SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
สมุนไพรภาคเหนือ
North herb
หน้าหลัก
ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตโครงงาน
หลักการและทฤษฎี
อ้างอิง
ประโยชน์ของสมุนไพร
ผู้จัดทา
สมุนไพรภาคเหนือ
ที่มาและความสาคัญ
ในปัจจุบันนี้สภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่แย่ลงกว่าเดิม ทั้งเกิดมลภาวะ
ทางอากาศ ทางน้า เป็นต้น ซึ่งก่อผลเสียให้กับสุขภาพของมนุษย์ทาให้เกิดการเจ็บป่วยเพิ่มกัน
มากขึ้น และไม่ว่าจะมีสุขภาพแข็งแรงเพียงใดก็สามารถเจ็บป่วยด้วยกันได้ทั้งสิ้น คณะผู้จัดทาได้
เล็งเห็นความสาคัญของสมุนไพรพื้นบ้านที่ทุกบ้านต่างมีประดับไว้หรือง่ายต่อการซื้อหาว่ามี
สรรพคุณมากมายช่วยรักษาอาการของการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็น
การเพิ่มคุณค่าให้กับสมุนไพรพื้นบ้าน ทั้งนี้จึงจัดทาโครงงานนี้เพื่อเพิ่มแนวทางในการเลือกซื้อ
ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มที่มีผลดีช่วยทาให้ร่างกายแข็งแรงแก่ผู้ที่สนใจอีกทางหนึ่งด้วย
HOME
วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์สู่ชุมชน
2.สามารถนาไปประยุกต์ประกอบเป็นอาชีพเสริมได้
3.นาผลิตภัณฑ์ไปเป็นองค์ความรู้ เผยแพร่แก่ชุมชน
4.เพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับสมุนไพรพื้นบ้าน
HOME
ขอบเขตโครงงาน
เป็นโครงงานที่ศึกษาเฉพาะสมุนไพรไทยในภาคเหนือ
HOME
หลักการและทฤษฎี
คาว่า สมุนไพร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง
พืชที่ใช้ ทาเป็นเครื่องยา สมุนไพรกาเนิดมาจากธรรมชาติและมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์
โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ อันหมายถึงทั้งการส่งเสริมสุขภาพและการรักษาโรค
ความหมายของยาสมุนไพรในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ได้ระบุว่า ยาสมุนไพร
หมายความว่า ยาที่ได้จากพฤกษาชาติสัตว์หรือแร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสมปรุงหรือแปรสภาพ
เช่น พืชก็ยังเป็นส่วนของราก ลาต้น ใบ ดอก ผล ฯลฯ
next
HOME
ซึ่งมิได้ผ่านขั้นตอนการแปรรูปใด ๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพรมักจะถูกดัดแปลงในรูปแบบต่าง ๆ
เช่น ถูกหั่นให้เป็นชิ้นเล็กลง บดเป็นผงละเอียด หรืออัดเป็นแท่งแต่ในความรู้สึกของคนทั่วไปเมื่อ
กล่าวถึงสมุนไพร มักนึกถึงเฉพาะต้นไม้ที่นามาใช้เป็นยาเท่านั้น
back
HOME
ประโยชน์ของสมุนไพร
1. เป็นวัตถุดิบในการผลิตตัวยาสาคัญ เช่น ซิงโคนาใช้ผลิตควินิน ดูบอยเซีย
(duboisia) ใช้ผลิตอะโทรปีน (atropine) เป็นต้น
2. เป็นวัตถุดิบในการผลิตสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ยา เช่น พืชสกุลกลอย เป็น
วัตถุดิบในการผลิตไดออสเจนิน (diosgenin) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการผลิตยา
ประเภทสเตียรอยด์ (steroid) หรือน้ามันพืชเป็นวัตถุดิบในการผลิตบีตาซิโตสเตียรอล
(beta sitosterol) ซึ่งใช้ผลิตยาสเตียรอยด์ เป็นต้น
next
HOME
3. เป็นแบบอย่างในการสังเคราะห์ยา ยาส่วนใหญ่ที่ใช้ในปัจจุบันมีต้นกาเนิดจากธรรมชาติแทบทั้งสิ้น เมื่อค้นพบตัว
ยาสาคัญจากธรรมชาติแล้ว จึงมีการสังเคราะห์เลียนแบบขึ้น การศึกษาหายาใหม่ๆ จากพืชจึงยังคงดาเนินอยู่ต่อไป
4. เป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อบารุงสุขภาพ ในช่วงเวลา ๔-๕ ปีที่ผ่านมานี้ ชาวตะวันตกได้หันมานิยมใช้ผลิตภัณฑ์จาก
ธรรมชาติมากยิ่งขึ้น เนื่องจากกลัวความเป็นพิษรุนแรงจากยาสังเคราะห์ และสารตกค้างจากกระบวนการ
สังเคราะห์ นอกจากนี้ยังเนื่องมาจากความเชื่อที่ว่า ในพืชและสัตว์ มีระบบการป้องกันตัวเองที่คล้ายคลึงกัน เช่น
ระบบเอนไซม์ เป็นต้น จึงเชื่อว่าผลิตภัณฑ์จากพืชและสัตว์น่าจะปลอดภัยกับคนด้วย ตัวอย่าง เช่น โสม นมผึ้ง และ
เกสรผึ้ง เป็นต้น
back
HOME
สมุนไพรภาคเหนือ
บวบเหลี่ยม กระโดน
กระทือป่า กระเทียม
โกสน ค้อนหมาขาว
แคหางค่าง ชะพลู
HOME
บวบเหลี่ยม(Luffa acutangula Roxb)
next
HOME
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ต้น เป็นไม้เถาอรยุ 1 ปี ลาต้นเป็นเหลี่ยม ตามข้อมีมือเกาะเป็นเส้นยาว
-ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกัน แผ่นใบรูป 57 เหลี่ยม ขอบใบมีรอยเว้าตื้น ๆ โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ -
ก้านใบเป็นเหลี่ยม ยาว 49 ซม. ยอดอ่อนนุ่ม
-ดอก เป้นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นช่อ กลีบดอกสีเหลือง ดอกเพศเมียและเพศผู้อยู่บนต้นเดียวกันออก
ตามง่ามใบ
-ผล รูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 20 ซม. โคนเรียวเล็ก มีเหลี่ยมเป็นสันดาบ 10 สัน ตามความ
ยาวของผล
nextback
HOME
การขยายพันธุ์ เมล็ด
ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ ฤดูหนาว
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเจริญเติบโต ชอบขึ้นตามที่รกร้าง หรือริมห้วย คลอง และตาม
บึงทั่วไป หรือปลูกไว้ตามบ้าน
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ตลอดปี
nextback
HOME
การใช้ประโยชน์
-ทางอาหาร ผลอ่อน นามาแกงเลียง แกงกับปลาแห้ง และผัดกับไข่ หรือนามา
ต้มจิ้มน้าพริก
-ทางยา ใบ ต้มดื่มขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะเป้นเลือด แก้ระดูมาผิดปกติ ขับ
เสมหะ ถอนพิษ ไข้ ม้ามโต แก้ริดสีดวงทวาร ถอนพิษแมลงกัดต่อย แก้คัน ผล
บารุงร่าวกาย ลดไข้ แก้ร้อนใน ระยายท้อง ขับปัสสาวะ ขับเสมหะทาให้ชุ่มคอ
ราก ต้มดื่มแก้บวมน้า ระบายท้อง
back
HOME
กระโดน (Careya sphaerica Roxb)
next
HOME
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 10-30 เมตร โดยมากลาต้นมักเตี้ยแจ้ มีกิ่งก้านสาขามาก
-ใบเรียงสลับเวียนกันเป็นกระจุกที่ปลายกิ่งรูปไข่สลับ กว้าง 15 ซม. ยาว 30 ซม. ก้านใบยาว
0.3-2.5 ซม.
-ดอก ออกเป็นช่อ ยาว 7.5-20 ซม. กลีบรองกลีบดอก 4 กลีบ โคนติดกันเป้นรูประฆัง ยาว
2.5 ซม. กลีบดอก 4 กลีบ ยาว 4.5 ซม. สีขาว เกสรผู้จานวนมาก สีแดงยาว 5 ซม. เรียงเป็น
สั้น ๆ ดคนเชื่อมติดกัน ชั้นนอกสุดและชั้นในสุดปราศจากอับเรณู เกสรเมียภายในมี 4-5 ช่อง แต่
ละช่องมีไข่อ่อนจานวนมาก
-ผล กลมกว้าง 5 ซม. ยาว 6 ซม.
-เมล็ด เมล็ดจานวนมากมีเยื่อหุ้ม
nextback
HOME
การขยายพันธุ์ เมล็ด
ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ ฤดูหนาว
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเจริญเติบโต ขึ้นตามป่าเบญจพรรณชื้น ป่า
แดงและป่าทุ่ง ขึ้นตามหัวไร่ปลายนา
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ฤดูร้อน
back next
HOME
การใช้ประโยชน์
-ทางอาหาร ยอดอ่อน และดอกอ่อน มาลวกจิ้มน้าพริกปลาร้า นามา
แกงผักรวม นามาเป็นผักสดแกล้มกับลาบ
-ทางยา ใบ สมานแผล ดอก บารุงร่างกาย แก้หวัด แก้ไอ ทาให้ชุ่มคอ
บารุงร่างกายสตรี หลังคลอดบุตร เปลือกต้น สมานแผล แก้เคล็ดยอก
แก้ปวดเมื่อย
back
HOME
กระทือป่า (Zingiber zerumbet Smith)
next
HOME
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ต้น ลักษณะคล้ายต้นข่า สูงประมาณ 1-2 เมตร แตกแขนงเป็นกอ
-ใบ ใบยาวประมาณ 1-1.5 ฟุต กว้าง 10-12 ซม. หน้าใบเห็นเป็นรอย
เส้นชัดเจนมีสีเขียว ส่วนหลังใบมีสีเขียวหม่น นุ่ม ๆ มีขนอ่อนนุ่มเต็มหลัง
ใบ (ทั่ว ๆ ใบคล้ายใบของขมิ้น)
-ดอก ออกจากเหง้า - ราก ดคนต้น มีสีแดงอมเหลืองอ่อน ๆ กลิ่น
หอมแน ดอกบานจะมีกลีบดอกแตกออกเป็นช่อ ๆ สีขาวเหลือง
nextback
HOME
การขยายพันธุ์ แยกหน่อ เหง้า/ราก
ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ ฤดูฝน
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเจริญเติบโต ขึ้นตามที่เย็นชื้น
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ต้นฤดูฝน
nextback
HOME
การใช้ประโยชน์
-ทางอาหาร ดอกตูม นามาแกงผักรวม แกงใส่
หน่อไม้ ลวกจิ้มน้าพริก รับประทานเป็นผักสด
-ทางยา มีสรรพคุณ ขับลมในกระเพาะได้ดี
back
HOME
กระเทียม (Allium sativum Linn)
next
HOME
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ต้น เป็นพืชล้มลุก มีเนื้ออ่อน ต้นสูงประมาณ 30-45 ซม.
-ใบ มีสีเขียว ใบเดี่ยว แบนยาวรูปขนาน เรียวแหลม ข้างในกลวง ยาว
ประมาณ 30-60 ซม. กว้างประมาณ 1-2.5 ซม. ส่วนโค้งของใบจะ
หุ้มซ้อนกันด้านล่างมีรอยพับเป็นสันตลอดความยาว
nextback
HOME
-ดอก มีสีขาวแกมสีม่วงหรืออมชมพู ดอกออกเป็นช่อ ติดเป็นกระจุกอยู่ก้านช่อ
ดอกที่ยาวประกอบด้วยดอกหลายดอก กลีบดอกมี 6 กลีบ รูปยาวแหลม ยาว
ประมาณ 6 มม. มีกาบหุ้มเป็นจะยอยยาว ก้านดอกยาวเล็กอับเกสรหันหน้าออก
ข้างนอก
-หัว มีหัวใต้ดินประกอบด้วยหัวเล็กหลายหัวรวมกัน ยาวประมาณ 1-4 ซม.
เปลือกนอกมีสีขาวหุ้ม 2-3 ชั้น
nextback
HOME
การขยายพันธุ์ ใช้หัว
ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ ต้นฤดูหนาว
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเจริญเติบโต ชอบอากาศเย็นจะปลูก
ได้ดีในดินร่วนซุยที่อุดมสมบูรณ์ปลูกได้ดี ในภาคเหนือและภาคอีสาน
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ฤดูหนาว
nextback
HOME
การใช้ประโยชน์
-ทางอาหาร หัวใช้เป็นเครื่องเทศ เพื่อแต่งกลิ่น
-ทางยา ใบ รสร้อนฉุน ทาให้เสมหะแห้ง กระจายโลหิต แก้ลมปวดบวมในท้อง
หัว แก้ไอ แก้โรคผิวหนัง กลากเกลื้อน แก้แผลเน่าเนื้อร้าย บารุงธาตุ ขับโลหิต
ระดู แก้โรคประสาท แก้ปวดหู หูอื้อ ระบายพิษไข้ แก้ริดสีดวงงอก ขับพยาธิใน
ท้อง แก้โรคในปาก แก้หืด แก้อัมพาต แก้ลมเข้าข้อ แก้จุกแน่นเฟ้อ แก้ขัดปัสสาวะ
บารุงปอด แก้วัณโรคปอด แก้เสมหะ แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้ฟกบวม แก้สะอึก
back
HOME
โกสน (Codiaeum variegatum Bl)
next
HOME
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ต้น เป็นไม้พุ่ม สูง 1-3 เมตร ทุกส่วนเกลี้ยง
-ใบ ใบมีรูปร่างหลายแบบ ตั้งแต่รูปขอบขนานจนถึงรูปยาวแคบ โคนใบมน
หรือแหลม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น ปลายใบทู่ สีเขียวหรือลาย มีเส้น
แขนงใบประมาณ 10 คู่ ก้านใบยาว 3-5 ซม. ใบลายสีต่าง ๆ อยู่ในใบ
เดียวกัน เช่น สีเหลือง ส้ม น้าตาล เป็นต้น
nextback
HOME
-ดอก ดอกเล็ก ออกดอกเป็นช่อยาวที่ยอด และตามว่ามใบ ช่อยาว 10-20
ซม. มีดอกจานวนมาก ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน
-ผล เป็นชนิดแก่แล้วแห้ง เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 9 มม. ยาว 7 มม. มีสี
ขาว
-เมล็ด ยาวประมาณ 6 มม.
nextback
HOME
การขยายพันธุ์ ใช้การปักชาตอนกิ่ง
ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ ทุกฤดู
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเจริญเติบโต ปลูกเป็นไม้ประดับ
ทั่วไป
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ทุกฤดู
nextback
HOME
การใช้ประโยชน์
-ทางอาหาร ยอดอ่อนมาเป็นผักสดแกล้มลาบ
-ทางยา ใบ แก้โรคระบบทางเดินปัสสาวะผิดปกติ
back
HOME
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ต้น เป็นไม้พุ่ม สูงประมาณ 2-3 เมตร ลาต้นตั้งตรง หนา รูปทรงกระบอก
-ใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปดาบ กว้าง 2-3 ซม. ยาว 2050 ซม. เนื้อใบเป็น
เส้นใย ผิวใบด้านบนมีสีเขียวเข้ม เป็นมัน
nextback
HOME
-ดอก ดอกช่อ ออกที่ซอกใบด้านปลายกิ่ง ดอกย่อยจานวนมาก ห้อยลง ก้าน
ช่อดอกยาว กลีบดอกสีขาว
-ผล ผลสดมีสีเขียว เป็นรูปทรงกลม พอแก่สีเหลืองส้ม
nextback
HOME
การขยายพันธุ์ ใช้การปักชา
ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ ฤดูฝน
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเจริญเติบโต ขึ้นได้ทุกสภาพแวดล้อม
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ฤดูฝน
back next
HOME
การใช้ประโยชน์
-ทางอาหาร ยอดอ่อน ดอก ลวกต้มจิ้มน้าพริก แกงผักรวมใส่ปลาย่าง ใส่
แกงแค
-ทางยา ราก ต้มน้าดื่มแก้ไอ ยาพื้นบ้านใช้ทั้นต้นต้มน้าดื่มแก้เบาหวาน ทั้น
ต้นเหนือดิน สกัดด้วยแอลกอฮอล์ มีฤทธิ์ยับยั้งการเกร็งตัวของลาใส้ใน
สัตว์ทดลอง
back
HOME
แคหางค่าง (Fernandoa adenophylla Steeins)
next
HOME
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ต้น เป็นไม้ยืนผลัดใบ ขนาดกลาง สูง 5-10 เมตร ลาต้นขดงอ เนื้อไม้กิ่งแตก
แขนงเป็นพุ่มทึบ ตามกิ่งจะมีขนสีน้าตาล เปลือกหนา ผิวค่อนข้างเรียบสีเทา
-ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกตรงกันข้าม ใบย่อยมีหลายคู่ รูปขอบขนาน
รูปวงรีแกมขอบขนาน แกมใบหอก ถึงรูปใบหอก มีต่อมรูปหอกที่บริเวณใกล้โคน
ก้านใบ
nextback
HOME
-ดอก ดอกสีเหลืองอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อขนาดใหญ่ตามปลายกิ่ง ช่อดอก
ตั้ง แต่ละช่อยาวประมาณ 40 ซม. 1 ช่อ มี 6-8 ดอก ดอกโคนเชื่อมกันเป็น
หลอดรูปถ้วย ปลายแยกเป็นกลีบดอก 5 กลีบ ไม่เท่ากัน ด้านนอกมี ขนสี
น้าตาลแดงหนาแน่นขอบกลีบดอกเป็นคลื่น
-ผล เป็นฝักรูปทรงกระบอกยาว มีสันตามยาวของฝัก 5 เส้น
nextback
HOME
การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด
ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ สิงหาคม-ธันวาคม
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเจริญเติบโต พบตามป่าเบญจพรรณ
และป่าดิบเขา เกือบทุกภาคของประเทศ
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ กรกฎาคม-พฤศจิกายน
nextback
HOME
การใช้ประโยชน์
-ทางอาหาร ดอกและฝักอ่อนมาย่างไฟเพื่อลดความขนหรือนามาต้มให้สุก
รับประทานเป็นผักจิ้มร่วมกับ น้าพริกแดง หรือน้าพริกปลาร้า
-ทางยา เปลือกต้น ต้มน้าดื่มแก้ท้องอืดเฟ้อ เมล็ด แก้โรคชัก บารุงโลหิต ขับ
เสมหะ ใบ ตาพอกรักษาแผล ราก ต้น เปลือกผล ต้มน้าอาบ บรรเทาอาการปวด
ตามร่างกาย ปวดเมื่อย ปวดหลัง
back
HOME
ชะพลู (Piper sarmentosum Roxb)
next
HOME
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ต้น เป็นไม้ล้มลุกแบบเลื้อย ต้นสูงประมาณ 60 ซม. ลาต้นเป็นข้อ ๆ มีสีเขียว
-ใบ เป็นใบเดี่ยวขึ้นสลับ เป็นรูปหัวใจ ยาว 17 ซม. กว้าง 14 ซม. ก้านใบยาว 1-5
ซม.
nextback
HOME
-ดอก ดอกเป็นช่อรูปทรงกระบอก สีขาว และค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเขียว เป็น
ปุ่ม ๆ คล้ายดอกปลีและสั้นกว่า
-ผล เป็นผลกลุ่ม รูปทรงกระบอก
-เมล็ด มีขนาดเล็ก
nextback
HOME
การขยายพันธุ์ ปักชาลาต้นที่มีราก
ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ ฤดูฝน
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเจริญเติบโต ปลูกในบริเวณที่ชื้นแฉะ ข้างลาธาร
ในป่าดิบแล้ง
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ฤดูฝน
nextback
HOME
การใช้ประโยชน์
-ทางอาหาร ใบอ่อน ยอดอ่อน รับประทานเป็นผักสดร่วมกับน้าพริก แกงแค
ร่วมกับผักชนิดอื่น ๆ แกงปลาแห้งร่วมกับหัวปลี แกงหอยขม
-ทางยา ใบ เจริญอาหาร หับเสมหะ ทาให้เสมหะงวด ทาให้เลือดลมซ่าน ต้น แก้
เสมหะในทรวงอก ขับเสมหะ ราก แก้คูถเสมหะ ขับเสมหะให้ตกทางทวารหนัก
บารุงธาตุ ทาให้เสมหะแห้ง
ข้อควรระวัง ชะพลูมีสารออกซาเลทไม่ควรบริโภคเป็นประจา
back
HOME
อ้างอิง
• https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B
8%9E%E0%B8%A3
• http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=14&chap=10&page=t14-10-
infodetail04.html
• https://dokkaew.wordpress.com/2013/08/03/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%
E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87-
%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3/
• http://natureherbel.awardspace.com/pageN1.html
HOME
ผู้จัดทา
นายดรัณภพ ดวงเดช เลขที่ 21
นายพิทวัส วรรณภิระ เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/7
HOME
THANK YOU
FOR WATCHING
HOME

More Related Content

What's hot (19)

Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Patcharee
PatchareePatcharee
Patcharee
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Test Upload
Test UploadTest Upload
Test Upload
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบ
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
 

Viewers also liked

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ Daranpop Doungdetch
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนguest0299389a
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
Herbal plant presentation
Herbal plant presentationHerbal plant presentation
Herbal plant presentationBritish Council
 

Viewers also liked (6)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
Herbal plant presentation
Herbal plant presentationHerbal plant presentation
Herbal plant presentation
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบLatcha MaMiew
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงVaree Supa
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)Press Trade
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01toonkp_shadow
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
Pakleang Resize
Pakleang ResizePakleang Resize
Pakleang Resize
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุสำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
 

โครงงานคอมพิวเตอร์