SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Designed by Mr.Chokchai Suna [Group 1]
ความหมายของคู่อันดับ [Meaning of 
ordered pairs] 
 สัญลักษณ์ที่แสดงการจับคู่กันระหว่างสงิ่2 สงิ่เช่น ระยะทางกับเวลา ถ้าเราจะ 
แสดงการจับคู่ระยะทาง (กิโลเมตร) กับเวลา (ชัว่โมง) เราจะเขียนระยะทางกับเวลา 
ลงในวงเล็บเล็ก และคัน่ด้วยเครื่องหมายจุลภาค เช่น (200, 4) จะหมายถึง 
ระยะทาง 200 กิโลเมตร ต้องใช้เวลา 4 ชัว่โมง เป็นต้นคู่อันดับ ประกอบด้วย 
สมาชิก 2 ตัว คือ สมาชิกตัวหน้า และสมาชิกตัวหลัง หรือสมาชิกตัวที่หนึ่งและ 
สมาชิกตัวที่สอง
ตัวอย่างของคู่อันดับ [Example of ordered 
pairs] 
 (a, b) อ่านว่า คู่อันดับ เอบีa เป็นสมาชิกตัวหน้าหรือสมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่ 
อันดับ (a, b)b เป็นสมาชิกตัวหลังหรือสมาชิกตัวที่สองของคู่อันดับ (a, b)(3, 
9) อ่านว่า คู่อันดับสามเก้า3 เป็นสมาชิกตัวหน้าหรือสมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับ (3, 
9)9 เป็นสมาชิกตัวหลังหรือสมาชิกตัวที่สองของคู่อันดับ (3, 9)การเขียนคู่อันดับจะ 
สับเปลี่ยนสมาชิกไม่ได้ เพราะจะทา ให้ความหมายเปลี่ยนไป เช่น (a, b) เป็น (b, 
a) จะทาให้ (a, b) ไม่เท่ากับ (b, a) ยกเว้น a = b
บทนิยามของคู่อันดับ [Defined Terms] 
 การเท่ากันของคู่อันดับ คือ คู่อันดับ (a, b) = (c, d) ก็ 
ต่อเมื่อ a = c และ b = dเมื่อ a, b, c, d เป็นจา นวนจริงใด ๆ
หลักทวั่ไป [Principle] 
 กา หนดคู่อันดับ (a1,b1) และ (a2,b2) เป็นคู่อันดับใด ๆ คุณสมบัติของคู่อันดับคือ 
(a1,b1)=(a2,b2) ก็ต่อเมื่อ a1=a2 และ b1=b2.เซตของคู่อันดับทัง้หมดที่ 
สมาชิกตัวหน้ามาจากเซต X และสมาชิกตัวหลังมาจากเซต Y เรียกว่าผลคูณคาร์ที 
เซียนของ X และ Y หรืออาจเขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ว่า X×Y ซึ่งความสัมพันธ์ 
ทวิภาคจากเซต X ไปเซต Y ใด ๆ จะเป็นเซตย่อยของ X×Yในกรณทีี่วงเล็บได้ 
นามาใช้เพื่อจุดประสงค์อื่นแล้ว เช่นใช้แทนช่วงเปิดบนเส้นจา นวน ก็อาจใช้สัญลักษณ์ 
วงเล็บ ⟨a,b⟩ แทน (a,b) ตามปกติได้
การนิยามคู่อันดับโดยใช้ทฤษฎีเซต 
 เนื่องจากทฤษฎีเซตอาจถือได้ว่าเป็นรากฐานของคณิตศาสตร์ ดังนั้นวัตถุทาง 
คณิตศาสตร์ใด ๆ ก็จะต้องสามารถนิยามภายใต้เซตได้ รวมถึงคู่อันดับด้วย[1] โดยได้มี 
นิยามหลากหลายรูปแบบในการนิยามคู่อันดับขึ้นมาจากเซต
นิยามของ Wiener 
 Norbert Wiener ได้เสนอนิยามคู่อันดับโดยใช้ทฤษฎีเซตเป็นคนแรกในปี 
1914[2](a,b):={{{a},∅},{{b}}}.เขายังสังเกตว่าด้วยนิยามนี้สามารถนาไปใช้ 
กับการนิยามประเภทให้อยู่ในรูปของเซตได้อีกด้วยWiener ใช้ {{b}} แทนที่{b} 
เพื่อให้นิยามนี้เข้ากันได้กับทฤษฎีประเภท ซึ่งมีข้อกา หนดว่าสมาชิกทุกตัวในคลาสต้อง 
เป็น "ประเภท" เดียวกัน หรือนัน่ก็คือเพื่อทา ให้ {{b}} เป็นประเภทเดียวกันกับ 
{{a},∅}
นิยามของ Hausdorff 
 นิยามของ Hausdorff[แก้]ในเวลาใกล้เคียงกันกับการเสนอนิยามคู่อันดับของ 
Wiener ในปี 1914 Felix Hausdorff ก็ได้นาเสนอนิยามด้วยเช่นกัน 
(a,b):={{a,1},{b,2}}โดยที่ 1 และ 2 ต้องแตกต่างจาก a และ b
Example 1 จากการเท่ากันของคู่อันดับต่อไปนี้ 
จงหาค่าตัวแปร 
 1.1 (5, 9) = (a, 9) จะได้ a = 5 1.2 
 1.2 (a, 7) = (-3, 7) จะได้ a = -3 
 1.3 (a+2, -1) = (8, -1) จะได้ a = 6
Example 2 จงหาค่าของ x และ y ที่ทาให้ (2x 
+ y, 24) = (6, 3x – y) 
 วิธีทา จากความหมายการเท่ากันของคู่อันดับ จะได้ว่า 
 2x + y = 6 ……………………….. (1) 
 3x – y = 24 ……………………….. (2) 
 (1) + (2) ; 5x = 30 
 x = 6 
 แทนค่า x ใน (1) จะได้ 
 y = -6
Example 3 
 จงหาค่า x และ y ที่ทา ให้(x+ 5,y+3)=(15,9)วิธีทา จากความหมายการเท่ากัน 
ของคู่อันดับ จะได้ว่าx+5 = 15 และ y+3 = 9x = 10 y = 6 
 Answer x = 10 y = 6
Example 4 
 ถ้ากาหนดให้ (x ,y) = (3, 2×-5) จงหาค่าของ x กับ yวิธีทา จากความจริงที่ว่า 
(a ,b)=(c ,d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = dจะได้ x = 3 ………..(1)y = 
2×-5 …………(2)แก้สมการ(1) กับ (2) จะได้ x = 3 และ y = 1 
 Answer x = 3 และ y = 1
Example 5 
 จงสร้างคู่อันดับทุกคู่โดยสมาชิกตัวหน้าเป็นสมาชิกของ A และสมาชิกตัวหลังเป็น 
สมาชิกของ Bกาหนดให้ A={1,2,3} และ B={0,3} 
 Answer (1,0),(1,3),(2,0),(2,3),(3,0),(3,3)

More Related Content

What's hot

เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014Nattakarn Namsawad
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
แบบฝึกหัดการดำเนินการทางเซต
แบบฝึกหัดการดำเนินการทางเซตแบบฝึกหัดการดำเนินการทางเซต
แบบฝึกหัดการดำเนินการทางเซตkroojaja
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นMc'Napat KhunKhoei
 
ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์K'Keng Hale's
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์Aon Narinchoti
 

What's hot (20)

เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
 
Chap5 3
Chap5 3Chap5 3
Chap5 3
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
แบบฝึกหัดการดำเนินการทางเซต
แบบฝึกหัดการดำเนินการทางเซตแบบฝึกหัดการดำเนินการทางเซต
แบบฝึกหัดการดำเนินการทางเซต
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์
 
ยูเนียน
ยูเนียนยูเนียน
ยูเนียน
 
15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์
 

Viewers also liked

เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]aonuma
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
ใบงานคู่อันดับ
ใบงานคู่อันดับ ใบงานคู่อันดับ
ใบงานคู่อันดับ kanjana2536
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงทับทิม เจริญตา
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชันsawed kodnara
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนkroojaja
 

Viewers also liked (20)

คู่อันดับ
คู่อันดับคู่อันดับ
คู่อันดับ
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
 
33 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่4_ฟังก์ชันเบื้องต้น
33 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่4_ฟังก์ชันเบื้องต้น33 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่4_ฟังก์ชันเบื้องต้น
33 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่4_ฟังก์ชันเบื้องต้น
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
ความสัมพันธ์601
ความสัมพันธ์601ความสัมพันธ์601
ความสัมพันธ์601
 
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
ใบงานคู่อันดับ
ใบงานคู่อันดับ ใบงานคู่อันดับ
ใบงานคู่อันดับ
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 

Similar to คู่อันดับ Ordered pairs

การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตkroojaja
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationsetwongsrida
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์Worawalanyrc
 
คณิตศาสตร์(วิทย์)
คณิตศาสตร์(วิทย์)คณิตศาสตร์(วิทย์)
คณิตศาสตร์(วิทย์)N-nut Piacker
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์Krudodo Banjetjet
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4พัน พัน
 

Similar to คู่อันดับ Ordered pairs (20)

การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซต
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationset
 
1.pdf
1.pdf1.pdf
1.pdf
 
Relations
RelationsRelations
Relations
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์
 
คณิตศาสตร์(วิทย์)
คณิตศาสตร์(วิทย์)คณิตศาสตร์(วิทย์)
คณิตศาสตร์(วิทย์)
 
Set
SetSet
Set
 
Set
SetSet
Set
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
Function
FunctionFunction
Function
 
Set54 operation
Set54 operationSet54 operation
Set54 operation
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
 

คู่อันดับ Ordered pairs

  • 1. Designed by Mr.Chokchai Suna [Group 1]
  • 2. ความหมายของคู่อันดับ [Meaning of ordered pairs]  สัญลักษณ์ที่แสดงการจับคู่กันระหว่างสงิ่2 สงิ่เช่น ระยะทางกับเวลา ถ้าเราจะ แสดงการจับคู่ระยะทาง (กิโลเมตร) กับเวลา (ชัว่โมง) เราจะเขียนระยะทางกับเวลา ลงในวงเล็บเล็ก และคัน่ด้วยเครื่องหมายจุลภาค เช่น (200, 4) จะหมายถึง ระยะทาง 200 กิโลเมตร ต้องใช้เวลา 4 ชัว่โมง เป็นต้นคู่อันดับ ประกอบด้วย สมาชิก 2 ตัว คือ สมาชิกตัวหน้า และสมาชิกตัวหลัง หรือสมาชิกตัวที่หนึ่งและ สมาชิกตัวที่สอง
  • 3. ตัวอย่างของคู่อันดับ [Example of ordered pairs]  (a, b) อ่านว่า คู่อันดับ เอบีa เป็นสมาชิกตัวหน้าหรือสมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่ อันดับ (a, b)b เป็นสมาชิกตัวหลังหรือสมาชิกตัวที่สองของคู่อันดับ (a, b)(3, 9) อ่านว่า คู่อันดับสามเก้า3 เป็นสมาชิกตัวหน้าหรือสมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับ (3, 9)9 เป็นสมาชิกตัวหลังหรือสมาชิกตัวที่สองของคู่อันดับ (3, 9)การเขียนคู่อันดับจะ สับเปลี่ยนสมาชิกไม่ได้ เพราะจะทา ให้ความหมายเปลี่ยนไป เช่น (a, b) เป็น (b, a) จะทาให้ (a, b) ไม่เท่ากับ (b, a) ยกเว้น a = b
  • 4. บทนิยามของคู่อันดับ [Defined Terms]  การเท่ากันของคู่อันดับ คือ คู่อันดับ (a, b) = (c, d) ก็ ต่อเมื่อ a = c และ b = dเมื่อ a, b, c, d เป็นจา นวนจริงใด ๆ
  • 5. หลักทวั่ไป [Principle]  กา หนดคู่อันดับ (a1,b1) และ (a2,b2) เป็นคู่อันดับใด ๆ คุณสมบัติของคู่อันดับคือ (a1,b1)=(a2,b2) ก็ต่อเมื่อ a1=a2 และ b1=b2.เซตของคู่อันดับทัง้หมดที่ สมาชิกตัวหน้ามาจากเซต X และสมาชิกตัวหลังมาจากเซต Y เรียกว่าผลคูณคาร์ที เซียนของ X และ Y หรืออาจเขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ว่า X×Y ซึ่งความสัมพันธ์ ทวิภาคจากเซต X ไปเซต Y ใด ๆ จะเป็นเซตย่อยของ X×Yในกรณทีี่วงเล็บได้ นามาใช้เพื่อจุดประสงค์อื่นแล้ว เช่นใช้แทนช่วงเปิดบนเส้นจา นวน ก็อาจใช้สัญลักษณ์ วงเล็บ ⟨a,b⟩ แทน (a,b) ตามปกติได้
  • 6. การนิยามคู่อันดับโดยใช้ทฤษฎีเซต  เนื่องจากทฤษฎีเซตอาจถือได้ว่าเป็นรากฐานของคณิตศาสตร์ ดังนั้นวัตถุทาง คณิตศาสตร์ใด ๆ ก็จะต้องสามารถนิยามภายใต้เซตได้ รวมถึงคู่อันดับด้วย[1] โดยได้มี นิยามหลากหลายรูปแบบในการนิยามคู่อันดับขึ้นมาจากเซต
  • 7. นิยามของ Wiener  Norbert Wiener ได้เสนอนิยามคู่อันดับโดยใช้ทฤษฎีเซตเป็นคนแรกในปี 1914[2](a,b):={{{a},∅},{{b}}}.เขายังสังเกตว่าด้วยนิยามนี้สามารถนาไปใช้ กับการนิยามประเภทให้อยู่ในรูปของเซตได้อีกด้วยWiener ใช้ {{b}} แทนที่{b} เพื่อให้นิยามนี้เข้ากันได้กับทฤษฎีประเภท ซึ่งมีข้อกา หนดว่าสมาชิกทุกตัวในคลาสต้อง เป็น "ประเภท" เดียวกัน หรือนัน่ก็คือเพื่อทา ให้ {{b}} เป็นประเภทเดียวกันกับ {{a},∅}
  • 8. นิยามของ Hausdorff  นิยามของ Hausdorff[แก้]ในเวลาใกล้เคียงกันกับการเสนอนิยามคู่อันดับของ Wiener ในปี 1914 Felix Hausdorff ก็ได้นาเสนอนิยามด้วยเช่นกัน (a,b):={{a,1},{b,2}}โดยที่ 1 และ 2 ต้องแตกต่างจาก a และ b
  • 9. Example 1 จากการเท่ากันของคู่อันดับต่อไปนี้ จงหาค่าตัวแปร  1.1 (5, 9) = (a, 9) จะได้ a = 5 1.2  1.2 (a, 7) = (-3, 7) จะได้ a = -3  1.3 (a+2, -1) = (8, -1) จะได้ a = 6
  • 10. Example 2 จงหาค่าของ x และ y ที่ทาให้ (2x + y, 24) = (6, 3x – y)  วิธีทา จากความหมายการเท่ากันของคู่อันดับ จะได้ว่า  2x + y = 6 ……………………….. (1)  3x – y = 24 ……………………….. (2)  (1) + (2) ; 5x = 30  x = 6  แทนค่า x ใน (1) จะได้  y = -6
  • 11. Example 3  จงหาค่า x และ y ที่ทา ให้(x+ 5,y+3)=(15,9)วิธีทา จากความหมายการเท่ากัน ของคู่อันดับ จะได้ว่าx+5 = 15 และ y+3 = 9x = 10 y = 6  Answer x = 10 y = 6
  • 12. Example 4  ถ้ากาหนดให้ (x ,y) = (3, 2×-5) จงหาค่าของ x กับ yวิธีทา จากความจริงที่ว่า (a ,b)=(c ,d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = dจะได้ x = 3 ………..(1)y = 2×-5 …………(2)แก้สมการ(1) กับ (2) จะได้ x = 3 และ y = 1  Answer x = 3 และ y = 1
  • 13. Example 5  จงสร้างคู่อันดับทุกคู่โดยสมาชิกตัวหน้าเป็นสมาชิกของ A และสมาชิกตัวหลังเป็น สมาชิกของ Bกาหนดให้ A={1,2,3} และ B={0,3}  Answer (1,0),(1,3),(2,0),(2,3),(3,0),(3,3)