SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้า:
โอกาสและความท้าทายใน
ภูมิภาคอินโดจีน
สถานการณ์
1) ผลจากโครงการพัฒนาตอนบนและตอนกลางของแม่น้า หรือโครงการระเบิดเกาะแก่งที่เคยมีความพยายาม ได้ส่งผลกระทบชัดเจนต่อระบบ
นิเวศ วิถีชีวิต
2) การรับรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาของจีนเรื่องของการทาลายและตักตวงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
3) ผลที่ประจักษ์ว่าเกิดความไม่เข้าใจและไว้วางใจกัน โดยเฉพาะเรื่องการจัดการแม่น้าโขงการกักน้าเพื่อผลิตไฟฟ้าช่วงหน้าฝน และระบายน้า
ในช่วงหน้าแล้งคือ ทาให้ระบบนิเวศเปลี่ยนไปมากมาย
4) หากต้องการจะสร้างความร่วมมือระหว่างไทยกับจีน คือ ต้อง “เปิด” (open-up) เรื่องการบริหารจัดการเขื่อนที่สอดคล้องกับระบบนิเวศและ
วิถีชีวิตของประชาชน ต้องแบ่งปันผลประโยชน์ รวมทั้งกากับดูแลระบบนิเวศร่วมกันอย่างจริงจัง
5) แนวทางการลดความขัดแย้งระหว่างรัฐของจีนกับประชาชานน้าโขงนั้น เป็นโจทย์ที่ต้องการเครือข่ายและระดมความรู้อย่างหลากหลายระบบ
และยึดหลัก No One Left Behind ตลอดจนหลัก Bio-diversity
พหุทัศน์ว่าด้วย “น้า”
 ความแตกต่างของภววิทยาของน้า (water ontology) สู่การบริหารจัดการน้าที่แตกต่างกัน
 แนวคิดเรื่องน้าแบบทันสมัย (modern water) ใช้ฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์หรืออุทกศาสตร์ รวมทั้งการมองน้าเป็นทรัพยากรที่มีไว้ใน
“มนุษย์” ใช้ประโยชน์ของตัวเอง เป็นรากฐานปัญหาที่ซับซ้อนในปัจจุบัน
 แนวคิดเรื่องมุมมองความสัมพันธ์ระหว่างน้ากับสังคม (hydrosocial perspective) “น้า” ยึดโยงกับระบบนิเวศ สังคม วัฒนธรรม รวมทั้ง
สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากมนุษย์ การจัดการน้าจึงไม่ควรคิดแคบเพียงแค่ “น้า” แต่ควรคานึงถึงบริบทที่อยู่รอบน้าอย่างเป็น
ระบบ
ปัญหา: ด้านความรู้
 ความขัดแย้งเรื่องน้าไม่ใช่ความขัดแย้งที่ผิวเผิน แต่เป็นความขัดแย้งทางภววิทยา หรือ เป็นความขัดแย้งในการให้ความหมาย คุณค่า และการ
ดารงอยู่
 การให้ความหมายและวิธีคิดเรื่องน้าที่มีอานาจในการจัดการน้าของรัฐไทยเป็นแบบภาวะสมัยใหม่ คือมองน้าในฐานะที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติ
แยกส่วนระหว่างธรรมชาติกับสังคม ซึ่งยังไม่เปิดพื้นที่ให้ความหมายหรือวิธีการคิดเรื่องน้าในรูปแบบอื่น เช่น วิธีการคิดเรื่องน้าของท้องถิ่น เข้า
มามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการหรือการตัดสินใจทางนโยบายมากนัก
 ไม่เท่าทันปัญหาปัจจุบันและสถานการณ์ระดับโลก โดยเฉพาะปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (climate change) และการสูญเสียและ
การทาลายความหลากหลายทางชีวภาพ
ปัญหา: ด้านนโยบาย
1) นโยบายการจัดการน้าของไทยมีแนวทางการจัดการที่ไม่ต่อเนื่อง เปลี่ยนแปลงตามแนวทางของรัฐบาลแต่ละสมัย
2) การจัดการน้าของไทยที่ผ่านมายังไม่เป็นรูปธรรมเพียงพอที่จะนาไปสู่การปฏิบัติที่ครบถ้วน ไม่มีแผนแม่บทที่เป็นแผนเพื่อการดาเนินงานที่
ชัดเจน ทั้งในระดับประเทศและในระดับลุ่มน้า
3) การจัดการน้าของไทยยังคงมุ่งเน้นการพัฒนาและการจัดหาแหล่งน้าเพิ่มเติม เช่น การสร้างเขื่อนหรือพัฒนาระบบชลประทาน และไม่มีการ
จัดการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรออบด้านและเป็นระบบ
4) ไม่ได้ให้ความสาคัญกับการจัดลาดับความสาคัญการใช้น้าและการจัดสรรน้าบนพื้นฐานความเป็นธรรม หรือการจัดการน้าเพื่อประโยชน์
ส่วนรวม
5) ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน และเน้นการดาเนินงานแบบบนลงล่าง (Top-down approach) และการคิดและกาหนดนโยบายยังอยู่ในวง
แคบ ซึ่งสะท้อนการดาเนินงานแบบรวมศูนย์มากกว่าการกระจายอานาจ
สถานการณ์และปัญหา: ด้านการจัดการทรัพยากรที่ใช้ร่วมกันข้ามประเทศ
1) ปัจจุบันมีข้อตกลงระหว่างประเทศ เป็นข้อตกลงระหว่างรัฐ ระหว่างสถาบันหลัก ทาให้ระดับการคิดเรื่องสมบัติสาธารณะ (local commons)
ไม่ได้คานึงถึงท้องถิ่นเท่าที่ควร ซึ่งแม่น้าไม่ได้เป็นแค่สมบัติสาธารณะของภูมิภาค แต่เป็นสิ่งที่เป็นพื้นฐานสาคัญของการดารงชีวิตสาหรับคนใน
ท้องถิ่นนั้น
2) สถาบันหลักส่วนใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ มักจะมองทรัพยากรนี้ว่าเป็นเรื่องผลประโยชน์ หรือเรื่องของการพัฒนา
ประเทศ
3) วิธิคิดและจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบง่าย เช่น การจัดการน้าเพียงเรื่องน้าท่วม น้าแล้ง แต่มิได้พิจารณาในมิติที่สลับซับซ้อน เช่น สังคม
การเมือง สิ่งแวดล้อม ที่ปรากฏเรื่องตะกอน ความหลากหลายของพันธุ์ปลา การกระจายผลประโยชน์สู่ท้องถิ่นที่ใช้น้าจากแม่น้าโขง ฯลฯ
4) ขาดการพิจารณาถึงเรื่องการไหลเวียนของเงินทุน พลังงาน แรงงาน และผลกระทบข้ามพรมแดน
โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน: ความร่วมมือของประชาคมวิชาการ-นโยบาย
1) เพิ่มหรือสนับสนุนการทางานร่วมกับพื้นที่ ท้องถิ่น และภาคประชาสังคมในระยะยาว เพราะเป็นกลุ่มที่ใกล้ชิดกับพื้นที่และปัญหาของประชาชน
โดยเป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันผ่านกระบวนการทางานหรือการวิจัย และการสร้างเครือข่ายการทางานวิชาการ-นโยบายบนฐานความรู้
2) ทางานกับภาครัฐและภาคส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้า เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและหาทางออก รวมถึงการพัฒนาสมรรถนะ
การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างภาคส่วน
3) ทางานร่วมกับกลุ่มเยาวชน นักวิชาการรุ่นใหม่ เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายและสร้างศักยภาพแก่คนรุ่นใหม่ต่อไป และส่งเสริมหรือเปิดพื้นที่ให้
เยาวชน หรือนักวิชาการรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมในการทางานมากขึ้น
4) สร้างโอกาสในการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติการ ผ่านกลไกต่าง ๆ ทั้งระดับพื้นที่ ภูมิภาค และกลไกระดับนานาชาชาติที่ประเทศ
ไทยมีส่วนร่วม
โอกาสและความท้าทาย: การสร้างความรู้ร่วมกัน
1) ขยับขยายวิธีคิดและทฤษฎีในการทางานเรื่องการจัดการน้า โดยการนาแนวคิดต่าง ๆ เช่น เพศสภาพและความเท่าเทียม สิทธิมนุษยชน และ
การทางานเชิงสหวิทยาการต่าง ๆ เพื่อเป็นกรอบแนวคิดใหม่เพื่อเข้ามาแก้ไขหรือศึกษาวิจัยด้านน้าและสิ่งแวดล้อมอื่น ซึ่งมิติเหล่านี้
จาเป็นต้องนามาพิจารณาหากต้องการยกระดับหรือพัฒนาการจัดการน้าของภูมิภาค
2) การสร้างเครือข่ายนักวิจัย นักวิชาการ นักกิจกรรม ภาคประชาสังคม ข้าราชการหรือหน่วยงานรัฐที่ทางานด้านน้า และชาวบ้านในพื้นที่ ในการ
ทางานร่วมกัน เพื่อให้เกิดการผลิตความรู้ร่วมกัน (co-production of knowledge) ซึ่งจะนาไปสู่การวางนโยบายหรือกลไกเพื่อการจัดการและ
แก้ไขปัญหาร่วมกัน
ปฏิบัติการภาคประชาสังคมไทยเพื่อปรับตัวระดับครัวเรือนถึงระดับข้ามชาติ
1) การเปิดพื้นที่ทางความรู้เพื่อให้เกิดบูรณาการความรู้พื้นบ้านและของประชาสังคมเข้ากับความรู้ทางการและ
ภาครัฐที่มีอานาจเหนือกว่า
2) การปรับตัวเชิงสถาบันตั้งแต่ระดับท้องถิ่นถึงระดับภูมิภาคในรูปประชาสังคมข้ามชาติ
3) การใช้กลไกด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็นเครื่องมือระหว่างประเทศและ multilateralism เช่น UN Business and
Human Rights guideline
4) การแก้ไขปัญหาผลกระทบที่ได้พัฒนาความรู้และความร่วมมือข้ามศาสตร์และภาคส่วน
ข้อคานึงบางประการในการพัฒนาในการรับมือต่อปัญหา
1) กรอบการวิเคราะห์พ้นจากความคิดแบบคู่ตรงกันข้ามไปสู่หลัก Global governance
2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงอานาจของตัวแสดงต่างๆมากขึ้น ซึ่งทั้งในภาคประชาสังคมเองและในระดับอนุภูมิภาค
ในภาคประชาสังคมเอง
3) การขยายการผลิตสร้างพื้นที่ภาคประชาสังคม ซึ่งการรวมเอา (inclusion) มีความจาเป็นมากขึ้น ในขณะที่การแบ่งแยก
(exclusion) ยังต้องเข้มงวดภายใต้การมีเอกภาพ
4) การใช้หลายแนวคิดและปฏิบัติการหลายด้านหลายระดับ ซึ่งต้องเป็นไปอย่างมีปฏิสัมพันธ์มีพลวัตและมีความยืดหยุ่น

More Related Content

More from Klangpanya

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชKlangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลKlangpanya
 
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...Klangpanya
 

More from Klangpanya (20)

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
 
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
 

ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน

  • 2. สถานการณ์ 1) ผลจากโครงการพัฒนาตอนบนและตอนกลางของแม่น้า หรือโครงการระเบิดเกาะแก่งที่เคยมีความพยายาม ได้ส่งผลกระทบชัดเจนต่อระบบ นิเวศ วิถีชีวิต 2) การรับรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาของจีนเรื่องของการทาลายและตักตวงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ 3) ผลที่ประจักษ์ว่าเกิดความไม่เข้าใจและไว้วางใจกัน โดยเฉพาะเรื่องการจัดการแม่น้าโขงการกักน้าเพื่อผลิตไฟฟ้าช่วงหน้าฝน และระบายน้า ในช่วงหน้าแล้งคือ ทาให้ระบบนิเวศเปลี่ยนไปมากมาย 4) หากต้องการจะสร้างความร่วมมือระหว่างไทยกับจีน คือ ต้อง “เปิด” (open-up) เรื่องการบริหารจัดการเขื่อนที่สอดคล้องกับระบบนิเวศและ วิถีชีวิตของประชาชน ต้องแบ่งปันผลประโยชน์ รวมทั้งกากับดูแลระบบนิเวศร่วมกันอย่างจริงจัง 5) แนวทางการลดความขัดแย้งระหว่างรัฐของจีนกับประชาชานน้าโขงนั้น เป็นโจทย์ที่ต้องการเครือข่ายและระดมความรู้อย่างหลากหลายระบบ และยึดหลัก No One Left Behind ตลอดจนหลัก Bio-diversity
  • 3. พหุทัศน์ว่าด้วย “น้า”  ความแตกต่างของภววิทยาของน้า (water ontology) สู่การบริหารจัดการน้าที่แตกต่างกัน  แนวคิดเรื่องน้าแบบทันสมัย (modern water) ใช้ฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์หรืออุทกศาสตร์ รวมทั้งการมองน้าเป็นทรัพยากรที่มีไว้ใน “มนุษย์” ใช้ประโยชน์ของตัวเอง เป็นรากฐานปัญหาที่ซับซ้อนในปัจจุบัน  แนวคิดเรื่องมุมมองความสัมพันธ์ระหว่างน้ากับสังคม (hydrosocial perspective) “น้า” ยึดโยงกับระบบนิเวศ สังคม วัฒนธรรม รวมทั้ง สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากมนุษย์ การจัดการน้าจึงไม่ควรคิดแคบเพียงแค่ “น้า” แต่ควรคานึงถึงบริบทที่อยู่รอบน้าอย่างเป็น ระบบ
  • 4. ปัญหา: ด้านความรู้  ความขัดแย้งเรื่องน้าไม่ใช่ความขัดแย้งที่ผิวเผิน แต่เป็นความขัดแย้งทางภววิทยา หรือ เป็นความขัดแย้งในการให้ความหมาย คุณค่า และการ ดารงอยู่  การให้ความหมายและวิธีคิดเรื่องน้าที่มีอานาจในการจัดการน้าของรัฐไทยเป็นแบบภาวะสมัยใหม่ คือมองน้าในฐานะที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติ แยกส่วนระหว่างธรรมชาติกับสังคม ซึ่งยังไม่เปิดพื้นที่ให้ความหมายหรือวิธีการคิดเรื่องน้าในรูปแบบอื่น เช่น วิธีการคิดเรื่องน้าของท้องถิ่น เข้า มามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการหรือการตัดสินใจทางนโยบายมากนัก  ไม่เท่าทันปัญหาปัจจุบันและสถานการณ์ระดับโลก โดยเฉพาะปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (climate change) และการสูญเสียและ การทาลายความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 5. ปัญหา: ด้านนโยบาย 1) นโยบายการจัดการน้าของไทยมีแนวทางการจัดการที่ไม่ต่อเนื่อง เปลี่ยนแปลงตามแนวทางของรัฐบาลแต่ละสมัย 2) การจัดการน้าของไทยที่ผ่านมายังไม่เป็นรูปธรรมเพียงพอที่จะนาไปสู่การปฏิบัติที่ครบถ้วน ไม่มีแผนแม่บทที่เป็นแผนเพื่อการดาเนินงานที่ ชัดเจน ทั้งในระดับประเทศและในระดับลุ่มน้า 3) การจัดการน้าของไทยยังคงมุ่งเน้นการพัฒนาและการจัดหาแหล่งน้าเพิ่มเติม เช่น การสร้างเขื่อนหรือพัฒนาระบบชลประทาน และไม่มีการ จัดการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรออบด้านและเป็นระบบ 4) ไม่ได้ให้ความสาคัญกับการจัดลาดับความสาคัญการใช้น้าและการจัดสรรน้าบนพื้นฐานความเป็นธรรม หรือการจัดการน้าเพื่อประโยชน์ ส่วนรวม 5) ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน และเน้นการดาเนินงานแบบบนลงล่าง (Top-down approach) และการคิดและกาหนดนโยบายยังอยู่ในวง แคบ ซึ่งสะท้อนการดาเนินงานแบบรวมศูนย์มากกว่าการกระจายอานาจ
  • 6. สถานการณ์และปัญหา: ด้านการจัดการทรัพยากรที่ใช้ร่วมกันข้ามประเทศ 1) ปัจจุบันมีข้อตกลงระหว่างประเทศ เป็นข้อตกลงระหว่างรัฐ ระหว่างสถาบันหลัก ทาให้ระดับการคิดเรื่องสมบัติสาธารณะ (local commons) ไม่ได้คานึงถึงท้องถิ่นเท่าที่ควร ซึ่งแม่น้าไม่ได้เป็นแค่สมบัติสาธารณะของภูมิภาค แต่เป็นสิ่งที่เป็นพื้นฐานสาคัญของการดารงชีวิตสาหรับคนใน ท้องถิ่นนั้น 2) สถาบันหลักส่วนใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ มักจะมองทรัพยากรนี้ว่าเป็นเรื่องผลประโยชน์ หรือเรื่องของการพัฒนา ประเทศ 3) วิธิคิดและจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบง่าย เช่น การจัดการน้าเพียงเรื่องน้าท่วม น้าแล้ง แต่มิได้พิจารณาในมิติที่สลับซับซ้อน เช่น สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม ที่ปรากฏเรื่องตะกอน ความหลากหลายของพันธุ์ปลา การกระจายผลประโยชน์สู่ท้องถิ่นที่ใช้น้าจากแม่น้าโขง ฯลฯ 4) ขาดการพิจารณาถึงเรื่องการไหลเวียนของเงินทุน พลังงาน แรงงาน และผลกระทบข้ามพรมแดน
  • 7. โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน: ความร่วมมือของประชาคมวิชาการ-นโยบาย 1) เพิ่มหรือสนับสนุนการทางานร่วมกับพื้นที่ ท้องถิ่น และภาคประชาสังคมในระยะยาว เพราะเป็นกลุ่มที่ใกล้ชิดกับพื้นที่และปัญหาของประชาชน โดยเป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันผ่านกระบวนการทางานหรือการวิจัย และการสร้างเครือข่ายการทางานวิชาการ-นโยบายบนฐานความรู้ 2) ทางานกับภาครัฐและภาคส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้า เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและหาทางออก รวมถึงการพัฒนาสมรรถนะ การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างภาคส่วน 3) ทางานร่วมกับกลุ่มเยาวชน นักวิชาการรุ่นใหม่ เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายและสร้างศักยภาพแก่คนรุ่นใหม่ต่อไป และส่งเสริมหรือเปิดพื้นที่ให้ เยาวชน หรือนักวิชาการรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมในการทางานมากขึ้น 4) สร้างโอกาสในการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติการ ผ่านกลไกต่าง ๆ ทั้งระดับพื้นที่ ภูมิภาค และกลไกระดับนานาชาชาติที่ประเทศ ไทยมีส่วนร่วม
  • 8. โอกาสและความท้าทาย: การสร้างความรู้ร่วมกัน 1) ขยับขยายวิธีคิดและทฤษฎีในการทางานเรื่องการจัดการน้า โดยการนาแนวคิดต่าง ๆ เช่น เพศสภาพและความเท่าเทียม สิทธิมนุษยชน และ การทางานเชิงสหวิทยาการต่าง ๆ เพื่อเป็นกรอบแนวคิดใหม่เพื่อเข้ามาแก้ไขหรือศึกษาวิจัยด้านน้าและสิ่งแวดล้อมอื่น ซึ่งมิติเหล่านี้ จาเป็นต้องนามาพิจารณาหากต้องการยกระดับหรือพัฒนาการจัดการน้าของภูมิภาค 2) การสร้างเครือข่ายนักวิจัย นักวิชาการ นักกิจกรรม ภาคประชาสังคม ข้าราชการหรือหน่วยงานรัฐที่ทางานด้านน้า และชาวบ้านในพื้นที่ ในการ ทางานร่วมกัน เพื่อให้เกิดการผลิตความรู้ร่วมกัน (co-production of knowledge) ซึ่งจะนาไปสู่การวางนโยบายหรือกลไกเพื่อการจัดการและ แก้ไขปัญหาร่วมกัน
  • 9. ปฏิบัติการภาคประชาสังคมไทยเพื่อปรับตัวระดับครัวเรือนถึงระดับข้ามชาติ 1) การเปิดพื้นที่ทางความรู้เพื่อให้เกิดบูรณาการความรู้พื้นบ้านและของประชาสังคมเข้ากับความรู้ทางการและ ภาครัฐที่มีอานาจเหนือกว่า 2) การปรับตัวเชิงสถาบันตั้งแต่ระดับท้องถิ่นถึงระดับภูมิภาคในรูปประชาสังคมข้ามชาติ 3) การใช้กลไกด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็นเครื่องมือระหว่างประเทศและ multilateralism เช่น UN Business and Human Rights guideline 4) การแก้ไขปัญหาผลกระทบที่ได้พัฒนาความรู้และความร่วมมือข้ามศาสตร์และภาคส่วน
  • 10. ข้อคานึงบางประการในการพัฒนาในการรับมือต่อปัญหา 1) กรอบการวิเคราะห์พ้นจากความคิดแบบคู่ตรงกันข้ามไปสู่หลัก Global governance 2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงอานาจของตัวแสดงต่างๆมากขึ้น ซึ่งทั้งในภาคประชาสังคมเองและในระดับอนุภูมิภาค ในภาคประชาสังคมเอง 3) การขยายการผลิตสร้างพื้นที่ภาคประชาสังคม ซึ่งการรวมเอา (inclusion) มีความจาเป็นมากขึ้น ในขณะที่การแบ่งแยก (exclusion) ยังต้องเข้มงวดภายใต้การมีเอกภาพ 4) การใช้หลายแนวคิดและปฏิบัติการหลายด้านหลายระดับ ซึ่งต้องเป็นไปอย่างมีปฏิสัมพันธ์มีพลวัตและมีความยืดหยุ่น