SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
• ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้
สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ แล้วทาให้คอมพิวเตอร์สามารถ
ทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษา
โปรแกรม แต่ความเป็นจริง ภาษาโปรแกรมคือส่วน
หนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น
• ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ
• ภาษาระดับสูง (high level)
• ภาษาระดับต่า (low level)
• ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและ
สะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียน
ถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูก
แปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์
สามารถนาไปใช้งานได้
•แบ่งเป็นขั้นตอน ได้แก่
1. การหาปัญหา โอกาส และเป้ าหมาย (Problem
Recognition)
ซึ่งจะเป็นขั้นตอนแรกที่จะเป็นหลักในการทางานข้อต่อๆไป จะต้องรู้ปัญหา
และต้องรู้เป้ าหมาย
2. การศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study)
การศึกษาความเหมาะสมนี้ต้องศึกษาใน 3 ประเด็นต่อไปนี้
1.1 เทคนิค เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ มีอะไรบ้าง เป็นระบบที่ใช้
ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์หรือไม่
1.2 บุคลากรในหน่วยงานมีความพร้อมและเหมาะสมที่จะร่วมพัฒนาและ
พัฒนาและรับผิดชอบหรือไม่
1.3 ค่าใช้จ่ายและเวลาที่เสียไป (Cost/Time) คุ้มกับการผลประโยชน์ที่ได้รับ
ผลประโยชน์ที่ได้รับหรือไม่
3. การวิเคราะห์ระบบ
ในการวิเคราะห์ระบบจะต้องทาการเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จาก
ต่าง ๆ จากขั้นที่ 2 มาเขียนเป็นแผนภาพที่แสดงทิศทางการไหลของข้อมูล
ของข้อมูล (Data Flow Diagram) และ ผังงานระบบ (System
Flowchart) เพื่อแสดงวิธีการ ขั้นตอนการทางานและสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวข้องกับระบบ
4. การออกแบบระบบ
การออกแบบระบบ ต้องทาการออกแบบ2ทางคือ
ตรรกศาสตร์ (Logical Design) ซึ่งเป็นส่วนที่ทาการติดต่อกับ
ผู้ใช้งาน เช่น การใช้แป้ นพิมพ์หรือการใช้เมาส์ในการเลือกส่วนการทางาน
ทางาน
การออกแบบระบบ (System Design) จะเป็นการออกแบบในส่วน
ของการป้ อนข้อมูล การประมวลผล และการจัดเก็บแฟ้ มข้อมูล
5. การสร้างระบบและการจัดทาเอกสาร
เป็นขั้นที่นาสิ่งต่าง ๆ ที่วิเคราะห์และออกแบบมาแล้วจาก
มาแล้วจากขั้นที่ 3 และ ขั้นที่ 4 มาจัดสร้างซอฟต์แวร์ เป็นการ
เป็นการทางานร่วมกันระหว่างโปรแกรมเมอร์และนักวิเคราะห์
นักวิเคราะห์ระบบ
6. การทดสอบและบารุงรักษาระบบ
ก่อนจะนาระบบไปใช้งานจริงต้องมีการทดสอบการทางาน
การทางานของระบบโดยโปรแกรมเมอร์ก่อน เมื่อพบว่ามี
มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นจากการทางานของระบบจะต้อง มีการ
การปรับแก้ซึ่งเรียกว่าการบารุงรักษา
7. การติดตามและการประเมิลผล
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการพัฒนาระบบงาน เพื่อจะ
เพื่อจะทราบความพึงพอใจของผู้ใช้
โปรแกรมประยุกต์
โปรแกรมประยุกต์ หรือ ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน (อังกฤษ: application
software) ในบางครั้งเรียกย่อว่า แอปพลิเคชัน คือซอฟต์แวร์ประเภทหนึ่ง
สาหรับใช้งานสาหรับงานเฉพาะทาง ซึ่งแตกต่างกับซอฟต์แวร์ประเภทอื่น
เช่น ระบบปฏิบัติการ ที่ใช้สาหรับรับรองการทางานหลายด้าน
ประเภทและประโยชน์ของผังงาน
ความหมายของผังงาน
ผังงาน หมายถึง รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนลาดับหรือขั้นตอนการทางาน รูปภาพ
ทางาน รูปภาพและสัญลักษณ์ที่ใช้จะต้องเป็นเอกลักษคือแทนความหมายอย่างใดอย่าง
อย่างใดอย่างหนึ่ง
ประเภทของผังงาน
ผังงาน สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ คือ
1. ผังงานระบบ (System Flowchart)
2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ประโยชน์ของผังงาน
1. สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย เพื่อผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใด
ภาษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ
2. ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกในการพิจารณาถึงลาดับ
พิจารณาถึงลาดับขั้นตอนในการทางาน ต่างกับการบรรยายเป็นตัวอักษร เพราะอาจสื่อ
เพราะอาจสื่อความหมายผิดไปได้
3. ในโปรแกรมที่ไม่ซับซ้อน สามารถใช้ผังงานตรวจสอบความถูกต้องของลาดับขั้นตอน
ลาดับขั้นตอนได้ง่ายถ้ามีข้อผิดพลาด สามารถแก้ไขได้สะดวกและรวดเร็ว
4. การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงาน สามารถทางานง่ายและรวดเร็ว
รวดเร็ว
5. การบารุงรักษาโปรแกรม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรม สามารถดูผังงาน
ดูผังงานเพื่อแก้ไขคาสั่งในโปรแกรมก่อนแก้ไขได้
ข้อจากัด/สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
ข้อจากัดของผังงาน
1. ผังงานเป็นสื่อความหมายระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าที่จะสื่อความหมาย
บุคคลกับคอมพิวเตอร์ เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึ่ง
ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถรับรู้ว่าผังงานต้องการอะไร
2. ในผังงานไม่อาจบอกให้ทราบว่า ขั้นตอนการทางานใดสาคัญกว่ากัน เพราะทุก
ๆ ขั้นตอนใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ในรูปแบบเดียวกัน
3. กรณีที่งานมีขนาดใหญ่ ผังงานจะมีขนาดใหญ่ด้วย ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข
สามรถทาได้ยาก
4. ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคาสั่งของภาษาคอมพิวเตอร์บางคาสั่งได้อย่าง
ชัดเจน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
หลักเกณฑ์ในการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน ควรใช้คาสั่งใดบ้างขึ้นอยู่กับลักษณะของงานที่ต้องการ ให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทาซึ่งโดยทั่วไปลาดับของการปฏิบัติงานนั้นมีอยู่ด้วยกัน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอน
การรับข้อมูล ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์
การวิเคราะห์งาน (Job Analization)
การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียน
โปรแกรมและเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด โดยจะต้องกาหนดขอบเขตของงาน
หรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่า
ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไร
จัดทาโดย
นายอภิเษก ทองสวัสดิ์ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 1
นายกษิดิ์เดช เปรมธนรุ่งเรือง ชั้น ม.6/3 เลขที่ 2
นางสาวรินรดา นาคะศิริ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 23
นางสาวอภิสรา ชานาญกาหนด ชั้น ม.6/3 เลขที่ 26
นางสาววิลาสินี บัวชู ชั้น ม.6/3 เลขที่ 32
นางสาวพรพิชชา ชมภู่ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 36

More Related Content

What's hot

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Diiz Yokiiz
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)Non Thanawat
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาMilo M'ilo
 
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์Nattawat Cjd
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อThanisorn Deenarn
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9naraporn buanuch
 
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติแบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติตุลากร คำม่วง
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31Starng Sathiankhetta
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาRavib Prt
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาmadamfong
 

What's hot (20)

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาคทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาค
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติแบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
10 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-710 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 

Similar to การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ลูกแก้ว กนกวรรณ
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีssuser5adb53
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์Pakkapong Kerdmanee
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1wachiradej
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาChatchaChantavaranurak
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16 ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16 Jump Takitkulwiwat
 

Similar to การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ (20)

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
 
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16 ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์