่มใจ เป็นปีติที่ได้มา สำนึกสลดพระทัย... ด้วยธรรมวิชย... ั 22 23
  • 14. ชั ย ชนะอั น แท้ จ ริ ง นั้ น จะต้ อ งเป็ น ธรรมวิ ชั ย อันเป็นหัวใจสำคัญของพระพุทธศาสนาให้พระองค์สดับ หลังจาก เท่านั้น ด้วยว่าธรรมวิชัยนั้นเป็นไปได้ทั้งในโลก ทรงสดับแล้ว ทรง “คิดได้” (โยนิโสมนสิการ) จึงทรงหันมาปฏิวัติ บัดนี้ และโลกเบื้องหน้า การใช้ชีวิตของพระองค์ชนิดตรงกันข้ามกับที่ผ่านมาอย่างสิ้นเชิง ขอปวงความยิ น ดี แ ห่ ง สั ต ว์ ทั้ ง หลาย จงเป็ น ทรงเปลียนพระองค์เองจาก “อโศกทมิฬ” มาเป็น “ศรีธรรมาโศกราช” ่ ความยินดีในความพากเพียรปฏิบัติธรรม เพราะ (พระเจ้าอโศกผูทรงเป็นศรีแห่งธรรม) พระพุทธวัจนะในพระธรรมบท ้ ว่าความยินดีนั้น ย่อมอำนวยผลทั้ ง ในโลกบั ด นี้ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนพระทัยมานับถือพระพุทธศาสนาของพระองค์ และในโลกเบื้องหน้า” ๑ มีอยู่หนึ่งบท ประกอบด้วยสี่บาท ดังนี้ ในคั ม ภี ร์ ส มั น ตปาสาทิ ก า (วิ น ย.อ.๑/๔๓) ผลงานของ “ความไม่ประมาทเป็นทางไม่ตาย พระพุทธโฆษาจารย์เล่าถึงแรงจูงใจในการที่ทรงหันมาเลื่อมใสใน ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย พระพุทธศาสนาว่า (นอกจากเกิดจากความสลดพระทัยในหายน- คนไม่ประมาทไม่มีวันตาย ภัยที่เกิดแต่สงครามแล้ว) พระองค์ได้ทรงพบกับกัลยาณมิตร คือ คนประมาทไม่ต่างอะไรกับคนที่ตายแล้ว” สามเณรนิโครธซึ่งเป็นพระนัดดาของท้าวเธอเอง ในการพบปะกัน ความเสียหายอันใหญ่หลวงในสงครามที่ทำให้สลดพระทัย ในวั น หนึ่ ง ทรงสอบถามถึ ง หลั ก ธรรมคำสอนของพระพุ ท ธเจ้ า เมื่อมาบวกกับพุทธธรรมจากกัลยาณมิตรอย่างสามเณรนิโครธ สามเณรนิ โ ครธ ได้ แ สดงหลั ก ธรรมเรื่ อ ง “ความไม่ ป ระมาท” คงจะทำให้พระเจ้าอโศกทรงหันกลับมาพิจารณาชีวิตของพระองค์ อย่างลึกซึ้ง ว่ามรรคาที่ทรงดำเนินอยู่นั้น เป็นหนทางอันตราย เป็น วิถีแห่งการก่อทุกข์ ก่อเวรกรรมอันใหญ่หลวงแก่เพื่อนมนุษย์ ยัง ความเสียหายเกินประมาณให้เกิดขึ้นแก่ชีวิต ทรัพย์สิน ครอบครัว ๑ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). จารึกอโศก (ธรรมจักรบนเศียรสีสงห์) ฺ ่ ิ และบันทอนสันติภาพ สันติสขของสรรพชีพ สรรพสัตว์โดยแท้ นับแต่ ่ ุ รัฐศาสตร์แห่งธรรมาธิปไตย. (สำนักพิมพ์ผลิธัมม์ : กรุงเทพฯ), ๒๕๕๒, วันที่ทรงสลดพระทัยและได้อาศัยการแนะนำจากกัลยาณมิตรแล้ว หน้า ๖๙ - ๗๐. ต่อมา 2 2
  • 15. ทรงฝักใฝ่พระพุทธศาสนามากยิ่งขึ้นถึงขนาดที่ทรงศึกษา ปรึกษา สอบถาม เรียนรู้ธรรมะ ถวายไทยธรรม ตลอดถึงเสด็จ พระพุทธศาสนาด้วยพระองค์เองจากพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ประพาสเพือสอดส่องดูสารทุกข์สกดิบของปวงอาณาประชาราษฎร์ ่ ุ ซึ่ ง เป็ น พระอรหั น ต์ แ ห่ ง ยุ ค สมั ย ในบั้ น ปลายแห่ ง พระชนมชี พ พร้อมทั้งพระราชทานความช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ ก็ถึงกับทรงสละราชสมบัติชั่วคราวมาบวชเป็นภิกษุในบวรพุทธ- - ทรงเปลี่ยนสมาช ที่เป็นงานสโมสรรื่นเริงสนุกสนานด้วย ศาสนา การเสพสุรายาเมา นำสัตว์ต่างๆ มาแข่งขัน ต่อสู้กัน ซึ่งเป็นเรื่อง ภายหลังจากที่พระเจ้าอโศกทรงกลับพระทัยจากผู้กระหาย เริงรมย์สนุกสนานการโลกีย์ล้วนๆ มาเป็นวิมานทรรศน์ คือ การจัด สงครามมาเป็นผู้เผยแผ่ธรรมแล้ว ทรงยังคุณูปการเป็นอันมากให้ นิทรรศการสิ่งดีมีคุณค่าที่จรรโลงจิตใจให้ประชาชนได้เห็นสิ่งที่ดี เกิดขึ้นแก่อาณาจักรและศาสนจักรดังต่อไปนี้ งาม อันจะน้อมนำไปสู่การมีใจสูง (๑) ในทางอาณาจั ก ร ทรงเปลี่ ย นนโยบายการเมื อ งการ - ทรงเปลี่ยนพิธีมงคลที่เป็นการเชื่อในโชคลางผ่านพิธีกรรม ปกครองจากสงครามวิ ชั ย (เอาชนะโดยสงคราม) มาเป็ น ขรึมขลังขมังเวทย์มาเป็นธรรมมงคลที่เน้นการปฏิบัติต่อกันและกัน ธรรมวิชัย ทำให้บ้านเมืองเปลี่ยนจากกลียุคเพราะภัยสงครามเข้า ให้ถูกต้อง (ตามแนวทิศ ๖) เป็นต้น สู่ยุคแห่งสันติภาพอันยาวนาน - ทรงเปลี่ ย นเภรี โ ฆษ ที่ เ ป็ น เสี ย งกลองศึ ก อั น หมายถึ ง (๒) ทรงเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลงค่านิยม ระบบความ การเกิดขึ้นของสงครามที่มาพร้อมกับความหายนะ เป็นธรรมโฆษ เชื่อ หรือกระบวนทัศน์แบบเดิมของอินเดียจากเดิมที่มีสาระไม่ ที่เน้นการเชิญชวนประชาชนมาฟังธรรม มากนักให้มีสาระมากขึ้น หรือในบางกรณีทรงยกเลิกของเดิมแล้ว - ทรงยกเลิกการฆ่าสัตว์ทั้งเพื่อการบริโภคและการบูชายัญ สร้างขึ้นมาใหม่ในรัชสมัยของพระองค์ เช่น อย่างชนิดที่พลิกระบบความเชื่อของคนในยุคสมัยก่อนหน้านั้น - ทรงเปลี่ยนวิหารยาตรา ที่พระราชาเสด็จไปทรงพักผ่อน รวมทั้งในยุคสมัยของพระองค์อย่างชนิดเป็นตรงกันข้าม จนเป็นที่ เพื่ อ ทรงล่ า สั ต ว์ แ ละแสวงหาความสำราญส่ ว นพระองค์ ม าเป็ น สังเกตกันในหมู่ผู้ศึกษาพุทธศาสนาในอินเดียว่า บางที การที่ทรง ธรรมยาตรา ที่พระราชาเสด็จไปทรงนมัสการพระสงฆ์ผู้ทรงศีล ยกเลิกการบริโภคเนือสัตว์และการบูชายัญนีเอง อาจเป็นจุดเริมต้น ้ ่ ่ 2 2
  • 16. ของค่านิยมการรับประทานอาหาร “มังสวิรัติ” ในเวลาต่อมาจนถึง (๔) ทรงสร้ า งถนน ขุ ด บ่ อ น้ ำ สร้ า งที่ พั กริ ม ทาง สร้ า งโรง ทุกวันนี้ก็เป็นได้ ในศิลาจารึกฉบับที่ ๑ ระบุถึงวัตรปฏิบัติในเรื่องนี้ พยาบาล (อโรคยสาลา) สวนสาธารณะมากมายทั่วราชอาณาจักร ไว้อย่างชัดเจนว่า (๕) ทรงส่งเสริมการศึกษาแก่ประชาชน โดยผ่านการเรียน “ธรรมโองการนี้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รัก ธรรมและเผยแผ่ธรรม เป็นเหตุให้มีประชาชนรู้หนังสือกันอย่าง แห่งทวยเทพ ได้โปรดให้จารึกไว้ แพร่หลาย ณ ถิ่นนี้ บุคคลไม่พึงฆ่าสัตว์มีชีวิตใดๆ เพื่อการบูชายัญ (๖) ทรงโปรดให้ทำศิลาจารึก บันทึกหลักธรรมคำสอนของ ไม่ พึ ง จั ด งานชุ ม นุ ม เพื่ อ การเลี้ ย งรื่ น เริ ง (สมาช) ใดๆ เพราะว่ า พระพุ ท ธเจ้ า ประดิ ษ ฐานยั ง ชุ ม ชนเมื อ ง และสถานที่ ส ำคั ญ ที่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวยเทพ ทรงมอง เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าทุกแห่งทั่วทั้งพระราชอาณาจักร เห็นโทษเป็นอันมากในการชุมนุมเช่นนั้น ก็แลการชุมนุมบางอย่าง ที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปริยทรรศี ผู้เป็นที่รักแห่งทวยเทพ ทรงเห็น (๗) ในทางศาสนจักร ทรงรับเป็นประธานอุปถัมภ์ในการ ชอบว่าเป็นสิ่งที่ดี มีอยู่อีกส่วนหนึ่ง (ต่างหาก) ทำสั ง คายนาพระธรรมวิ นั ย ครั้ ง ที่ ๓ ซึ่ ง ทำให้ พ ระธรรมวิ นั ย ได้รับการจัดระบบครบสมบูรณ์ทั้ง ๓ ปิฎก คือ พระวินัย พระสูตร แต่กอนนี้ ในโรงครัวหลวงของพระเจ้าอยูหวปริยทรรศี ผูเ้ ป็นทีรก ่ ่ ั ่ั พระอภิธรรม แห่งทวยเทพ สัตว์ได้ถูกฆ่าเพื่อทำเป็นอาหาร วันละหลายแสนตัว ครั้นมาในกาลบัดนี้ เมื่อธรรมโองการนี้อันพระองค์โปรดให้จารึก (๘) ทรงริเริ่ม “ธรรมยาตรา” คือการจาริกแสวงบุญไปยัง แล้ว สัตว์เพียง ๓ ตัว เท่านั้นที่ถูกฆ่า คือ นกยูง ๒ ตัว และเนื้อ สั ง เวชนี ย สถานทั้ ง สี่ ที่ นั บ เนื่ อ งในพุ ท ธประวั ติ ต ามแนวทางที่ ๑ ตัว ถึงแม้เนื้อนั้นก็ไม่ได้ถูกฆ่าเป็นประจำ ก็แลสัตว์ทั้งสามนี้ (ใน พระพุ ท ธเจ้ า ทรงประทานเอาไว้ ใ ห้ ใ นมหาปริ นิ พ พานสู ต ร ซึ่ ง กาลภายหน้า) ก็จักไม่ถูกฆ่าอีกเลย” เป็นต้นแบบของพุทธบริษัทในการจาริกแสวงบุญมาจนถึงบัดนี้ (๓) ทรงแต่งตั้งธรรมมหาอำมาตย์ให้เป็นตัวแทนพระองค์ (๙) ทรงให้เสรีภาพทางศาสนาแก่ประชาชนอย่างเต็มที่ ดังที่ เดินทางไปยังหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ราชธานีต่างๆ เพื่อ มีหลักฐานบันทึกไว้ในหลักศิลาจารึกหลักที่ ๑๒ ความตอนหนึ่ง สอนธรรมแก่ประชาชนทั่วทุกหนทุกแห่ง ระบุว่า 2 2