SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
การเขียนโปรแกรมภาษา
ภาษาคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ในการป้อนคาสั่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานในระยะเริ่มแรกนั้น ผู้เขียนโปรแกรมยังใช้วิธีการป้อนคาสั่งด้วยภาษาเครื่องที่เป็นรหัส
เลขฐานสอง ต่อมาได้มีการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นเพื่อใช้ในการโปรแกรมโดยใช้ภาษาอังกฤษ
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบันภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับเขียนโปรแกรมมีมากมายหลายภาษา ซึ่งแต่ละภาษาจะมีกฎเกณฑ์ และ วิธีการเขียนโปรแกรมแตกต่างกัน โดย จาแนกเป็น 2 ระดับ
ดังนี้
1.ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทั่วไปไม่เข้าใจ
2.ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์
การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
คือ เสมือนจริงโดยที่การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพนี้มีหลักการเขียนแบบเชิงวัตถุ
โปรแกรมวิชวลเบสิก เป็นโปรแกรมที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ โดยใช้ภาษาเบสิกในการเขียนโปรแกรมเพื่อทางาน
ภาษาระดับต่า
เป็นภาษาที่ใช้ในยุคแรกๆ จะมีความยุ่งยากในการเขียนมาก แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1.ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมตั้งแต่ก่อน ค.ศ.1952 ภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นระดับต่าที่สุด เพราะ ใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล
2.ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ภาษาแอสเซมบลีจะใช้รหัสเป็นคาสั่งแทนคาสั่งภาษาเครื่อง ทาให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเขียนได้ง่ายขึ้น
ภาษาระดับสูง
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการพัฒนาให้ใกล้เคียงกับภาษาของมนุษย์ เพื่อให้สามารถใช้ได้ง่าย และ สะดวกยิ่งขึ้น
1.ตัวแปลภาษา โปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อินเทอร์พรีเตอร์ และ คอมไพเลอร์
1.1 อินเทอร์พรีเตอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลจะแปลทีละคาสั่ง หรือ ทีละบรรทัด และ ทางานตามคาสั่งทันที
1.2 คอมไพเลอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ซึ่งคอมไพเลอร์จะทาการแปลทั้งโปรแกรม และ จะเก็บโปรแกรมที่แปลได้ในรูปของภาษาเครื่องไว้ใน
ลักษณะของโปรแกรมเชิงวัตถุ
2.ภาษาระดับสูงกับการใช้งาน ภาษาระดับสูงมีอยู่หลายภาษา สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานดังนี้
2.1 ภาษาฟอร์แทรน เป็นภาษาที่เหมาะในงานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ ซึ่งมักเป็นงานที่ใช้การประมวลผลที่ซับซ้อน ลักษณะของภาษานั้นจะคล้ายกับสูตร
หรือ สมการทางคณิตศาสตร์
2.2 ภาษาโคบอล เป็นภาษาที่มีคาสั่งคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในงานทางธุรกิจ และ เป็นภาษาที่ประสบความสาเร็จในการใช้งานธุรกิจ
2.3 ภาษาปาสกาล มาจากชื่อนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสชื่อ Blaise Pascal โดยได้รับการพัฒนาจากศาสตราจารย์ชาวสวิส ชื่อ Niklaus Wirth โดยภาษาปาสกาล
มลักษณะเด่น คือ เป็นภาษาโครงสร้าง ซึ่งเป็นลักษณะของการเขียนโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ โดยปาลกาลสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้หลายรุ่น
2.4 ภาษาซี เป็นภาษาที่เขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง มีรูปแบบคาสั่งค่อนข้างอิสระมีคาสั่ง และ ฟังก์ชันมาก สามารถใช้กับงานได้หลายประเภท
2.5 ภาษาเบสิก จุดเด่นของภาษาเบสิก คือ ระบบปฏิบัติการ ของภาษานี้ใช้เนื้อที่น้อย คาสั่งต่างๆมีน้อย ซึ่งเป็นภาษาเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดตามชื่อ แต่สามารถใช้งานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2.6 ภาษาอัลกอล เป็นภาษาโครงสร้างใช้กับงานด้านวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ ลักษณะภาษาคล้ายกับภาษา FORTRAN ซึ่งลักษณะโปรแกรมนั้นจะแยกออกเป็นส่วนๆ
2.7 ภาษาพีแอลวัน เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้กับงานธุรกิจ และ วิทยาศาสตร์ โดยรวมเอาข้อดีของภาษา
ฟอร์แทรน และ โคบอลเข้าด้วยกัน
ประเภทของประโยคในภาษาคอมพิวเตอร์
มี 5 ประเภท ดังนี้
1.ประโยคที่ใช้ในการระบุตัวแปร
2.ประโยคที่ใช้ในการอ่าน หรือ แสดงผลลัพธ์
3.ประโยคควบคุม
4.ประโยคที่ใช้ในการคานวณ
5.ประโยคที่ใช้บอกจบการทางาน
คุณสมบัติของการเขียนโปรแกรม
1.มีความถูกต้อง และ เชื่อถือได้
2.มีความเป็นมิตรต่อผู้ใช้
3.ค่าใช้จ่ายต่า
4.ต้องอ่านง่าย และ สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
5.มีความปลอดภัย
6.ใช้เวลาในการพัฒนาไม่นาน
ประเภทของการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง
เป็นการเขียนโปรแกรมแบบดั้งเดิมที่ถือเป็นแบบอย่างของการเขียนโปรแกรมในปัจจุบัน มีโครงสร้างในการเขียน 3 แบบ ดังนี้ 1.โครงสร้างแบบลาดับ เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะ
การทางานตามลาดับก่อนหลัง โดยไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง
2.โครงสร้างแบบมีทางเลือก เป็นโครงสร้างที่ต้องมีการทดสอบ โดยมีทิศทางให้เลือกมากกว่า 1 ทิศทาง
3.โครงสร้างแบบทาซ้า เป้นโครงสร้างที่มีการตรวจสอบการทางานของวงจรวนซ้าซึ่งจะแยกย่อยออกไป
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
แนวคิดของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เป็นวิธีการเขียนโปรแกรมที่เรียกโปรแกรมย่อยซึ่งทาหน้าที่เฉพาะ เรียกว่า วัตถุ
คานิยามของวัตถุในโปรแกรมเชิงวัตถุ แนวคิดโปรแกรมเชิงวัตถุเป็นแนวคิดใหม่โดยมีนิยามคาใหม่ที่ควรรู้จัก ดังนี้
1.Object โปรแกรมเชิงวัตถุจะมองทุกอย่างให้เป็นวัตถุ
2.Class เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวของวัตถุในการสร้างวัตถุขึ้นนั้นจะต้องมี Class ก่อนเสมอ
จุดเด่นของภาษาเชิงวัตถุ โปรแกรมภาษาเชิงวัตถุ ได้พัฒนาโดยลดข้อจาดักของการเขียนโปรแกรมแบบดั้งเดิม และ มีจดเด่น ดังนี้
1.ถูกออกแบบมาให้ง่ายต่อการเรียนรู้
2.สามารถสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้งานได้ทุกระบบปฏิบัติการ
3.สามารถสร้างงานประยุกต์ที่ทางานในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
4.สามารถนาโปรแกรมย่อยมาพัฒนาต่อยอดได้ทันที
การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
คือ เสมือนจริงโดยที่การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพนี้มีหลักการเขียนแบบเชิงวัตถุ
โปรแกรมวิชวลเบสิก เป็นโปรแกรมที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ โดยใช้ภาษาเบสิกในการเขียนโปรแกรมเพื่อทางาน
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
มีขั้นตอนตามลาดับ ดังนี้
1.วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการ
2.วิเคราะห์รูปแบบของผลลัพธ์
3.วิเคราะห์ข้อมูลนาเข้า
4.วิเคราะห์ตัวแปรที่ใช้
5.วิเคราะห์วิธีการประมวลผล
6.ออกแบบผังงาน
7.การเขียนโปรแกรม
8.การทดสอบ และ แก้ไขโปรแกรม
9.ทาเอกสาร และ บารุงรักษาโปรแกรม
ซึ่งเมื่อได้เขียนโปรแกรมประยุกต์แล้ว ผู้พัฒนาจะต้องนาโปรแกรมไปใช้งาน เพื่อทดสอบการใช้งานในสภาวการณ์จริง เพื่อประเมินคุณภาพของโปรแกรม ปรับปรุงพัฒนา

More Related Content

What's hot

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Diiz Yokiiz
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์Pakkapong Kerdmanee
 
สอบกลางภาคเรียน
สอบกลางภาคเรียนสอบกลางภาคเรียน
สอบกลางภาคเรียนgasnaja
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ลูกแก้ว กนกวรรณ
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Last'z Regrets
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
นาย สิริกร ภูษาทอง
นาย สิริกร ภูษาทองนาย สิริกร ภูษาทอง
นาย สิริกร ภูษาทองDai Punyawat
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อThanisorn Deenarn
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์WEDPISIT KHAMCHAROEN
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

What's hot (20)

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
สอบกลางภาคเรียน
สอบกลางภาคเรียนสอบกลางภาคเรียน
สอบกลางภาคเรียน
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
นาย สิริกร ภูษาทอง
นาย สิริกร ภูษาทองนาย สิริกร ภูษาทอง
นาย สิริกร ภูษาทอง
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
 
ทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาคทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาค
 

Similar to งานคอม

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJantanee Hwangpanya
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาSMXY1404
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมthorthib
 
08 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-808 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-8naraporn buanuch
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
นาวสาว หัทยา
นาวสาว   หัทยานาวสาว   หัทยา
นาวสาว หัทยาJiJee Pj
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 

Similar to งานคอม (20)

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
08 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-808 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-8
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
นาวสาว หัทยา
นาวสาว   หัทยานาวสาว   หัทยา
นาวสาว หัทยา
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 

งานคอม

  • 2. ภาษาคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ในการป้อนคาสั่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานในระยะเริ่มแรกนั้น ผู้เขียนโปรแกรมยังใช้วิธีการป้อนคาสั่งด้วยภาษาเครื่องที่เป็นรหัส เลขฐานสอง ต่อมาได้มีการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นเพื่อใช้ในการโปรแกรมโดยใช้ภาษาอังกฤษ ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับเขียนโปรแกรมมีมากมายหลายภาษา ซึ่งแต่ละภาษาจะมีกฎเกณฑ์ และ วิธีการเขียนโปรแกรมแตกต่างกัน โดย จาแนกเป็น 2 ระดับ ดังนี้ 1.ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทั่วไปไม่เข้าใจ 2.ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ คือ เสมือนจริงโดยที่การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพนี้มีหลักการเขียนแบบเชิงวัตถุ โปรแกรมวิชวลเบสิก เป็นโปรแกรมที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ โดยใช้ภาษาเบสิกในการเขียนโปรแกรมเพื่อทางาน
  • 3. ภาษาระดับต่า เป็นภาษาที่ใช้ในยุคแรกๆ จะมีความยุ่งยากในการเขียนมาก แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมตั้งแต่ก่อน ค.ศ.1952 ภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นระดับต่าที่สุด เพราะ ใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล 2.ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ภาษาแอสเซมบลีจะใช้รหัสเป็นคาสั่งแทนคาสั่งภาษาเครื่อง ทาให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเขียนได้ง่ายขึ้น ภาษาระดับสูง เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการพัฒนาให้ใกล้เคียงกับภาษาของมนุษย์ เพื่อให้สามารถใช้ได้ง่าย และ สะดวกยิ่งขึ้น 1.ตัวแปลภาษา โปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อินเทอร์พรีเตอร์ และ คอมไพเลอร์ 1.1 อินเทอร์พรีเตอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลจะแปลทีละคาสั่ง หรือ ทีละบรรทัด และ ทางานตามคาสั่งทันที 1.2 คอมไพเลอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ซึ่งคอมไพเลอร์จะทาการแปลทั้งโปรแกรม และ จะเก็บโปรแกรมที่แปลได้ในรูปของภาษาเครื่องไว้ใน ลักษณะของโปรแกรมเชิงวัตถุ 2.ภาษาระดับสูงกับการใช้งาน ภาษาระดับสูงมีอยู่หลายภาษา สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานดังนี้ 2.1 ภาษาฟอร์แทรน เป็นภาษาที่เหมาะในงานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ ซึ่งมักเป็นงานที่ใช้การประมวลผลที่ซับซ้อน ลักษณะของภาษานั้นจะคล้ายกับสูตร หรือ สมการทางคณิตศาสตร์ 2.2 ภาษาโคบอล เป็นภาษาที่มีคาสั่งคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในงานทางธุรกิจ และ เป็นภาษาที่ประสบความสาเร็จในการใช้งานธุรกิจ 2.3 ภาษาปาสกาล มาจากชื่อนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสชื่อ Blaise Pascal โดยได้รับการพัฒนาจากศาสตราจารย์ชาวสวิส ชื่อ Niklaus Wirth โดยภาษาปาสกาล มลักษณะเด่น คือ เป็นภาษาโครงสร้าง ซึ่งเป็นลักษณะของการเขียนโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ โดยปาลกาลสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้หลายรุ่น
  • 4. 2.4 ภาษาซี เป็นภาษาที่เขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง มีรูปแบบคาสั่งค่อนข้างอิสระมีคาสั่ง และ ฟังก์ชันมาก สามารถใช้กับงานได้หลายประเภท 2.5 ภาษาเบสิก จุดเด่นของภาษาเบสิก คือ ระบบปฏิบัติการ ของภาษานี้ใช้เนื้อที่น้อย คาสั่งต่างๆมีน้อย ซึ่งเป็นภาษาเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดตามชื่อ แต่สามารถใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.6 ภาษาอัลกอล เป็นภาษาโครงสร้างใช้กับงานด้านวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ ลักษณะภาษาคล้ายกับภาษา FORTRAN ซึ่งลักษณะโปรแกรมนั้นจะแยกออกเป็นส่วนๆ 2.7 ภาษาพีแอลวัน เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้กับงานธุรกิจ และ วิทยาศาสตร์ โดยรวมเอาข้อดีของภาษา ฟอร์แทรน และ โคบอลเข้าด้วยกัน ประเภทของประโยคในภาษาคอมพิวเตอร์ มี 5 ประเภท ดังนี้ 1.ประโยคที่ใช้ในการระบุตัวแปร 2.ประโยคที่ใช้ในการอ่าน หรือ แสดงผลลัพธ์ 3.ประโยคควบคุม 4.ประโยคที่ใช้ในการคานวณ 5.ประโยคที่ใช้บอกจบการทางาน คุณสมบัติของการเขียนโปรแกรม 1.มีความถูกต้อง และ เชื่อถือได้ 2.มีความเป็นมิตรต่อผู้ใช้ 3.ค่าใช้จ่ายต่า 4.ต้องอ่านง่าย และ สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ 5.มีความปลอดภัย 6.ใช้เวลาในการพัฒนาไม่นาน
  • 5. ประเภทของการเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง เป็นการเขียนโปรแกรมแบบดั้งเดิมที่ถือเป็นแบบอย่างของการเขียนโปรแกรมในปัจจุบัน มีโครงสร้างในการเขียน 3 แบบ ดังนี้ 1.โครงสร้างแบบลาดับ เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะ การทางานตามลาดับก่อนหลัง โดยไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง 2.โครงสร้างแบบมีทางเลือก เป็นโครงสร้างที่ต้องมีการทดสอบ โดยมีทิศทางให้เลือกมากกว่า 1 ทิศทาง 3.โครงสร้างแบบทาซ้า เป้นโครงสร้างที่มีการตรวจสอบการทางานของวงจรวนซ้าซึ่งจะแยกย่อยออกไป การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ แนวคิดของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เป็นวิธีการเขียนโปรแกรมที่เรียกโปรแกรมย่อยซึ่งทาหน้าที่เฉพาะ เรียกว่า วัตถุ คานิยามของวัตถุในโปรแกรมเชิงวัตถุ แนวคิดโปรแกรมเชิงวัตถุเป็นแนวคิดใหม่โดยมีนิยามคาใหม่ที่ควรรู้จัก ดังนี้ 1.Object โปรแกรมเชิงวัตถุจะมองทุกอย่างให้เป็นวัตถุ 2.Class เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวของวัตถุในการสร้างวัตถุขึ้นนั้นจะต้องมี Class ก่อนเสมอ จุดเด่นของภาษาเชิงวัตถุ โปรแกรมภาษาเชิงวัตถุ ได้พัฒนาโดยลดข้อจาดักของการเขียนโปรแกรมแบบดั้งเดิม และ มีจดเด่น ดังนี้ 1.ถูกออกแบบมาให้ง่ายต่อการเรียนรู้ 2.สามารถสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้งานได้ทุกระบบปฏิบัติการ 3.สามารถสร้างงานประยุกต์ที่ทางานในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ 4.สามารถนาโปรแกรมย่อยมาพัฒนาต่อยอดได้ทันที
  • 6. การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ คือ เสมือนจริงโดยที่การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพนี้มีหลักการเขียนแบบเชิงวัตถุ โปรแกรมวิชวลเบสิก เป็นโปรแกรมที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ โดยใช้ภาษาเบสิกในการเขียนโปรแกรมเพื่อทางาน ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม มีขั้นตอนตามลาดับ ดังนี้ 1.วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการ 2.วิเคราะห์รูปแบบของผลลัพธ์ 3.วิเคราะห์ข้อมูลนาเข้า 4.วิเคราะห์ตัวแปรที่ใช้ 5.วิเคราะห์วิธีการประมวลผล 6.ออกแบบผังงาน 7.การเขียนโปรแกรม 8.การทดสอบ และ แก้ไขโปรแกรม 9.ทาเอกสาร และ บารุงรักษาโปรแกรม ซึ่งเมื่อได้เขียนโปรแกรมประยุกต์แล้ว ผู้พัฒนาจะต้องนาโปรแกรมไปใช้งาน เพื่อทดสอบการใช้งานในสภาวการณ์จริง เพื่อประเมินคุณภาพของโปรแกรม ปรับปรุงพัฒนา