SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
 ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ชุดคาสั่งต่างๆ ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งการเขียนคาสั่งเหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม
(Program) ถ้ามีหลาย ๆ คาสั่งจะเรียกว่า ชุดคาสั่ง (Statement) เพื่อให้เหมาะกับงานที่ต้องการโดยลักษณะที่คล้ายคลึงกัน
ของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษามีดังนี้
 1.คาสั่งรับข้อมูลและแสดงผล (Receive Data and Display)
 2.คาสั่งคานวณ (Calculated)
 3. คาสั่งที่มีการเลือกทิศทาง (Direction)
 4.คาสั่งเข้าออกของข้อมูล (Input and Output Data)
 เป็น ภาษาโปรแกรมรุ่นที่หนึ่ง (first-generation programming language: 1GL) ซึ่งเป็น
ภาษาเดียวที่ไมโครโพรเซสเซอร์สามารถเข้าใจ คาสั่งเป็นตัวเลขล้วนๆ การอ่านและเขียนอาจต้องใช้เครื่องมือพิเศษ เป็น ภาษา
หรือคาสั่งที่ใช้ในการสั่งงานหรือติดต่อกับเครื่องโดยตรง ลักษณะสาคัญของภาษาเครื่องจะประกอบด้วยรหัสของเลขฐานสองซึ่ง
เทียบได้กับ ลักษณะของสัญญาณทางไฟฟ้าเข้ากับหลักการทางาานของเครื่องสามารถเข้าใจและ พร้อมที่จะทางานตามคาสั่งได้
ทันที
 ภาษาที่อิงกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ใดสถาปัตยกรรมหนึ่ง ซึ่งไมโครโพรเซสเซอร์แต่ละรุ่น หรือ แต่ละตระกูล ก็มักมี
ภาษาระดับต่าที่แตกต่างกัน และโดยปกติแล้ว หนึ่งคาสั่งในภาษาระดับต่า จะหมายถึงการสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้ทางานหนึ่ง
อย่าง (1 instruction = 1 operation) ภาษาระดับต่า มี 2 ภาษา คือ
 ภาษาเครื่อง เป็น ภาษาโปรแกรมรุ่นที่หนึ่ง
 ภาษาแอสเซมบลี เป็น ภาษาโปรแกรมรุ่นที่สอง
 ภาษาระดับศุงเป็นภาษาที่เขียนได้ง่าย เพราะมีการนาคาศัพท์และข้อความต่างๆ ที่บุคคลทั่วไปใช้ในชีวิตประจาวัน
อยู่แล้วมาเขียนเป็นชุดคาสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน เช่น
คาว่า Read, Print, Goto, End เป็นต้น
ส่วนการคานวณต่าง ๆ ก็เขียนเป็นคาสั่งลักลักษณะคล้ายกับสูตรทางคณิตศาสตร์
ทาให้ผู้ใช้สามารถศึกษาและเขียนชุดคาสั่งได้ง่ายขึ้น
 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลความหมายของคาสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นภาษาที่
คอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานตามคาสั่งได้ โดยโปรแกรมที่เขียนจะเป็นโปรแกรมต้นฉบับหรือซอร์สโค้ด (source
code) ซึ่งโปรแกรมเมอร์เขียนคาสั่งตามหลักการออกแบบโปรแกรม และจาเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อ
ตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาว่าเขียนถูกต้องหรือไม่
 1. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปล
คาสั่งครั้งละ 1 คาสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วนาคาสั่งที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทาการประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ทันทีหากไม่
พบข้อผิดพลาด หลังจากนั้นจะแปลคาสั่งถัดไปเรื่อยๆจนกว่าจะจบโปรแกรม ในระหว่างการแปลคาสั่ง ถ้าหากพบข้อผิดพลาด
ทางไวยากรณ์ของภาษา
 2. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดยทาการตรวจสอบความ
ถูกต้องของการเขียนคาสั่งทั้งหมดทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจ็คโค้ด แล้วจึงทาการแปลคาสั่งไปเป็นภาษาเครื่อง จากนั้นจึงทาการ
ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ หากพบข้อผิดพลาดของการเขียนโปรแกรม หรือมีคาสั่งที่ผิดหลักไวยากรณ์ของ
ภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมไพเลอร์จะแจ้งให้โปรแกรมเมอร์ทาการแก้ไขให้ถูกต้องทั้งหมดก่อนแล้วจึงคอมไพล์ใหม่อีก
ครั้งจนกว่าไม่พบข้อผิดพลาดถึงจะนาโปรแกรมไปใช้งานได้
 ในการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษาจะมีการใช้คาสั่งที่ต่างกัน แต่ส่วนใหญ่จะมีองค์ประกอบที่คล้ายกัน
ขยายเป็น *.h มีชื่อเรียกว่า Compiler Directive โดยองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์มีดังนี้
1.ส่วนหัวของโปรแกรม (Header)
2.ส่วนฟังก์ชั่นหลัก (Function)
3.ส่วนคาสั่ง (Statement)
4.ส่วนแสดงผล (Comment)
5.ส่วนปิดโปรแกรม (End)
37 กรวิชญ์-3-7

More Related Content

What's hot

04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9naraporn buanuch
 
08 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-808 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-8naraporn buanuch
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์WEDPISIT KHAMCHAROEN
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7naraporn buanuch
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
10 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-910 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-9naraporn buanuch
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9naraporn buanuch
 

What's hot (20)

04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
08 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-808 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-8
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
15 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-715 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-7
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
10 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-710 ธิบดี-3-7
10 ธิบดี-3-7
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
10 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-910 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-9
 
14 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-714 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-7
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 

Similar to 37 กรวิชญ์-3-7

32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-703 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 

Similar to 37 กรวิชญ์-3-7 (15)

32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-703 ทัศน์พล-ปวช.3-7
03 ทัศน์พล-ปวช.3-7
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 

More from naraporn buanuch

03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9naraporn buanuch
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

More from naraporn buanuch (9)

07 ทศพล-3-9
07 ทศพล-3-907 ทศพล-3-9
07 ทศพล-3-9
 
03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9
 
49 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-749 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-7
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
44 กฤษณะ-3-7
44 กฤษณะ-3-744 กฤษณะ-3-7
44 กฤษณะ-3-7
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
 

37 กรวิชญ์-3-7

  • 1.
  • 2.  ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ชุดคาสั่งต่างๆ ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งการเขียนคาสั่งเหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม (Program) ถ้ามีหลาย ๆ คาสั่งจะเรียกว่า ชุดคาสั่ง (Statement) เพื่อให้เหมาะกับงานที่ต้องการโดยลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษามีดังนี้  1.คาสั่งรับข้อมูลและแสดงผล (Receive Data and Display)  2.คาสั่งคานวณ (Calculated)  3. คาสั่งที่มีการเลือกทิศทาง (Direction)  4.คาสั่งเข้าออกของข้อมูล (Input and Output Data)
  • 3.  เป็น ภาษาโปรแกรมรุ่นที่หนึ่ง (first-generation programming language: 1GL) ซึ่งเป็น ภาษาเดียวที่ไมโครโพรเซสเซอร์สามารถเข้าใจ คาสั่งเป็นตัวเลขล้วนๆ การอ่านและเขียนอาจต้องใช้เครื่องมือพิเศษ เป็น ภาษา หรือคาสั่งที่ใช้ในการสั่งงานหรือติดต่อกับเครื่องโดยตรง ลักษณะสาคัญของภาษาเครื่องจะประกอบด้วยรหัสของเลขฐานสองซึ่ง เทียบได้กับ ลักษณะของสัญญาณทางไฟฟ้าเข้ากับหลักการทางาานของเครื่องสามารถเข้าใจและ พร้อมที่จะทางานตามคาสั่งได้ ทันที
  • 4.  ภาษาที่อิงกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ใดสถาปัตยกรรมหนึ่ง ซึ่งไมโครโพรเซสเซอร์แต่ละรุ่น หรือ แต่ละตระกูล ก็มักมี ภาษาระดับต่าที่แตกต่างกัน และโดยปกติแล้ว หนึ่งคาสั่งในภาษาระดับต่า จะหมายถึงการสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้ทางานหนึ่ง อย่าง (1 instruction = 1 operation) ภาษาระดับต่า มี 2 ภาษา คือ  ภาษาเครื่อง เป็น ภาษาโปรแกรมรุ่นที่หนึ่ง  ภาษาแอสเซมบลี เป็น ภาษาโปรแกรมรุ่นที่สอง
  • 5.  ภาษาระดับศุงเป็นภาษาที่เขียนได้ง่าย เพราะมีการนาคาศัพท์และข้อความต่างๆ ที่บุคคลทั่วไปใช้ในชีวิตประจาวัน อยู่แล้วมาเขียนเป็นชุดคาสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน เช่น คาว่า Read, Print, Goto, End เป็นต้น ส่วนการคานวณต่าง ๆ ก็เขียนเป็นคาสั่งลักลักษณะคล้ายกับสูตรทางคณิตศาสตร์ ทาให้ผู้ใช้สามารถศึกษาและเขียนชุดคาสั่งได้ง่ายขึ้น
  • 6.  เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลความหมายของคาสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นภาษาที่ คอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานตามคาสั่งได้ โดยโปรแกรมที่เขียนจะเป็นโปรแกรมต้นฉบับหรือซอร์สโค้ด (source code) ซึ่งโปรแกรมเมอร์เขียนคาสั่งตามหลักการออกแบบโปรแกรม และจาเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อ ตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาว่าเขียนถูกต้องหรือไม่  1. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปล คาสั่งครั้งละ 1 คาสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วนาคาสั่งที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทาการประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ทันทีหากไม่ พบข้อผิดพลาด หลังจากนั้นจะแปลคาสั่งถัดไปเรื่อยๆจนกว่าจะจบโปรแกรม ในระหว่างการแปลคาสั่ง ถ้าหากพบข้อผิดพลาด ทางไวยากรณ์ของภาษา  2. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดยทาการตรวจสอบความ ถูกต้องของการเขียนคาสั่งทั้งหมดทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจ็คโค้ด แล้วจึงทาการแปลคาสั่งไปเป็นภาษาเครื่อง จากนั้นจึงทาการ ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ หากพบข้อผิดพลาดของการเขียนโปรแกรม หรือมีคาสั่งที่ผิดหลักไวยากรณ์ของ ภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมไพเลอร์จะแจ้งให้โปรแกรมเมอร์ทาการแก้ไขให้ถูกต้องทั้งหมดก่อนแล้วจึงคอมไพล์ใหม่อีก ครั้งจนกว่าไม่พบข้อผิดพลาดถึงจะนาโปรแกรมไปใช้งานได้
  • 7.  ในการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษาจะมีการใช้คาสั่งที่ต่างกัน แต่ส่วนใหญ่จะมีองค์ประกอบที่คล้ายกัน ขยายเป็น *.h มีชื่อเรียกว่า Compiler Directive โดยองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์มีดังนี้ 1.ส่วนหัวของโปรแกรม (Header) 2.ส่วนฟังก์ชั่นหลัก (Function) 3.ส่วนคาสั่ง (Statement) 4.ส่วนแสดงผล (Comment) 5.ส่วนปิดโปรแกรม (End)