SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ฉบับที่ 2 / 2557
POLICY BRIEF
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประวัติและพัฒนาการ
จีนเทคโนโลยและ
วิทยาศาสตร์
นโยบาย
รศ. ดร. จานง สรพิพัฒน์
บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ประวัติการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน
จีนนับเป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
และถูกยอมรับให้เป็นผู้นาในด้านดังกล่าว เนื่องจากในยุคแรกเริ่มจีนมีระบบการศึกษาที่ก้าวหน้า โดยใช้
กระบวนการเรียนรู้แบบขงจื้อที่สร้างปัญญาชนขึ้นเป็นจานวนมาก จนสามารถสร้างประโยชน์และคิดค้นผลงาน
ทั้งด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมได้มากมาย แต่หลังศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมา ความก้าวหน้าทางวิทยาการ
ของจีนเริ่มเสื่อมถอยลงจนกระทั่งโลกตะวันตกได้ปฏิวัติวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution) จนสาเร็จและ
สามารถแซงหน้าไปได้ในที่สุด
สาเหตุสาคัญที่ทาให้การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนล้าหลังชาติตะวันตกนั้น ประการแรก
คือ กระบวนการเรียนรู้และค้นพบด้านวิทยาการในสมัยโบราณของจีนเน้นวิธีการลองผิดลองถูก (Trial & Error)
โดยไม่ได้ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา หรือหาองค์ความรู้
ใหม่ ดังนั้น องค์ความรู้ที่มีอยู่จึงแคบลงเรื่อย ๆ จนไม่สามารถพัฒนาให้ก้าวทันชาติตะวันตกได้ สาเหตุประการ
ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank เรื่อง “ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชน
จีน” จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13.00 -
16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
1โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่สองคือ ราชสานักจีนในสมัยนั้นไม่เห็นความสาคัญของงานด้านวิทยาศาสตร์ แต่กลับให้ความสาคัญต่องาน
ด้านศิลปะ วรรณกรรมและการบริหารปกครองมากกว่า และสาเหตุประการสุดท้ายคือ ในขณะที่ตะวันตกพัฒนา
ไปอย่างรวดเร็ว แต่จีนกลับมีความเป็นชาตินิยมสูง ภาคภูมิใจต่อความเจริญของตนเองมากจนกระทั่งปิดประตู
และไม่เปิดรับรู้ความเปลี่ยนแปลงจากภายนอก
อย่างไรก็ตาม เมื่อตระหนักได้ถึงปัญหาดังกล่าว ในทศวรรษที่ 1860 เป็นต้นมา จีนจึงเริ่มดาเนินนโยบาย
ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาตามแนวทางด้านเทคโนโลยีตะวันตกมากขึ้นโดยเริ่มจากการสร้างปืนใหญ่ และอู่
ต่อเรือกลไฟไอน้า ด้านการพัฒนาคน จีนได้ส่งนักศึกษาจีนไปเรียนยังประเทศที่มีความก้าวหน้าด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งญี่ปุ่น สหรัฐ รัสเซียและยุโรปเพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ที่แปลกใหม่จนนาไปสู่
การจัดตั้งโรงเรียนสมัยใหม่และการสร้างมหาวิทยาลัยแบบตะวันตก เช่น การจัดตั้ง The Academia Sinica
นอกจากนี้ การรับเอาอิทธิพลความคิดแบบตะวันตกเข้ามามากขึ้นยังได้นาไปสู่ความท้าทายความเชื่อและ
ค่านิยมทางสังคมแบบเดิมไปในเวลาเดียวกัน
โครงสร้างและการบริหารด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน
ภายหลังการเปิดรับแนวทางการพัฒนาตามแบบตะวันตก และได้รับคาแนะนาจากประเทศรัสเซีย จีนได้
จัดตั้งหน่วยงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย
ด้านวิทยาการต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์และเอื้อให้เกิดการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับชาติ
อย่างต่อเนื่อง โดยหน่วยงานวิจัยดังกล่าวอาศัยการดาเนินการผ่านองค์กร 4 ประเภท ได้แก่
1. Chinese Academy of Sciences
Chinese Academy of Sciences หรือ CAS เป็นหน่วยงานวิจัยชั้นนาที่จัดตั้งเป็นแห่งแรกและ
ปัจจุบันยังเป็นหน่วยงานวิจัยสาคัญที่สุดของฝ่ายพลเรือนจีน ขึ้นตรงกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ มีหน้าที่
หลักในการทาวิจัยด้านวิทยาศาสตร์เฉพาะทางขั้นพื้นฐาน (Basic Research) ตลอดจนทาภารกิจ
ร่วมกับหน่วยงานวิจัยฝ่ายทหารของจีนในการสร้างอาวุธนิวเคลียร์และจรวด นอกจากนั้น ในด้าน
การเมือง CAS ยังมีบทบาทเป็นคลังสมอง (Think-Tank) และเป็นผู้นาเสนอและร่างแผนพัฒนาด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่รัฐบาลกลางของจีนอีกด้วย
2. สถาบันวิจัยสังกัดมหาวิทยาลัย
ในยุคก่อตั้งยังเป็นหน่วยงานวิจัยที่มีบทบาทไม่มากนัก เนื่องจากกิจกรรมของมหาวิทยาลัยมัก
อยู่ที่การสอนและฝึกอบรมเพื่อผลิตบุคคลกรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหลัก งานวิจัยจาก
มหาวิทยาลัยในปัจจุบันส่วนใหญ่จึงมาจากมหาวิทยาลัยชั้นนาที่ขึ้นกับรัฐบาลกลางเท่านั้น แต่ใน
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยทุกระดับเริ่มมีบทบาทในการนาเสนอผลงานวิจัยมากขึ้น
3. สถาบันวิจัยสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมและรัฐบาลระดับท้องถิ่น
2
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
งานวิจัยหลักของหน่วยงานที่สังกัดกับกระทรวงอุตสาหกรรมและรัฐบาลท้องถิ่นจะทางานวิจัย
ด้านประยุกต์เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพของงานด้านอุตสาหกรรมเป็นสาคัญ
4. สถาบันวิจัยทางทหารสังกัดฝ่ายกลาโหม
นโยบายด้านความมั่นคงและเทคโนโลยีด้านการทหารเป็นเรื่องที่รัฐบาลจีนให้ความสาคัญเป็น
อันดับต้น ๆ จึงมีการทุ่มงบประมาณจานวนมากเพื่อสนับสนุนสถาบันวิจัยสังกัดฝ่ายกลาโหมโดยมี
เป้าหมายเพื่อสร้างอาวุธเฉพาะอย่าง (Project Base) เช่น การสร้างระเบิดนิวเคลียร์และไฮโดรเจน
จรวดข้ามทวีป เรือดาน้านิวเคลียร์ เป็นต้น
ในแง่ของการบริหารจัดการองค์กรด้านการวิจัยทั้ง 4 ประเภทดังกล่าว มีกระทรวงวิทยาศาสตร์เป็น
ศูนย์กลางประสานงานหลัก วางกรอบนโยบาย ตลอดจนจัดสรรงบประมาณการทาวิจัย โดยมีการกาหนด
ข้อเสนอหลัก (Core Proposal) พร้อมทั้งทุนการทาวิจัยเพื่อให้สถาบันต่าง ๆ เสนองานวิจัยที่เหมาะสมมาเพื่อ
พิจารณา ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะทาให้งบประมาณถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งยังกระตุ้นให้มีการแข่งขันกัน
พัฒนาผลงานระหว่างนักวิจัยด้วย
การปฏิรูปและพัฒนานโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน
ในทศวรรษก่อน 1980 ซึ่งเป็นยุคแรกที่จีนหันมาเอาจริงเอาจังด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี รัฐบาลยังคงให้ความสาคัญกับการสร้างความมั่นคงทั้งด้านอาวุธและเทคโนโลยีการรบ ทาให้การ
พัฒนาด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมยังคงล้าหลังอยู่ แต่เมื่อรัฐบาลเปลี่ยนทิศทางนโยบายหลักในการวิจัยและ
พัฒนาไปสู่การให้ความสาคัญต่อการสร้างขีดความสามารถในการผลิตอุตสาหกรรมในเชิงพาณิชย์ ประกอบกับ
ข้อได้เปรียบด้านทรัพยากรทางธรรมชาติและทรัพยากรมนุษย์จึงทาให้จีนผงาดขึ้นมาเป็นมหาอานาจภายใน
เวลาไม่นานนัก นอกจากนี้ การปรับเปลี่ยนนโยบายการให้ทุนอุดหนุนงานวิจัยจากเดิมที่ให้ทุนวิจัยในรูป
งบประมาณประจาปีโดยตรง มาเป็นการยื่นข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอทุน (Call Proposal) จากแหล่งให้ทุน
วิจัยยังทาให้การผลิตผลงานวิจัยของหน่วยงานต่าง ๆ มีแนวโน้มพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
สาหรับการพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระยะยาว จีนได้ใช้นโยบายการลงทุน
ร่วมหรือรับการลงทุนจากต่างชาติเพื่อรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนาจนสามารถสร้างเทคโนโลยีของ
ตนเองและพึ่งพาตนเองได้ ส่วนนโยบายด้านการแลกเปลี่ยนความรู้ ได้มีการจัดตั้งองค์กรวิชาชีพทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อจัดอบรม เผยแพร่องค์ความรู้ทางวิชาการที่ได้รับมาจากแหล่งต่าง ๆ ซึ่งช่วยให้
นักวิจัยจากหลายสถาบันที่อยู่ในสายอาชีพเดียวกันสามารถพบปะและแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูลหรือทาข้อเสนอ
โครงการวิจัยร่วมกันได้
3
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทสรุปและข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย
นับตั้งแต่เข้าสู่ยุคปฏิรูป จีนได้ปรับเปลี่ยนทิศทางนโยบายด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยหันมาให้
คุณค่ากับการวิจัยพัฒนาอันเป็นปัจจัยสาคัญที่จะนาไปสู่การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้อย่างยั่งยืน
โดยรัฐบาลสนับสนุนให้มีการก่อตั้งหน่วยงานวิจัยในระดับต่าง ๆ และส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี
ระหว่างสถาบันวิจัยรวมทั้งภาคอุตสาหกรรมทั้งภายในและระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง
ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ประเทศจีนประสบผลสาเร็จทางด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนั้น ที่
สาคัญที่สุดคือ ค่านิยมของรัฐและประชาชนที่มุ่งมั่นจะพึ่งพาตนเองทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอันเป็น
แรงกระตุ้นสาคัญที่ทาให้ทุกภาคส่วนไม่นิ่งเฉยที่จะแสวงหาความรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อยกระดับ
ความก้าวหน้าด้านวิทยาการจนทาให้จีนก้าวมาเป็นหนึ่งในประเทศผู้นาด้านเทคโนโลยีในปัจจุบัน
บทเรียนสาคัญจากการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนนั้น มีหลายแนวทางที่สามารถนามาปรับ
ใช้กับการบริหารและดาเนินนโยบายสาหรับประเทศไทยได้ ประการแรกที่สาคัญคือ กระบวนการเรียนรู้ด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ดีไม่ควรใช้วิธีการพึ่งพาตนเองแต่เพียงอย่างเดียว แต่ควรเร่งรัดให้มีการ
แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นในระดับรัฐบาล ภาคธุรกิจ ภาค
การศึกษา ตลอดจนระดับประชาชนเพื่อให้มีการต่อยอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอันจะนาไปสู่การ
สร้างเทคโนโลยีของตนเองได้ในอนาคต ซึ่งไทยมีจุดแข็งในฐานะที่เป็นศูนย์กลางด้านการติดต่อสื่อสารของ
ภูมิภาค ASEAN ดังนั้นจึงควรใช้จุดแข็งดังกล่าวให้เป็นประโยชน์ในการสร้างความร่วมมือทางเทคโนโลยีกับ
ประเทศอื่นๆ และบทเรียนที่สาคัญไม่แพ้กันอีกประการหนึ่งคือ คุณภาพของคน จีนสามารถพัฒนาประเทศจน
ก้าวหน้าได้ในระยะเวลาไม่กี่สิบปีได้ก็ด้วยความสามารถของผู้นาที่มีวิสัยทัศน์ สามารถกาหนดนโยบายด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับนโยบายพัฒนาทางเศรษฐกิจและนโยบายความมั่นคงของชาติใน
ระยะยาว ตลอดจนให้ความสาคัญกับการสร้างบุคคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพเพื่อให้สามารถพัฒนา
ประเทศได้ตามเป้าประสงค์ ประเด็นเรื่องการพัฒนาคนทั้งในระดับผู้บริหารและนักปฏิบัติการให้มีคุณภาพจึง
เป็นโจทย์สาคัญซึ่งประเทศไทยที่ยังขาดแคลนทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพจานวนมากจะต้องปรับปรุงและสร้าง
คนรุ่นใหม่ให้เป็นบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในงานและมีคุณค่าต่อการพัฒนาชาติให้ได้ในอนาคต
***********************************************************************
4
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
บันทึกเทปการประชุม: น.ส.สุธิดา เด่นประภา
ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์, นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ปีที่พิมพ์: กุมภาพันธ์ 2558
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธำนี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสำร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้ข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน:
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ,คุณอนุสนธิ์ชินวรรโณ,ศ.ดร.สมบูรณ์ สุขสาราญ,
คุณสมปอง สงวนบรรพ์,รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์,รศ.ดร.อนุชาติ พวงสาลี,
คุณพิรุณ ฉัตรวนิชกุล,ศ.พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา,ผศ.ดร.กอปร กฤตยากีรณ,
ดร.กิตติพงษ์ พร้อมวงศ์,ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์,ดร.หลี่ เหยินเหลียง,
อาจารย์ศิวพล ละอองสกุล,คุณวีระพล วงษ์ประเสริฐ,คุณเทวิน แซ่แต้

More Related Content

What's hot

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Aobinta In
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์tuiye
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยKlangpanya
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8Hiran Vayakk
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Pond Phuwanat
 

What's hot (8)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8
 
ส่ง
ส่งส่ง
ส่ง
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 

Similar to ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน

กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตfreelance
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e newsshm-nstda
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม ElectronKung Kaenchan
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม ElectronTongsai Boonta
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม ElectronTongsai Boonta
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564PornpenInta
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)SAKANAN ANANTASOOK
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 

Similar to ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน (20)

กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e news
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม Electron
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม Electron
 
กลุ่ม Electron
กลุ่ม Electronกลุ่ม Electron
กลุ่ม Electron
 
กล ม Electron
กล  ม Electronกล  ม Electron
กล ม Electron
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
241203_chapter01
241203_chapter01241203_chapter01
241203_chapter01
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
241203 chapter03
241203 chapter03241203 chapter03
241203 chapter03
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
 
241203 chapter02
241203 chapter02241203 chapter02
241203 chapter02
 
Stip 3
Stip 3Stip 3
Stip 3
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน

  • 1. ฉบับที่ 2 / 2557 POLICY BRIEF วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประวัติและพัฒนาการ จีนเทคโนโลยและ วิทยาศาสตร์ นโยบาย รศ. ดร. จานง สรพิพัฒน์ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ประวัติการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน จีนนับเป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาตั้งแต่สมัยโบราณ และถูกยอมรับให้เป็นผู้นาในด้านดังกล่าว เนื่องจากในยุคแรกเริ่มจีนมีระบบการศึกษาที่ก้าวหน้า โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้แบบขงจื้อที่สร้างปัญญาชนขึ้นเป็นจานวนมาก จนสามารถสร้างประโยชน์และคิดค้นผลงาน ทั้งด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมได้มากมาย แต่หลังศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมา ความก้าวหน้าทางวิทยาการ ของจีนเริ่มเสื่อมถอยลงจนกระทั่งโลกตะวันตกได้ปฏิวัติวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution) จนสาเร็จและ สามารถแซงหน้าไปได้ในที่สุด สาเหตุสาคัญที่ทาให้การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนล้าหลังชาติตะวันตกนั้น ประการแรก คือ กระบวนการเรียนรู้และค้นพบด้านวิทยาการในสมัยโบราณของจีนเน้นวิธีการลองผิดลองถูก (Trial & Error) โดยไม่ได้ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา หรือหาองค์ความรู้ ใหม่ ดังนั้น องค์ความรู้ที่มีอยู่จึงแคบลงเรื่อย ๆ จนไม่สามารถพัฒนาให้ก้าวทันชาติตะวันตกได้ สาเหตุประการ ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank เรื่อง “ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชน จีน” จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13.00 - 16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.) 1โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. ที่สองคือ ราชสานักจีนในสมัยนั้นไม่เห็นความสาคัญของงานด้านวิทยาศาสตร์ แต่กลับให้ความสาคัญต่องาน ด้านศิลปะ วรรณกรรมและการบริหารปกครองมากกว่า และสาเหตุประการสุดท้ายคือ ในขณะที่ตะวันตกพัฒนา ไปอย่างรวดเร็ว แต่จีนกลับมีความเป็นชาตินิยมสูง ภาคภูมิใจต่อความเจริญของตนเองมากจนกระทั่งปิดประตู และไม่เปิดรับรู้ความเปลี่ยนแปลงจากภายนอก อย่างไรก็ตาม เมื่อตระหนักได้ถึงปัญหาดังกล่าว ในทศวรรษที่ 1860 เป็นต้นมา จีนจึงเริ่มดาเนินนโยบาย ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาตามแนวทางด้านเทคโนโลยีตะวันตกมากขึ้นโดยเริ่มจากการสร้างปืนใหญ่ และอู่ ต่อเรือกลไฟไอน้า ด้านการพัฒนาคน จีนได้ส่งนักศึกษาจีนไปเรียนยังประเทศที่มีความก้าวหน้าด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งญี่ปุ่น สหรัฐ รัสเซียและยุโรปเพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ที่แปลกใหม่จนนาไปสู่ การจัดตั้งโรงเรียนสมัยใหม่และการสร้างมหาวิทยาลัยแบบตะวันตก เช่น การจัดตั้ง The Academia Sinica นอกจากนี้ การรับเอาอิทธิพลความคิดแบบตะวันตกเข้ามามากขึ้นยังได้นาไปสู่ความท้าทายความเชื่อและ ค่านิยมทางสังคมแบบเดิมไปในเวลาเดียวกัน โครงสร้างและการบริหารด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน ภายหลังการเปิดรับแนวทางการพัฒนาตามแบบตะวันตก และได้รับคาแนะนาจากประเทศรัสเซีย จีนได้ จัดตั้งหน่วยงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย ด้านวิทยาการต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์และเอื้อให้เกิดการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับชาติ อย่างต่อเนื่อง โดยหน่วยงานวิจัยดังกล่าวอาศัยการดาเนินการผ่านองค์กร 4 ประเภท ได้แก่ 1. Chinese Academy of Sciences Chinese Academy of Sciences หรือ CAS เป็นหน่วยงานวิจัยชั้นนาที่จัดตั้งเป็นแห่งแรกและ ปัจจุบันยังเป็นหน่วยงานวิจัยสาคัญที่สุดของฝ่ายพลเรือนจีน ขึ้นตรงกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ มีหน้าที่ หลักในการทาวิจัยด้านวิทยาศาสตร์เฉพาะทางขั้นพื้นฐาน (Basic Research) ตลอดจนทาภารกิจ ร่วมกับหน่วยงานวิจัยฝ่ายทหารของจีนในการสร้างอาวุธนิวเคลียร์และจรวด นอกจากนั้น ในด้าน การเมือง CAS ยังมีบทบาทเป็นคลังสมอง (Think-Tank) และเป็นผู้นาเสนอและร่างแผนพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่รัฐบาลกลางของจีนอีกด้วย 2. สถาบันวิจัยสังกัดมหาวิทยาลัย ในยุคก่อตั้งยังเป็นหน่วยงานวิจัยที่มีบทบาทไม่มากนัก เนื่องจากกิจกรรมของมหาวิทยาลัยมัก อยู่ที่การสอนและฝึกอบรมเพื่อผลิตบุคคลกรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหลัก งานวิจัยจาก มหาวิทยาลัยในปัจจุบันส่วนใหญ่จึงมาจากมหาวิทยาลัยชั้นนาที่ขึ้นกับรัฐบาลกลางเท่านั้น แต่ใน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยทุกระดับเริ่มมีบทบาทในการนาเสนอผลงานวิจัยมากขึ้น 3. สถาบันวิจัยสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมและรัฐบาลระดับท้องถิ่น 2 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. งานวิจัยหลักของหน่วยงานที่สังกัดกับกระทรวงอุตสาหกรรมและรัฐบาลท้องถิ่นจะทางานวิจัย ด้านประยุกต์เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพของงานด้านอุตสาหกรรมเป็นสาคัญ 4. สถาบันวิจัยทางทหารสังกัดฝ่ายกลาโหม นโยบายด้านความมั่นคงและเทคโนโลยีด้านการทหารเป็นเรื่องที่รัฐบาลจีนให้ความสาคัญเป็น อันดับต้น ๆ จึงมีการทุ่มงบประมาณจานวนมากเพื่อสนับสนุนสถาบันวิจัยสังกัดฝ่ายกลาโหมโดยมี เป้าหมายเพื่อสร้างอาวุธเฉพาะอย่าง (Project Base) เช่น การสร้างระเบิดนิวเคลียร์และไฮโดรเจน จรวดข้ามทวีป เรือดาน้านิวเคลียร์ เป็นต้น ในแง่ของการบริหารจัดการองค์กรด้านการวิจัยทั้ง 4 ประเภทดังกล่าว มีกระทรวงวิทยาศาสตร์เป็น ศูนย์กลางประสานงานหลัก วางกรอบนโยบาย ตลอดจนจัดสรรงบประมาณการทาวิจัย โดยมีการกาหนด ข้อเสนอหลัก (Core Proposal) พร้อมทั้งทุนการทาวิจัยเพื่อให้สถาบันต่าง ๆ เสนองานวิจัยที่เหมาะสมมาเพื่อ พิจารณา ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะทาให้งบประมาณถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งยังกระตุ้นให้มีการแข่งขันกัน พัฒนาผลงานระหว่างนักวิจัยด้วย การปฏิรูปและพัฒนานโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน ในทศวรรษก่อน 1980 ซึ่งเป็นยุคแรกที่จีนหันมาเอาจริงเอาจังด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รัฐบาลยังคงให้ความสาคัญกับการสร้างความมั่นคงทั้งด้านอาวุธและเทคโนโลยีการรบ ทาให้การ พัฒนาด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมยังคงล้าหลังอยู่ แต่เมื่อรัฐบาลเปลี่ยนทิศทางนโยบายหลักในการวิจัยและ พัฒนาไปสู่การให้ความสาคัญต่อการสร้างขีดความสามารถในการผลิตอุตสาหกรรมในเชิงพาณิชย์ ประกอบกับ ข้อได้เปรียบด้านทรัพยากรทางธรรมชาติและทรัพยากรมนุษย์จึงทาให้จีนผงาดขึ้นมาเป็นมหาอานาจภายใน เวลาไม่นานนัก นอกจากนี้ การปรับเปลี่ยนนโยบายการให้ทุนอุดหนุนงานวิจัยจากเดิมที่ให้ทุนวิจัยในรูป งบประมาณประจาปีโดยตรง มาเป็นการยื่นข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอทุน (Call Proposal) จากแหล่งให้ทุน วิจัยยังทาให้การผลิตผลงานวิจัยของหน่วยงานต่าง ๆ มีแนวโน้มพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สาหรับการพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระยะยาว จีนได้ใช้นโยบายการลงทุน ร่วมหรือรับการลงทุนจากต่างชาติเพื่อรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนาจนสามารถสร้างเทคโนโลยีของ ตนเองและพึ่งพาตนเองได้ ส่วนนโยบายด้านการแลกเปลี่ยนความรู้ ได้มีการจัดตั้งองค์กรวิชาชีพทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อจัดอบรม เผยแพร่องค์ความรู้ทางวิชาการที่ได้รับมาจากแหล่งต่าง ๆ ซึ่งช่วยให้ นักวิจัยจากหลายสถาบันที่อยู่ในสายอาชีพเดียวกันสามารถพบปะและแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูลหรือทาข้อเสนอ โครงการวิจัยร่วมกันได้ 3 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 4. บทสรุปและข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย นับตั้งแต่เข้าสู่ยุคปฏิรูป จีนได้ปรับเปลี่ยนทิศทางนโยบายด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยหันมาให้ คุณค่ากับการวิจัยพัฒนาอันเป็นปัจจัยสาคัญที่จะนาไปสู่การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้อย่างยั่งยืน โดยรัฐบาลสนับสนุนให้มีการก่อตั้งหน่วยงานวิจัยในระดับต่าง ๆ และส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันวิจัยรวมทั้งภาคอุตสาหกรรมทั้งภายในและระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ประเทศจีนประสบผลสาเร็จทางด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนั้น ที่ สาคัญที่สุดคือ ค่านิยมของรัฐและประชาชนที่มุ่งมั่นจะพึ่งพาตนเองทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอันเป็น แรงกระตุ้นสาคัญที่ทาให้ทุกภาคส่วนไม่นิ่งเฉยที่จะแสวงหาความรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อยกระดับ ความก้าวหน้าด้านวิทยาการจนทาให้จีนก้าวมาเป็นหนึ่งในประเทศผู้นาด้านเทคโนโลยีในปัจจุบัน บทเรียนสาคัญจากการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนนั้น มีหลายแนวทางที่สามารถนามาปรับ ใช้กับการบริหารและดาเนินนโยบายสาหรับประเทศไทยได้ ประการแรกที่สาคัญคือ กระบวนการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ดีไม่ควรใช้วิธีการพึ่งพาตนเองแต่เพียงอย่างเดียว แต่ควรเร่งรัดให้มีการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นในระดับรัฐบาล ภาคธุรกิจ ภาค การศึกษา ตลอดจนระดับประชาชนเพื่อให้มีการต่อยอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอันจะนาไปสู่การ สร้างเทคโนโลยีของตนเองได้ในอนาคต ซึ่งไทยมีจุดแข็งในฐานะที่เป็นศูนย์กลางด้านการติดต่อสื่อสารของ ภูมิภาค ASEAN ดังนั้นจึงควรใช้จุดแข็งดังกล่าวให้เป็นประโยชน์ในการสร้างความร่วมมือทางเทคโนโลยีกับ ประเทศอื่นๆ และบทเรียนที่สาคัญไม่แพ้กันอีกประการหนึ่งคือ คุณภาพของคน จีนสามารถพัฒนาประเทศจน ก้าวหน้าได้ในระยะเวลาไม่กี่สิบปีได้ก็ด้วยความสามารถของผู้นาที่มีวิสัยทัศน์ สามารถกาหนดนโยบายด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับนโยบายพัฒนาทางเศรษฐกิจและนโยบายความมั่นคงของชาติใน ระยะยาว ตลอดจนให้ความสาคัญกับการสร้างบุคคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพเพื่อให้สามารถพัฒนา ประเทศได้ตามเป้าประสงค์ ประเด็นเรื่องการพัฒนาคนทั้งในระดับผู้บริหารและนักปฏิบัติการให้มีคุณภาพจึง เป็นโจทย์สาคัญซึ่งประเทศไทยที่ยังขาดแคลนทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพจานวนมากจะต้องปรับปรุงและสร้าง คนรุ่นใหม่ให้เป็นบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในงานและมีคุณค่าต่อการพัฒนาชาติให้ได้ในอนาคต *********************************************************************** 4 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. 5 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ บันทึกเทปการประชุม: น.ส.สุธิดา เด่นประภา ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์, นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ปีที่พิมพ์: กุมภาพันธ์ 2558 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธำนี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสำร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้ข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน: ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ,คุณอนุสนธิ์ชินวรรโณ,ศ.ดร.สมบูรณ์ สุขสาราญ, คุณสมปอง สงวนบรรพ์,รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์,รศ.ดร.อนุชาติ พวงสาลี, คุณพิรุณ ฉัตรวนิชกุล,ศ.พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา,ผศ.ดร.กอปร กฤตยากีรณ, ดร.กิตติพงษ์ พร้อมวงศ์,ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์,ดร.หลี่ เหยินเหลียง, อาจารย์ศิวพล ละอองสกุล,คุณวีระพล วงษ์ประเสริฐ,คุณเทวิน แซ่แต้