SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
การเขียนโปรแกรมภาษา
ภาษาคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ การทางานต้องอาศัยสถานะทางไฟฟ้า คือ 0 กับ 1
เป็นพื้นฐานในการทางานและต้องมีโปรแกรมหรือชุดคาสั่งในการสั่งให้
คอมพิวเตอร์ประมวลผล เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน
โปรแกรมหรือชุดคาสั่งสร้างขึ้นจากภาษาคอมพิวเตอร์ ในการป้อนคาสั่งตอน
แรกใช้ภาษาเครื่องที่เป็นรหัสเลขฐานสอง ต่อมาใช้ภาษาอังกฤษที่แทนตัว
เลขฐานสอง เรียกว่า นีโมนิก ในภาษาคอมพิวเตอร์ เรียกว่า แอสเซมบลี ถือเป็น
การพัฒนาภาษาในยุคต่อๆมาให้มีมากขึ้น
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์จาแนกความใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ได้เป็น 2
ระดับดังนี้
1.ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์
ทั่วไปไม่เข้าใจ เช่น ภาษาที่ใช้รหัสเลขฐานสองหรือภาษาที่พัฒนาใช้
ภาษาอังกฤษแทนรหัสเลขฐานสอง ซึ่งไม่สามารถสื่อความหมายได้
2.ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่สามารถ
สื่อความหมายได้ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์โดยเมื่ออ่านพอจะ
คาดคะเนความหมายได้
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ)
ภาษาระดับต่า
1.ภาษาเครื่อง (Machine language) เป็นภาษาระดับต่าที่สุด เพราะใช้
เลขฐานสองแทนข้อมูล และคาสั่งต่างๆทั้งหมดจะเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับ
ชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการใช้งานจึงต้องศึกษาการโปรแกรม
ของเครื่องในแต่ละค่าย และต้องคิดคานวณปรับเปลี่ยนคาสั่งต่างๆให้
เป็นเลขฐานสองทั้งหมดก่อนการโปรแกรมเข้าไป
2.ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) ใช้รหัสเป็นคาแทนคาสั่ง
ภาษาเครื่อง ทาให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
โดยใช้อักษรในภาษาอังกฤษในการเขียนโปรแกรม และสัญลักษณ์ที่ ใช้
จะเป็นคาสั่งสั้นๆที่จดจาได้ง่าย เรียกว่า นีโนนิกโค้ด (Nemonic Code)
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ)
ภาษาระดับสูง
1.ตัวแปรภาษา
1.1อินเทอร์พรีเตอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
การแปลจะแปลทีละคาสั่งหรือทีละบรรทัดและทางานตามคาสั่งทันที ในกรณีที่
โปรแกรมมีลักษณะการทางานวนซ้า (Loop) อินเทอร์พรีเตอร์จะต้องแปลคาสั่งนั้น
ซ้าแล้วซ้าอีก จึงทาให้การแปลแบบอินเทอร์พรีเตอร์ทางานช้า
1.2คอมไพเลอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง คอมไพเลอร์
จะทาการแปลทั้งโปรแกรมแล้วเก็บโปรแกรมที่แปลได้ในรูปของภาษาเครื่องไว้ใน
ลักษณะของโปรแกรมเชิงวัตถุ ถ้าโปรแกรมที่แปลไม่มีข้อผิดพลาดก็จะปฏิบัติงาน
ตามคาสั่งนั้นๆทันที ในกรณีที่มีการทางานแบบวนซ้า (Loop) เครื่องจะนาเอา
โปรแกรมเชิงวัตถุที่แปลเก็บไว้ไปใช้ทางานโดยไม่ต้องมีการแปลซ้าอีกทาให้การ
ทางานเร็วกว่าการแปลแบบอินเทอร์พรีเตอร์
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ)
ภาษาระดับสูง (ต่อ)
2.ภาษาระดับสูงกับการใช้งาน
2.1 ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN : FORmular TRANslation) เป็นภาษาที่
เหมาะในงานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นงานที่
มักใช้การประมวลผลที่ซับซ้อน ภาษาฟอร์แทรนไม่เหมาะกับการพิมพ์งาน
หรืองานที่ต้องการเก็บข้อมูลเป็นไฟล์เพราะคาสั่งด้านนี้มีน้อย
2.2 ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language)เป็น
ภาษาที่มีคาสั่งคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในงานทาง
ธุรกิจและเป็นภาษาที่ประสบความสาเร็จในการใช้งานธุรกิจ โคบอลเป็นภาษา
โครงสร้างที่มีจุดอ่อน คือ เป็นภาษาที่ยากกว่าภาษาอื่น โดยเฉพาะผู้เริ่มต้นไม่มี
ประสบการณ์ในการใช้งาน ปัจจุบันโคบอลได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น เรียกว่า
ANSI COBOL และขยายให้ใช้เป็นภาษาเชิงวัตถุ คือ COBOL 97
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ)
2.ภาษาระดับสูงกับการใช้งาน(ต่อ)
2.3ภาษาปาสกาล (PASCAL) ภาษาปาสกาลมีลักษณะเด่น คือ เป็นภาษาโครงสร้าง (Structure
Programing) สามารถใช้งานกับคอมพิวเตอร์ได้หลายรุ่นและรุ่นที่นิยมมาก คือ เทอร์โบปาส
กาล (Terbo Pascal) ที่ใช้เนื้อที่ของโปรแกรมน้อย ในยุคที่ใช้แผ่นบันทึก และข้อที่สาคัญ
สามารถรายงานข้อผิดพลาดของการเขียนโปรแกรมได้ดี ทาให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้า
แก้ไขการเขียนโปรแกรมตรงจุดที่ผิดพลาดได้ตรงตาแหน่ง
2.4ภาษาซี ( C ) เป็นภาษาที่เขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง มีรูปแบบคาสั่งค่อนข้างอิสระ มี
คาสั่งและฟังก์ชันมาก สามารถใช้กับงานได้ประเภท สามารถควบคุมฮาร์ดแวร์ได้
2.5ภาษาเบสิก (BASIC : Beginners ALL-purpose Symbolic Instruction Code) จุดเด่นของ
ภาษาเบสิก คือ ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ของภาษานี้ใช้เนื้อที่น้อย คาสั่งต่างๆมี
น้อย แต่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นภาษาที่เข้าใจ และถูกออกแบบเพื่อใช้
งานในลักษณะโต้ตอบ
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ)
2.ภาษาระดับสูงกับการใช้งาน(ต่อ)
2.6ภาษาอัลกอล (ALGOL : ALGOrithmic Language) เป็นภาษาโครงสร้างใช้
กับงานด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ลักษณะคล้ายกับภาษา FORTRAN
ลักษณะโปรแกรมจะแยกออกเป็นส่วนๆ เรียกว่า โปรแกรมย่อยๆ (Subroutine
หรือ Procedure)
2.7ภาษาพีแอลวัน (PL/I : Programming Language/I) เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้น
เพื่อใช้กับงานธุรกิจและวิทยาศาสตร์ โดยรวมเอาข้อดีของภาษาฟอร์แทรนและ
โคบอลเข้าด้วยกัน คือ สามารถทาการคานวณได้ดีเหมือนกับภาษาฟอร์แทรน
และสามารถจัดไฟล์และทารูปแบบรายงานได้เหมือนกับภาษาโคบอล
ประเภทของประโยคในภาษาคอมพิวเตอร์
ทุกภาษาจะต้องมีโครงสร้างทางภาษา ประกอบกันเป็นประโยคต่างๆ แบ่งได้5 ประเภท ดังนี้
1.ประโยคที่ใช้ในการระบุตัวแปร ใช้ในการระบุชื่อ และชนิดของตัวแปร (Variable) ซึ่งตัวแปรจะใช้
เป็นชื่อใน การอ้างอิงถึงข้อมูลที่ถูกจัดเก็บในหน่วยความจา
2.ประโยคที่ใช้ในการอ่านหรือแสดงผลลัพธ์ ใช้ในการอ่านข้อมูลเข้ามาเก็บในตัวแปรที่ระบุและใช้
แสดงผลลัพธ์
3.ประโยคควบคุม ใช้ในการควบคุมการทางานว่าจะให้ทางานในส่วนใดของโปรแกรม ซึ่งถ้าไม่มี
ประโยคควบคุมการทางาน จะทาเรียงตามลาดับคาสั่งจากประโยคแรกไปยังประโยคสุดท้าย
4.ประโยคที่ใช้ในการคานวณ ใช้ในการคานวณค่าทางคณิตศาสตร์
5.ประโยคที่ใช้บอกจบการทางาน ใช้ระบุจุดจบของการทางาน
ประเภทของประโยคในภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ)
คุณสมบัติของการเขียนโปรแกรม
• มีความถูกต้องและเชื่อถือได้
• มีความเป็นมิตรต่อผู้ใช้
• ค่าใช้จ่ายต่า
• ต้องอ่านง่านและสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
• มีความปลอดภัย
• ใช้เวลาในการพัฒนาไม่นาน
ประเภทของการเขียนโปรแกรม
4.1 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง
1. โครงสร้างแบบลาดับ
2. โครงสร้างแบบมีทางเลือก
3. โครงสร้างแบบทาซ้า
4.2 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
แนวคิดของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ โดยรวมข้อมูลเข้าเป็นส่วนหนึ่งของวัตถุ(Object)
แต่ละวัตถุสามารถติดต่อเข้ากันได้โดยใช้การส่ง message ไปยังวัตถุ (Object) อื่นๆ ซึ่งเมื่อทุก
อย่างถูกมองว่าเป็นวัตถุ ก็สามารถทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบได้
คานิยามของวัตถุในโปรแกรมเชิงวัตถุ แนวคิดโปรแกรมเชิงวัตถุเป็นแนวคิดใหม่ โดยมี
นิยามคาใหม่ที่ควรรู้จักดังนี้
1.Object โปรแกรมเชิงวัตถุจะมองทุกอย่างให้เป็นวัตถุ (Object)ซึ่งแบ่งได้เป็น
1.1 วัตถุที่เป็นรูปธรรม
1.2 วัตถุที่เป็นนามธรรม
1) สถานะเป็นส่วนที่ใช้ในการเก็บข้อมูลต่างๆ ของวัตถุ(Object)
2) พฤติกรรม เป็นสิ่งที่วัตถุนั้นสามารถทาได้
ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
2.Class เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวของวัตถุในการสร้างวัตถุขึ้นนั้น จะต้องมี Class ก่อน
เสมอ โดยวัตถุของ Class ใด ก็ต้องมีคุณลักษณะและพฤติกรรมเดียวกับ Class นั้น
ซึ่งโปรแกรมเชิงวัตถุจะมองว่า Class เหมือนกับต้นแบบของวัตถุ
จุดเด่นของภาษาเชิงวัตถุ โปรแกรมภาเชิงวัตถุ ได้พัฒนาโดยลดข้อจากัดของการ
เขียนโปรแกรมแบบเดิม และมีจุดเด่น ดังนี้
1.ถูกออกแบบมาให้ง่ายต่อการเรียนรู้
2.สามารถสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้งานได้ทุกระบบปฏิบัติการ
3.สามารถสร้างงานประยุกต์ที่ทางานในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้
4.สามารถนาโปรแกรมย่อยมาพัฒนาต่อยอดได้ทันที โดยไม่ต้องเริ่มต้นสร้าง
โปรแกรมใหม่และ สามารถทางานร่วมกับโปรแกรมย่อยอื่นๆ ที่คนอื่นสร้างไว้ได้
ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
4.3 การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
บางครั้งเรียกว่า วิชวล ซึ่งสอดคล้องกับชื่อ คือ เสมือนจริงโดยที่โปรแกรมแบบ
จินตภาพนี้มีหลักการเขียนโปรแกรมแบบเชิงวัตถุ แต่ด้วยข้อจากัดของการเขียนโปรแกรม
แบบเชิงวัตถุเดิมที่ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องออกแบบคาดคะเนรูปร่าง รูปภาพ ตาแหน่ง
หรือสีของวัตถุที่ออกแบบหรือใช้ประกอบการเขียนโปรแกรม
ด้วยความโดดเด่นของการใช้งานง่าย โปรแกรมแบบจินตภาพที่ได้รับความนิยมจะ
มีเครื่องมือสาหรับอานวยความสะดวกในการสร้างวัตถุแบบรูปธรรมและวัตถุแบบ
นามธรรม
เครื่องมือและวัตถุในการใช้เขียนโปรแกรมแบบจินตภาพที่โปรแกรมเตรียมมาให้
นั้นผู้ใช้งานโปรแกรมยังสามารถเสาะหาเพิ่มเติมจากผู้พัฒนาในแหล่งอื่น เพื่อนามาใช้กับ
การเขียนโปรแกรมให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นได้และสามารถสร้างชิ้นงานได้อย่าง
รวดเร็ว
โปรแกรมแบบจินตภาพที่มีผู้รู้จักมากที่สุดคือ โปรแกรมวิชวลเบสิก
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
1.วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการ
2.วิเคราะห์รูปแบบของผลลัพธ์
3.วิเคราะห์ข้อมูลนาเข้า
4.วิเคราะห์ตัวแปรที่ใช้
5.วิเคราะห์วิธีการประมวลผล
6.ออกแบบผังงาน
7.การเขียนโปรแกรม
8.การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
9.ทาเอกสารและบารุงรักษาโปรแกรม
จัดทาโดย
1.นายสุทธิเดช ก้อนทอง ม.5/5 เลขที่ 7
2.นางสาวจันทมณี ติเยาว์ ม.5/5 เลขที่ 12
3.นางสาวชนิกานต์ กองแก้ว ม.5/5 เลขที่ 13
4.นางสาวณัฐชยา ศิวิลัย ม.5/5 เลขที่ 14
5.นางสาวนารากร อยู่บุญ ม.5/5 เลขที่ 16
6.นางสาวรามาวดี น้าดอกไม้ ม.5/5 เลขที่ 18
7.นางสาวอันธิมา คาปาน ม.5/5 เลขที่ 21

More Related Content

What's hot

ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Last'z Regrets
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Diiz Yokiiz
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์WEDPISIT KHAMCHAROEN
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อThanisorn Deenarn
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาRavib Prt
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์Pakkapong Kerdmanee
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 

What's hot (20)

ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
 
123456
123456123456
123456
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
ทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาคทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาค
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
49 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-749 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-7
 

Similar to การเขียนโปรแกรมภาษา

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Inam Chatsanova
 
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติแบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติตุลากร คำม่วง
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาJiranan Thongrit
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาmadamfong
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer languageIrinApat
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์Nattawat Cjd
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31Starng Sathiankhetta
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ลูกแก้ว กนกวรรณ
 

Similar to การเขียนโปรแกรมภาษา (20)

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติแบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
งาน
งานงาน
งาน
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer language
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 

การเขียนโปรแกรมภาษา

  • 2. ภาษาคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ การทางานต้องอาศัยสถานะทางไฟฟ้า คือ 0 กับ 1 เป็นพื้นฐานในการทางานและต้องมีโปรแกรมหรือชุดคาสั่งในการสั่งให้ คอมพิวเตอร์ประมวลผล เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน โปรแกรมหรือชุดคาสั่งสร้างขึ้นจากภาษาคอมพิวเตอร์ ในการป้อนคาสั่งตอน แรกใช้ภาษาเครื่องที่เป็นรหัสเลขฐานสอง ต่อมาใช้ภาษาอังกฤษที่แทนตัว เลขฐานสอง เรียกว่า นีโมนิก ในภาษาคอมพิวเตอร์ เรียกว่า แอสเซมบลี ถือเป็น การพัฒนาภาษาในยุคต่อๆมาให้มีมากขึ้น
  • 3. ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์จาแนกความใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ได้เป็น 2 ระดับดังนี้ 1.ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ ทั่วไปไม่เข้าใจ เช่น ภาษาที่ใช้รหัสเลขฐานสองหรือภาษาที่พัฒนาใช้ ภาษาอังกฤษแทนรหัสเลขฐานสอง ซึ่งไม่สามารถสื่อความหมายได้ 2.ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่สามารถ สื่อความหมายได้ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์โดยเมื่ออ่านพอจะ คาดคะเนความหมายได้
  • 4. ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ) ภาษาระดับต่า 1.ภาษาเครื่อง (Machine language) เป็นภาษาระดับต่าที่สุด เพราะใช้ เลขฐานสองแทนข้อมูล และคาสั่งต่างๆทั้งหมดจะเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับ ชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการใช้งานจึงต้องศึกษาการโปรแกรม ของเครื่องในแต่ละค่าย และต้องคิดคานวณปรับเปลี่ยนคาสั่งต่างๆให้ เป็นเลขฐานสองทั้งหมดก่อนการโปรแกรมเข้าไป 2.ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) ใช้รหัสเป็นคาแทนคาสั่ง ภาษาเครื่อง ทาให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น โดยใช้อักษรในภาษาอังกฤษในการเขียนโปรแกรม และสัญลักษณ์ที่ ใช้ จะเป็นคาสั่งสั้นๆที่จดจาได้ง่าย เรียกว่า นีโนนิกโค้ด (Nemonic Code)
  • 5. ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ) ภาษาระดับสูง 1.ตัวแปรภาษา 1.1อินเทอร์พรีเตอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลจะแปลทีละคาสั่งหรือทีละบรรทัดและทางานตามคาสั่งทันที ในกรณีที่ โปรแกรมมีลักษณะการทางานวนซ้า (Loop) อินเทอร์พรีเตอร์จะต้องแปลคาสั่งนั้น ซ้าแล้วซ้าอีก จึงทาให้การแปลแบบอินเทอร์พรีเตอร์ทางานช้า 1.2คอมไพเลอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง คอมไพเลอร์ จะทาการแปลทั้งโปรแกรมแล้วเก็บโปรแกรมที่แปลได้ในรูปของภาษาเครื่องไว้ใน ลักษณะของโปรแกรมเชิงวัตถุ ถ้าโปรแกรมที่แปลไม่มีข้อผิดพลาดก็จะปฏิบัติงาน ตามคาสั่งนั้นๆทันที ในกรณีที่มีการทางานแบบวนซ้า (Loop) เครื่องจะนาเอา โปรแกรมเชิงวัตถุที่แปลเก็บไว้ไปใช้ทางานโดยไม่ต้องมีการแปลซ้าอีกทาให้การ ทางานเร็วกว่าการแปลแบบอินเทอร์พรีเตอร์
  • 6. ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ) ภาษาระดับสูง (ต่อ) 2.ภาษาระดับสูงกับการใช้งาน 2.1 ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN : FORmular TRANslation) เป็นภาษาที่ เหมาะในงานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นงานที่ มักใช้การประมวลผลที่ซับซ้อน ภาษาฟอร์แทรนไม่เหมาะกับการพิมพ์งาน หรืองานที่ต้องการเก็บข้อมูลเป็นไฟล์เพราะคาสั่งด้านนี้มีน้อย 2.2 ภาษาโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language)เป็น ภาษาที่มีคาสั่งคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในงานทาง ธุรกิจและเป็นภาษาที่ประสบความสาเร็จในการใช้งานธุรกิจ โคบอลเป็นภาษา โครงสร้างที่มีจุดอ่อน คือ เป็นภาษาที่ยากกว่าภาษาอื่น โดยเฉพาะผู้เริ่มต้นไม่มี ประสบการณ์ในการใช้งาน ปัจจุบันโคบอลได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น เรียกว่า ANSI COBOL และขยายให้ใช้เป็นภาษาเชิงวัตถุ คือ COBOL 97
  • 7. ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ) 2.ภาษาระดับสูงกับการใช้งาน(ต่อ) 2.3ภาษาปาสกาล (PASCAL) ภาษาปาสกาลมีลักษณะเด่น คือ เป็นภาษาโครงสร้าง (Structure Programing) สามารถใช้งานกับคอมพิวเตอร์ได้หลายรุ่นและรุ่นที่นิยมมาก คือ เทอร์โบปาส กาล (Terbo Pascal) ที่ใช้เนื้อที่ของโปรแกรมน้อย ในยุคที่ใช้แผ่นบันทึก และข้อที่สาคัญ สามารถรายงานข้อผิดพลาดของการเขียนโปรแกรมได้ดี ทาให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้า แก้ไขการเขียนโปรแกรมตรงจุดที่ผิดพลาดได้ตรงตาแหน่ง 2.4ภาษาซี ( C ) เป็นภาษาที่เขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง มีรูปแบบคาสั่งค่อนข้างอิสระ มี คาสั่งและฟังก์ชันมาก สามารถใช้กับงานได้ประเภท สามารถควบคุมฮาร์ดแวร์ได้ 2.5ภาษาเบสิก (BASIC : Beginners ALL-purpose Symbolic Instruction Code) จุดเด่นของ ภาษาเบสิก คือ ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ของภาษานี้ใช้เนื้อที่น้อย คาสั่งต่างๆมี น้อย แต่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นภาษาที่เข้าใจ และถูกออกแบบเพื่อใช้ งานในลักษณะโต้ตอบ
  • 8. ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ) 2.ภาษาระดับสูงกับการใช้งาน(ต่อ) 2.6ภาษาอัลกอล (ALGOL : ALGOrithmic Language) เป็นภาษาโครงสร้างใช้ กับงานด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ลักษณะคล้ายกับภาษา FORTRAN ลักษณะโปรแกรมจะแยกออกเป็นส่วนๆ เรียกว่า โปรแกรมย่อยๆ (Subroutine หรือ Procedure) 2.7ภาษาพีแอลวัน (PL/I : Programming Language/I) เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อใช้กับงานธุรกิจและวิทยาศาสตร์ โดยรวมเอาข้อดีของภาษาฟอร์แทรนและ โคบอลเข้าด้วยกัน คือ สามารถทาการคานวณได้ดีเหมือนกับภาษาฟอร์แทรน และสามารถจัดไฟล์และทารูปแบบรายงานได้เหมือนกับภาษาโคบอล
  • 9. ประเภทของประโยคในภาษาคอมพิวเตอร์ ทุกภาษาจะต้องมีโครงสร้างทางภาษา ประกอบกันเป็นประโยคต่างๆ แบ่งได้5 ประเภท ดังนี้ 1.ประโยคที่ใช้ในการระบุตัวแปร ใช้ในการระบุชื่อ และชนิดของตัวแปร (Variable) ซึ่งตัวแปรจะใช้ เป็นชื่อใน การอ้างอิงถึงข้อมูลที่ถูกจัดเก็บในหน่วยความจา 2.ประโยคที่ใช้ในการอ่านหรือแสดงผลลัพธ์ ใช้ในการอ่านข้อมูลเข้ามาเก็บในตัวแปรที่ระบุและใช้ แสดงผลลัพธ์ 3.ประโยคควบคุม ใช้ในการควบคุมการทางานว่าจะให้ทางานในส่วนใดของโปรแกรม ซึ่งถ้าไม่มี ประโยคควบคุมการทางาน จะทาเรียงตามลาดับคาสั่งจากประโยคแรกไปยังประโยคสุดท้าย 4.ประโยคที่ใช้ในการคานวณ ใช้ในการคานวณค่าทางคณิตศาสตร์ 5.ประโยคที่ใช้บอกจบการทางาน ใช้ระบุจุดจบของการทางาน
  • 10. ประเภทของประโยคในภาษาคอมพิวเตอร์(ต่อ) คุณสมบัติของการเขียนโปรแกรม • มีความถูกต้องและเชื่อถือได้ • มีความเป็นมิตรต่อผู้ใช้ • ค่าใช้จ่ายต่า • ต้องอ่านง่านและสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ • มีความปลอดภัย • ใช้เวลาในการพัฒนาไม่นาน
  • 11. ประเภทของการเขียนโปรแกรม 4.1 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง 1. โครงสร้างแบบลาดับ 2. โครงสร้างแบบมีทางเลือก 3. โครงสร้างแบบทาซ้า 4.2 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ แนวคิดของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ โดยรวมข้อมูลเข้าเป็นส่วนหนึ่งของวัตถุ(Object) แต่ละวัตถุสามารถติดต่อเข้ากันได้โดยใช้การส่ง message ไปยังวัตถุ (Object) อื่นๆ ซึ่งเมื่อทุก อย่างถูกมองว่าเป็นวัตถุ ก็สามารถทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบได้ คานิยามของวัตถุในโปรแกรมเชิงวัตถุ แนวคิดโปรแกรมเชิงวัตถุเป็นแนวคิดใหม่ โดยมี นิยามคาใหม่ที่ควรรู้จักดังนี้ 1.Object โปรแกรมเชิงวัตถุจะมองทุกอย่างให้เป็นวัตถุ (Object)ซึ่งแบ่งได้เป็น 1.1 วัตถุที่เป็นรูปธรรม 1.2 วัตถุที่เป็นนามธรรม 1) สถานะเป็นส่วนที่ใช้ในการเก็บข้อมูลต่างๆ ของวัตถุ(Object) 2) พฤติกรรม เป็นสิ่งที่วัตถุนั้นสามารถทาได้
  • 12. ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ) 2.Class เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวของวัตถุในการสร้างวัตถุขึ้นนั้น จะต้องมี Class ก่อน เสมอ โดยวัตถุของ Class ใด ก็ต้องมีคุณลักษณะและพฤติกรรมเดียวกับ Class นั้น ซึ่งโปรแกรมเชิงวัตถุจะมองว่า Class เหมือนกับต้นแบบของวัตถุ จุดเด่นของภาษาเชิงวัตถุ โปรแกรมภาเชิงวัตถุ ได้พัฒนาโดยลดข้อจากัดของการ เขียนโปรแกรมแบบเดิม และมีจุดเด่น ดังนี้ 1.ถูกออกแบบมาให้ง่ายต่อการเรียนรู้ 2.สามารถสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้งานได้ทุกระบบปฏิบัติการ 3.สามารถสร้างงานประยุกต์ที่ทางานในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ 4.สามารถนาโปรแกรมย่อยมาพัฒนาต่อยอดได้ทันที โดยไม่ต้องเริ่มต้นสร้าง โปรแกรมใหม่และ สามารถทางานร่วมกับโปรแกรมย่อยอื่นๆ ที่คนอื่นสร้างไว้ได้
  • 13. ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ) 4.3 การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ บางครั้งเรียกว่า วิชวล ซึ่งสอดคล้องกับชื่อ คือ เสมือนจริงโดยที่โปรแกรมแบบ จินตภาพนี้มีหลักการเขียนโปรแกรมแบบเชิงวัตถุ แต่ด้วยข้อจากัดของการเขียนโปรแกรม แบบเชิงวัตถุเดิมที่ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องออกแบบคาดคะเนรูปร่าง รูปภาพ ตาแหน่ง หรือสีของวัตถุที่ออกแบบหรือใช้ประกอบการเขียนโปรแกรม ด้วยความโดดเด่นของการใช้งานง่าย โปรแกรมแบบจินตภาพที่ได้รับความนิยมจะ มีเครื่องมือสาหรับอานวยความสะดวกในการสร้างวัตถุแบบรูปธรรมและวัตถุแบบ นามธรรม เครื่องมือและวัตถุในการใช้เขียนโปรแกรมแบบจินตภาพที่โปรแกรมเตรียมมาให้ นั้นผู้ใช้งานโปรแกรมยังสามารถเสาะหาเพิ่มเติมจากผู้พัฒนาในแหล่งอื่น เพื่อนามาใช้กับ การเขียนโปรแกรมให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นได้และสามารถสร้างชิ้นงานได้อย่าง รวดเร็ว โปรแกรมแบบจินตภาพที่มีผู้รู้จักมากที่สุดคือ โปรแกรมวิชวลเบสิก
  • 15. จัดทาโดย 1.นายสุทธิเดช ก้อนทอง ม.5/5 เลขที่ 7 2.นางสาวจันทมณี ติเยาว์ ม.5/5 เลขที่ 12 3.นางสาวชนิกานต์ กองแก้ว ม.5/5 เลขที่ 13 4.นางสาวณัฐชยา ศิวิลัย ม.5/5 เลขที่ 14 5.นางสาวนารากร อยู่บุญ ม.5/5 เลขที่ 16 6.นางสาวรามาวดี น้าดอกไม้ ม.5/5 เลขที่ 18 7.นางสาวอันธิมา คาปาน ม.5/5 เลขที่ 21