SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
นางสาวกนกวรรณ คนฟู            รหัส 53181520101
นางสาวเกษศิรินทร์ อ่อนแก้ว    รหัส 53181520102
นางสาวณัฐพิมล กองเงิน         รหัส 53181520113
นายณัฐสิ ทธิ์ ชานาญการ        รหัส 53181520114
นางสาววิยะดา นามเมือง         รหัส 53181520142
     คณะวิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา ชั้นปี ที่2
คือ กระบวนการตัดสินใจในการยอมรับหรือปฏิเสธ
นวัตกรรม ซึ่งเป็ นกระบวนการทีเ่ กิดขึนในสมองทีบุคคล
                                              ้          ่
จะต้ องผ่ านขั้นต่ าง ๆ ตั้งแต่ แรก ทีรู้ เรื่องหรือมีความรู้ เกียวกับ
                                       ่                         ่
นวัตกรรมไปจนถึงการตัดสิ นใจทีจะยอมรับหรือปฏิเสธ
                                     ่
นวัตกรรม และในทีสุดถึงขั้นการยืนยันการตัดสิ นใจนั้น
                      ่
การแพร่ กระจายนวัตกรรมเป็ นกระบวนการในการถ่ ายเท
ความคิด การปฏิบัติ ข่ าวสาร หรือพฤติกรรมไปสู่ ทต่างๆ จากบุคคล
                                                 ี่
หรือกลุ่มบุคลไปสู่ กลุ่มบุคคลอืนโดยกว้ างขวาง จนเป็ นผลให้ เกิดการ
                               ่
ยอมรับความคิดและการปฏิบัติเหล่านั้นอันมีผลต่ อโครงสร้ างและ
วัฒนธรรมและการเปลียนแปลงทางสังคมในทีสุด
                        ่                    ่
Everette M. Rogers (1983)
ได้ ให้ ความหมายคาว่ าการแพร่ กระจาย หรือ “Diffusion” ดังนี้
“การแพร่ กระจาย คือ กระบวนการ ซึ่งนวัตกรรมถูกสื่ อสารผ่านช่องทาง
                                        ่
ในช่วงเวลาหนึ่งระหว่างสมาชิกต่างๆ ที่อยูในระบบสังคม”
( Diffusion is the process by which an innovation is communicated through
certain channels overtime among the members of a social systems )
ตามความหมายข้ างต้ น Roger ได้ อธิบายส่ วนประกอบของ
การแพร่ กระจาย นวัตกรรมไว้ 4 ประการคือ
1.นวัตกรรม (Innovation)
2.ช่องทางการสื่ อสาร (Communication Channels)
3.ช่วงระยะเวลาหนึ่ง (Time)
4.ระบบสังคม (Social system)
1. การแพร่ กระจายเป็ นการเปลียนแปลงทางสั งคม
                             ่
         Rogers ให้ความหมายของ “การเปลียนแปลงทางสังคม”
                                         ่
(social change) ว่าหมายถึง กระบวนการซึ่งมีการเปลียนแปลงปรากฏ
                                                 ่
ขึนในโครงสร้ างและหน้ าทีของระบบสั งคม เมื่อมีความคิดใหม่ ๆ ถูก
  ้                      ่
ประดิษฐ์ คดค้นขึนมา มีการแพร่ กระจายออกไปและได้ รับการยอมรับ
           ิ    ้
หรือไม่ ยอมรับ จนกระทังมีการนาไปสู่ ผลกระทบจริงๆ ต่ อสั งคม การ
                       ่
เปลียนแปลงทางสั งคมก็ได้ ปรากฏขึนแล้ว
    ่                           ้
โดยปกติแล้วกระบวนการของนวัตกรรมของสั งคมใดสั งคมหนึ่งเป็ น
กระบวนการเปลียนแปลงสังคมซึ่งประกอบด้ วยขั้นตอน 2 ประการ คือ
              ่
1. การประดิษฐ์ คดค้ น
                ิ
         หมายถึง ตัวนวัตกรรมที่เกิดจากการพัฒนาขึ้นเองหรื อนาเข้า
มาจากตางประเทศ สาหรับประเทศกาลังพัฒนามักมีขอจากัดทางด้าน
                                                   ้
ทุนและเทคโนโลยีภายในประเทศ ทาให้การประดิษฐ์คิดค้นมีลกษณะ  ั
เป็ นวิชาการประยุกต์ (applied) มากกว่าเป็ นองค์ความรู ้
(body of knowledge) และจะต้องมีการปรับนวัตกรรมนั้นให้สอดคล้อง
กับสภาพสังคมให้มากที่สุด
2. ผลของการรับนวัตกรรม
                                                    ่ ั
       การแพร่ นวัตกรรมนั้นจะสาเร็ จหรื อไม่ข้ ึนอยูกบชาวบ้านว่าจะ
ยอมรับนวัตกรรมนั้นหรื อไม่ ดังนั้นผลของนวัตกรรมจะควบคู่กบการั
ประเมินเสมอ และผลกระทบที่เกิดจากนวัตกรรมนั้นมีมากน้อยเพียงใด
2. การแพร่ กระจายเป็ นลักษณะเฉพาะของการสื่ อสารแบบหนึ่ง
           การแพร่ กระจายนั้นมีลกษณะพิเศษในประเด็นที่ข่าวสาร (messages)
                                 ั
มีความเกี่ยวข้องกับความคิดใหม่ ๆ เนื่องจากการสื่ อสารเป็ นกระบวนการที่ผมี  ู้
ส่ วนร่ วมเป็ นผูสร้างข้อมูลและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับบุคคลอื่น ๆ เพื่อให้เกิด
                 ้
ความเข้าใจร่ วมกันขึ้น
3. ความใหม่ ของนวัตกรรมคือระดับของความไม่ แน่ ใจ (uncertainty)
              ในการติดต่อสื่ อสารนวัตกรรมที่เป็ นความคิดใหม่ ๆ นั้น ความใหม่
ของความคิดในเนื้อหาของข่าวสารจะมีลกษณะเฉพาะคือ ความใหม่ หมายถึง
                                         ั
ระดับของความไม่แน่ใจ (uncertainty) ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมนั้น ความไม่
แน่ใจจะมีระดับของตัวเลือกที่สามารถรับรู ้ในเหตุการณ์น้ น ๆ ซึ่ งมีความเป็ นไป
                                                          ั
                  ั
ได้ที่สัมพันธ์กบตัวเลือกนั้น ข่าวสาร (information) เป็ นความแตกต่างใน
พลังงานสาร (matter-energy) ซึ่ งกระทบต่อความไม่แน่ใจในสถานการณ์หนึ่ ง
                             ่
ที่ซ่ ึ งมีตวเลือกปรากฏอยูหลายตัวเลือก
            ั
ในการแพร่ กระจายนวัตกรรมไปสู่สังคมนั้น นวัตกรรม
จะถูกนาไปใช้หรื อยอมรับโดยบุคคล Rogers (1971 หน้า 100)
ได้สรุ ปทฤษฎีและรายงานการวิจยเกี่ยวกับขั้นตอนการยอมรับ
                             ั
นวัตกรรม 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ
1. ขั้นตื่นตัวหรือรับทราบ (awareness)
                                      ่
          เป็ นขั้นแรกที่บุคคลรับรู ้วามีความคิดใหม่ สิ่ งใหม่หรื อวิธีปฏิบติใหม่ๆ
                                                                           ั
เกิดขึ้นแล้วนวัตกรรมมีอยูจริ ง แต่ยงไม่มีขอมูลรายละเอียดของสิ่ งนั้นอยู่
                            ่           ั    ้

2. ขั้นสนใจ (interest)
           เป็ นขั้นที่บุคคลจะรู ้สึกสนใจในนวัตกรรมนั้นทันทีที่เขาเห็นว่าตรงกับ
ปั ญหาที่เขาประสบอยู่ หรื อตรงกับความสนใจ และจะเริ่ มหาข้อเท็จจริ งและ
ข่าวสารมากขึ้น โดยอาจสอบถามจากเพื่อนซึ่ งได้เคยทดลองทามาแล้ว หรื อ
เสาะหาความรู ้จากผูที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมนั้นเพื่อสนองตอบความอยากรู ้ของ
                        ้
ตนเอง
3. ขั้นประเมินผล (evaluation)
          ในขั้นตอนนี้บุคคลจะพิจารณาว่า นวัตกรรมนั้นจะมีความเหมาะสม
กับเขาหรื อไม่ จะให้ผลคุมค่าเพียงใด หลังจากที่ได้ศึกษานวัตกรรมนั้นมา
                         ้
ระยะหนึ่ งแล้ว นวัตกรรมนั้นมีความยากและข้อจากัดสาหรับเขาเพียงใด
และจะปรับให้เข้ากับสถานการณ์ได้อย่างไร แล้วจึงตัดสิ นใจว่าจะทดลองใช้
ความคิดใหม่ๆ นั้นหรื อไม่

4. ขั้นทดลอง (trail)
                                  ่
          เป็ นขั้นตอนที่บุคคลได้ผานการไตร่ ตรองมาแล้วและตัดสิ นใจที่จะ
ทดลองปฏิบติตามความคิดใหม่ๆ ซึ่ งอาจทดลองเพียงบางส่ วนหรื อทั้งหมด
              ั
การทดลองปฏิบติน้ ี เป็ นเพียงการยอมรับนวัตกรรมชัวคราว เพื่อดูผลว่าควรจะ
                   ั                             ่
ตัดสิ นใจยอมรับโดยถาวรหรื อไม่
5. ขั้นยอมรับปฏิบัติ (adoption)
               ถ้าการทดลองของบุคคลได้ผลเป็ นที่น่าพอใจ ก็จะยอมรับความคิด
ใหม่ๆ อย่างเต็มที่และขยายการปฏิบติออกไปเรื่ อย ๆ อย่างต่อเนื่อง
                                       ั
จนกระทังนวัตกรรมนั้นกลายเป็ นวิธีการที่เขายึดถือปฏิบติโดยถาวรต่อไป
             ่                                         ั
ซึ่ งถือเป็ นขั้นสุ ดท้ายของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวร
อย่ างไรก็ตามกระบวนการยอมรับทั้ง 5 ขั้นนี้ Rogers และ Shoemaker
ชี้ให้ เห็นว่ า ยังมีข้อบกพร่ องอยู่ในบางประการ คือ

 กระบวนการยอมรับ เป็ นกระบวนการที่อธิบายเฉพาะในด้านบวก (Positive)
เท่านั้น ซึ่ งความจริ งแล้วในขั้นสุ ดท้ายของกระบวนการ บุคคลนั้นอาจจะไม่
ยอมรับก็ได้ หากได้ทดลองปฏิบติแล้วไม่ได้ผลหรื อไม่ได้ผลคุมค่ากับการลงทุน
                                    ั                      ้

 กระบวนการยอมรับทั้ง 5 ขั้นนี้ ในความเป็ นจริ งแล้วอาจเกิดไม่ครบทุก
ขั้นตอนหรื อบางขั้นตอนอาจเกิดขึ้นทุกระยะ เช่น ขั้นทดลองอาจจะไม่เกิดขึ้นเลย
หรื อขั้นประเมินผลอาจเกิดขึ้นได้ทุกระยะก็ได้
 ผลการวิจยแสดงให้เห็นว่า การยอมรับปฏิบติท้ ง 5 ขั้นนี้ ยังไม่ใช่การ
              ั                              ั ั
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ถาวรทีเดียว แต่เขาจะหาสิ่ งอื่น ๆ หรื อบุคคลยืนยัน
ความคิดของเขา และถ้าหากว่าไม่ได้รับการยืนยันว่าสิ่ งที่เขารับปฏิบติตาม
                                                                 ั
แนวคิดใหม่น้ ีถูกต้อง เขาก็อาจจะเลิกล้มไม่ยอมรับความคิดนั้นก็ได้
Rogers และ Shoemaker จึงได้ เสนอเครงสร้ างใหม่ เรียกว่ า
กระบวนการตัดสิ นใจนวัตกรรม (Innovation decision process)
ซึ่งประกอบไปด้ วย 4 ขั้นตอน คือ

1. ขั้นความรู้ (knowledge)
          เป็ นขั้นตอนที่รับทราบว่ามีนวัตกรรมเกิดขึ้น และหาข่าวสารจนเข้าใจ
ในนวัตกรรมนั้น ๆ

2. ขั้นชักชวน (persuasion)
           เป็ นขั้นตอนที่บุคคลมีทศนคติต่อสิ่ งใหม่ ๆ ในทางที่เห็นด้วยหรื อ
                                  ั
ไม่เห็นด้วยต่อ "นวัตกรรม" นั้น ๆ
3. ขั้นตัดสิ นใจ (decision)
           เป็ นขั้นที่บุคคลสนใจเข้าร่ วมกิจกรรมที่นาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมแล้ว และตัดสิ นใจว่าจะรับนวัตกรรมนั้นหรื อไม่
แต่การตัดสิ นใจนั้นยังไม่ถาวรอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ภายหลัง

4. ขั้นยืนยัน (confirmation)
           เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของกระบวนการ ซึ่ งเป็ นการหาข้อมูลมา
สนับสนุนการตัดสิ นใจของเขา อาจมีระยะเวลายาวนาน จนกระทังยอมรับ  ่
แนวความคิดใหม่ๆ ไปปฏิบติเป็ นการถาวรจริ งๆ
                              ั
การยอมรับนวัตกรรมของบุคคลในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง ๆ นั้น อาจ
มีความแตกต่างกันทั้งทางด้านความรวดเร็ วของการยอมรับนวัตกรรมว่าจะ
ยอมรับช้าหรื อเร็ วกว่ากัน และยังแตกต่างกันเกี่ยวกับจานวนของผูรับ
                                                              ้
นวัตกรรมนั้นว่ามีมากหรื อน้อย อีกทั้งการคงทนหรื อความถาวรในการ
                                                                   ่ ั
ยอมรับนั้นด้วย ผลของการยอมรับที่จะเกิดขึ้นในลักษณะต่างๆ นี้ข้ ึนอยูกบ
ปั จจัยต่างๆ หลายประการ คือ
 ปัจจัยเกียวกับลักษณะของนวัตกรรม
           ่
         เนื่องจากนวัตกรรมเป็ นสิ่ งใหม่ที่กาเนิ ดมาจากงานวิจัย
(Research) และการพัฒนา (Development) รวมทั้งมาจากประสบการณ์
ของผูใช้นวัตกรรมนันเอง ดังนั้นนวัตกรรมแต่ละอย่างจึงมีลกษณะ
       ้            ่                                     ั
เฉพาะตัวซึ่ งสามารถนามาใช้แก้ไขปั ญหาหรื อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการ
ปฏิบติงาน ได้ตามสถานการณ์และความต้องการของผูใช้นวัตกรรมนั้นๆ
     ั                                                  ้
         ดังนั้น ลักษณะของนวัตกรรมนันเองจึงเป็ นปั จจัยหนึ่งที่มีผลต่อ
                                         ่
การโน้มน้าวใจ (persuasion) ให้เกิดการยอมรับ โดยนาไปใช้เป็ นข้อมูลใน
                                                      ่
การประเมินนวัตกรรมของผูรับสาร และตัดสิ นใจได้วาจะดาเนินการ
                          ้
อย่างไรต่อไป
คุณลักษณะของนวัตกรรมทีมอทธิพลต่ อการยอมรับ
                      ่ ีิ
1. ผลประโยชน์ ทได้ รับจากนวัตกรรม (Relation advantage)
                  ี่
        คือ ระดับของการรับรู้ หรื อความเชื่อว่านวัตกรรมนั้นมีคุณสมบัติที่ดีกว่า
ความคิดหรื อสิ่ งที่มีอยูเ่ ดิม ซึ่ งถูกแทนที่ดวยสิ่ งใหม่ ถ้าหากนวัตกรรมนั้นมีขอดี
                                               ้                                ้
และให้ประโยชน์ต่อผูในนวัตกรรมนั้นมากเท่าใด ก็มีโอกาสจะมีผยอมรับมากขึ้น
                          ้                                            ู้

2. การเข้ ากันได้ ดกบสิ่ งทีมอยู่เดิม (Compatibility)
                   ีั       ่ ี
           คือ ระดับของนวัตกรรมซึ่ งมีความสอดคล้องกับคุณค่า ประสบการณ์และ
                      ่
ความต้องการที่มีอยูแล้วในตัวผูรับนวัตกรรมนั้น ๆ ถ้าหากนวัตกรรมนั้นสามารถ
                                   ้
เข้ากันได้ดีกบสิ่ งต่างๆ ที่กล่าวมาก็มีโอกาสได้รับการยอมรับได้ง่ายขึ้น
              ั
3. ความซับซ้ อน (Complexity)
        คือ ระดับของความเชื่อว่านวัตกรรมนั้นมีความยากต่อการเข้าใจและ
การนาไปใช้ ซึ่ งนวัตกรรมที่มีความซับซ้อนน้อยกว่ามีโอกาสที่จะได้รับการ
ยอมรับมากกว่า

4.การทดลองได้ (Trailability)
           คือ ระดับของนวัตกรรมที่สามารถมองเห็นผลจากการทดลองปฏิบติ       ั
เพื่อให้เห็นผลได้จริ ง ก็จะได้รับการยอมรับอย่างรวดเร็ ว ส่ วนนวัตกรรมที่ไม่
สามารถทดลองได้ก่อนมีโอกาสที่จะไดรับการยอมรับน้อยกว่า
5. การสั งเกตได้ (Observability)
           คือ ระดับของนวัตกรรมที่สามารถมองเห็นกระบวนการในการ
ปฏิบติได้อย่างเป็ นรู ปธรรม สามารถสัมผัสและแตะต้องได้จริ ง ๆ
       ั
เช่น การเสนอขายสิ นค้าที่เป็ นแบบขายตรง (direct sale) ที่ได้รับผลสาเร็ จ
           ่
สู งถึงแม้วาราคาจะค่อนข้างแพงก็เนื่องมาจากคุณสมบัติของนวัตกรรมใน
                                                     ่
ข้อนี้ คือ สามารถนามาให้ลูกค้าชมและสาธิ ตให้ดูวาสิ นค้าชิ้นนี้มีขอดี    ้
อย่างไร เป็ นขั้น ๆ เมื่อดูแล้วลูกค้ามีความเห็นว่าดีจริ งจึงจะซื้ อสิ นค้านั้น
 ปัจจัยเกียวกับผู้รับนวัตกรรม
           ่
            การที่บุคคลจะยอมรับนวัตกรรมหรื อไม่ ปั จจัยหนึ่งก็คือตัวของ
  ้                                ่
ผูรับนวัตกรรมนั้นเอง เพราะถึงแม้วานวัตกรรมและเทคโนโลยีจะมีลกษณะ      ั
ที่ดีและเหมาะสมเพียงใด แต่ผรับนวัตกรรมนั้นไม่มีความพร้อมที่จะยอมรับ
                              ู้
และปฏิบตินวัตกรรมนั้นก็ไร้ความหมาย
          ั
ปัจจัยเกียวกับผู้รับนวัตกรรม
         ่
1. สถานภาพทางเศรษฐกิจสั งคม (socioeconomic)
                                ็
          ผลการวิจยส่ วนใหญ่กมีแนวโน้มแสดงว่าสถานภาพทางเศรษฐกิจ
                  ั
ได้แก่ เพศ การศึกษา รายได้ ฐานะทางเศรษฐกิจ อาชีพ ตลอดจนการมีตาแหน่ง
เป็ นผูนาในสังคมล้วนเป็ นปั จจัยที่มีผลต่อการยอมรับ
       ้
2. คุณลักษณะของบุคลิกภาพ (personality)
                                                              ่
         เป็ นส่ วนที่ทาให้เกิดบุคลิกภาพ เช่น อาจจะเป็ นคนที่ออนโยน แข็ง
กระด้าง การยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น การต่อต้านสังคม เป็ นต้น ลักษณะ
                                       ้
ทางบุคลิกภาพย่อมเป็ นส่ วนที่เกื้อหนุนหรื อต่อต้านการยอมรับ
นวัตกรรมก็เป็ นได้
 ปัจจัยทางด้ านระบบสั งคม (social system)
          ระบบสั งคม คือหน่วยที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา
ร่ วมกัน เพื่อให้เกิดความสาเร็ จตามจุดมุ่งหมาย เมื่อพูดถึงระบบสังคมเรา
                                           ่
ศึกษาไปถึงคุณสมบัติเฉพาะของบุคคลที่อยูในระบบนั้น ดังนั้นระบบสังคม
จะประกอบไปด้วยความสัมพันธ์ที่เกิดระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคลหรื อองค์กร
ซึ่ งประกอบกันเป็ นโครงสร้างของสังคม
 ปัจจัยทางด้ านการติดต่ อสื่ อสาร
           การติดต่อสื่ อสารเป็ นส่ วนประกอบสาคัญของกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม และกระบวนการแพร่ กระจายนวัตกรรมเป็ นการ
ติดต่อสื่ อสารประเภทหนึ่ ง กระบวนการนี้เกี่ยวข้องกับข่าวสารที่เป็ น
แนวความคิดใหม่ ๆ ข่าวสารเหล่านี้จึงมีความแตกต่างจากข่าวสารทัว ๆ ไป ่
ในชีวิตประจาวันและเกี่ยวข้องกับระดับความเสี่ ยงของผูรับอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
                                                       ้
           ดังนั้นงานวิจยด้านการติดต่อสื่ อสารในฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่ งที่สาคัญ
                         ั
ในการแพร่ กระจายนวัตกรรมจึงอาจศึกษาถึงส่ วนประกอบในกระบวนการ
ติดต่อสื่ อสาร ได้แก่ แหล่งของข่าวสาร ข่าวสาร ช่องทางและผูรับสาร้
ผลของการศึกษาจะเป็ นประโยชน์ต่อการนาไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนงาน
ในการส่ งเสริ มเผยแพร่ นวัตกรรมได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพต่อไป
ก. ขั้นประเมินผล (evaluation)
ข. ขั้นตื่นตัวหรือรับทราบ (awareness)
ค. ขั้นยอมรับปฏิบัติ (adoption)
จ. ขั้นสนใจ (interest)
ง. ขั้นทดลอง (trail)
ก. ขั้นประเมินผล (evaluation)
ข. ขั้นตื่นตัวหรือรับทราบ (awareness)
ค. ขั้นยอมรับปฏิบัติ (adoption)
จ. ขั้นสนใจ (interest)
ง. ขั้นทดลอง (trail)
ขั้นตอนการยอมรับนวัตกรรม (Adoption Process)

    ข. ขั้นตื่นตัวหรือรับทราบ (awareness)
    จ. ขั้นสนใจ (interest)
    ก. ขั้นประเมินผล (evaluation)
    ง. ขั้นทดลอง (trail)
    ค. ขั้นยอมรับปฏิบัติ (adoption)
1. ลักษณะของนวัตกรรม
2. ผู้รับนวัตกรรม
3. ด้ านระบบสั งคม
4. ด้ านการติดต่ อสื่ อสาร
3. คุณลักษณะของนวัตกรรมทีมอทธิพลต่ อการยอมรับมีอะไรบ้ าง
                         ่ ีิ


       1. ผลประโยชน์ ที่ได้ รับจากนวัตกรรม
       2. การเข้ ากันได้ ดีกบสิ่งทีมีอยู่เดิม
                            ั      ่
       3. ความซับซ้ อน
       4. การทดลอง
       5. การสั งเกต
- C:output___ Teaching and Learning Articles __.htm
- Copyright(C) 2000-2006 by Prachyanun Nilsook : comments to :
email prachyanun@hotmail.com
- Last update : ปรับปรุ งครั้งล่าสุ ด เว็บมาสเตอร์ ปรัชญนันท์ นิลสุ ข
- Rogers, E.M. Diffusion of Innovations. New York : The Free Press, 1986.
- http://www.prachyanun.com
การยอมรับนวัตกรรม

More Related Content

What's hot

โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพกก กอล์ฟ
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434krupornpana55
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)อัจฉรา นาคอ้าย
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5ChutimaKerdpom
 

What's hot (20)

โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
 
Ast.c2560.5tp
Ast.c2560.5tpAst.c2560.5tp
Ast.c2560.5tp
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5
 

Viewers also liked

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (9)

Innotonburi1
Innotonburi1Innotonburi1
Innotonburi1
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
 

Similar to การยอมรับนวัตกรรม

Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00JeenNe915
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00JeenNe915
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับเรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับsupatra39
 
Diffusion of-innovation
Diffusion of-innovationDiffusion of-innovation
Diffusion of-innovationJA Jaruwan
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 

Similar to การยอมรับนวัตกรรม (20)

Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ00
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับเรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ
เรื่องที่ 8 การดำเนินกิจกรรมวิธีเกี่ยวกับ
 
Diffusion of-innovation
Diffusion of-innovationDiffusion of-innovation
Diffusion of-innovation
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Ci13501chap3
Ci13501chap3Ci13501chap3
Ci13501chap3
 
Innovator’s way
Innovator’s wayInnovator’s way
Innovator’s way
 
Ch1 innovation
Ch1 innovationCh1 innovation
Ch1 innovation
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 

การยอมรับนวัตกรรม

  • 1.
  • 2. นางสาวกนกวรรณ คนฟู รหัส 53181520101 นางสาวเกษศิรินทร์ อ่อนแก้ว รหัส 53181520102 นางสาวณัฐพิมล กองเงิน รหัส 53181520113 นายณัฐสิ ทธิ์ ชานาญการ รหัส 53181520114 นางสาววิยะดา นามเมือง รหัส 53181520142 คณะวิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา ชั้นปี ที่2
  • 3.
  • 4. คือ กระบวนการตัดสินใจในการยอมรับหรือปฏิเสธ นวัตกรรม ซึ่งเป็ นกระบวนการทีเ่ กิดขึนในสมองทีบุคคล ้ ่ จะต้ องผ่ านขั้นต่ าง ๆ ตั้งแต่ แรก ทีรู้ เรื่องหรือมีความรู้ เกียวกับ ่ ่ นวัตกรรมไปจนถึงการตัดสิ นใจทีจะยอมรับหรือปฏิเสธ ่ นวัตกรรม และในทีสุดถึงขั้นการยืนยันการตัดสิ นใจนั้น ่
  • 5. การแพร่ กระจายนวัตกรรมเป็ นกระบวนการในการถ่ ายเท ความคิด การปฏิบัติ ข่ าวสาร หรือพฤติกรรมไปสู่ ทต่างๆ จากบุคคล ี่ หรือกลุ่มบุคลไปสู่ กลุ่มบุคคลอืนโดยกว้ างขวาง จนเป็ นผลให้ เกิดการ ่ ยอมรับความคิดและการปฏิบัติเหล่านั้นอันมีผลต่ อโครงสร้ างและ วัฒนธรรมและการเปลียนแปลงทางสังคมในทีสุด ่ ่
  • 6. Everette M. Rogers (1983) ได้ ให้ ความหมายคาว่ าการแพร่ กระจาย หรือ “Diffusion” ดังนี้ “การแพร่ กระจาย คือ กระบวนการ ซึ่งนวัตกรรมถูกสื่ อสารผ่านช่องทาง ่ ในช่วงเวลาหนึ่งระหว่างสมาชิกต่างๆ ที่อยูในระบบสังคม” ( Diffusion is the process by which an innovation is communicated through certain channels overtime among the members of a social systems )
  • 7. ตามความหมายข้ างต้ น Roger ได้ อธิบายส่ วนประกอบของ การแพร่ กระจาย นวัตกรรมไว้ 4 ประการคือ 1.นวัตกรรม (Innovation) 2.ช่องทางการสื่ อสาร (Communication Channels) 3.ช่วงระยะเวลาหนึ่ง (Time) 4.ระบบสังคม (Social system)
  • 8. 1. การแพร่ กระจายเป็ นการเปลียนแปลงทางสั งคม ่ Rogers ให้ความหมายของ “การเปลียนแปลงทางสังคม” ่ (social change) ว่าหมายถึง กระบวนการซึ่งมีการเปลียนแปลงปรากฏ ่ ขึนในโครงสร้ างและหน้ าทีของระบบสั งคม เมื่อมีความคิดใหม่ ๆ ถูก ้ ่ ประดิษฐ์ คดค้นขึนมา มีการแพร่ กระจายออกไปและได้ รับการยอมรับ ิ ้ หรือไม่ ยอมรับ จนกระทังมีการนาไปสู่ ผลกระทบจริงๆ ต่ อสั งคม การ ่ เปลียนแปลงทางสั งคมก็ได้ ปรากฏขึนแล้ว ่ ้
  • 9. โดยปกติแล้วกระบวนการของนวัตกรรมของสั งคมใดสั งคมหนึ่งเป็ น กระบวนการเปลียนแปลงสังคมซึ่งประกอบด้ วยขั้นตอน 2 ประการ คือ ่ 1. การประดิษฐ์ คดค้ น ิ หมายถึง ตัวนวัตกรรมที่เกิดจากการพัฒนาขึ้นเองหรื อนาเข้า มาจากตางประเทศ สาหรับประเทศกาลังพัฒนามักมีขอจากัดทางด้าน ้ ทุนและเทคโนโลยีภายในประเทศ ทาให้การประดิษฐ์คิดค้นมีลกษณะ ั เป็ นวิชาการประยุกต์ (applied) มากกว่าเป็ นองค์ความรู ้ (body of knowledge) และจะต้องมีการปรับนวัตกรรมนั้นให้สอดคล้อง กับสภาพสังคมให้มากที่สุด
  • 10. 2. ผลของการรับนวัตกรรม ่ ั การแพร่ นวัตกรรมนั้นจะสาเร็ จหรื อไม่ข้ ึนอยูกบชาวบ้านว่าจะ ยอมรับนวัตกรรมนั้นหรื อไม่ ดังนั้นผลของนวัตกรรมจะควบคู่กบการั ประเมินเสมอ และผลกระทบที่เกิดจากนวัตกรรมนั้นมีมากน้อยเพียงใด
  • 11. 2. การแพร่ กระจายเป็ นลักษณะเฉพาะของการสื่ อสารแบบหนึ่ง การแพร่ กระจายนั้นมีลกษณะพิเศษในประเด็นที่ข่าวสาร (messages) ั มีความเกี่ยวข้องกับความคิดใหม่ ๆ เนื่องจากการสื่ อสารเป็ นกระบวนการที่ผมี ู้ ส่ วนร่ วมเป็ นผูสร้างข้อมูลและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับบุคคลอื่น ๆ เพื่อให้เกิด ้ ความเข้าใจร่ วมกันขึ้น
  • 12. 3. ความใหม่ ของนวัตกรรมคือระดับของความไม่ แน่ ใจ (uncertainty) ในการติดต่อสื่ อสารนวัตกรรมที่เป็ นความคิดใหม่ ๆ นั้น ความใหม่ ของความคิดในเนื้อหาของข่าวสารจะมีลกษณะเฉพาะคือ ความใหม่ หมายถึง ั ระดับของความไม่แน่ใจ (uncertainty) ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมนั้น ความไม่ แน่ใจจะมีระดับของตัวเลือกที่สามารถรับรู ้ในเหตุการณ์น้ น ๆ ซึ่ งมีความเป็ นไป ั ั ได้ที่สัมพันธ์กบตัวเลือกนั้น ข่าวสาร (information) เป็ นความแตกต่างใน พลังงานสาร (matter-energy) ซึ่ งกระทบต่อความไม่แน่ใจในสถานการณ์หนึ่ ง ่ ที่ซ่ ึ งมีตวเลือกปรากฏอยูหลายตัวเลือก ั
  • 13. ในการแพร่ กระจายนวัตกรรมไปสู่สังคมนั้น นวัตกรรม จะถูกนาไปใช้หรื อยอมรับโดยบุคคล Rogers (1971 หน้า 100) ได้สรุ ปทฤษฎีและรายงานการวิจยเกี่ยวกับขั้นตอนการยอมรับ ั นวัตกรรม 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ
  • 14. 1. ขั้นตื่นตัวหรือรับทราบ (awareness) ่ เป็ นขั้นแรกที่บุคคลรับรู ้วามีความคิดใหม่ สิ่ งใหม่หรื อวิธีปฏิบติใหม่ๆ ั เกิดขึ้นแล้วนวัตกรรมมีอยูจริ ง แต่ยงไม่มีขอมูลรายละเอียดของสิ่ งนั้นอยู่ ่ ั ้ 2. ขั้นสนใจ (interest) เป็ นขั้นที่บุคคลจะรู ้สึกสนใจในนวัตกรรมนั้นทันทีที่เขาเห็นว่าตรงกับ ปั ญหาที่เขาประสบอยู่ หรื อตรงกับความสนใจ และจะเริ่ มหาข้อเท็จจริ งและ ข่าวสารมากขึ้น โดยอาจสอบถามจากเพื่อนซึ่ งได้เคยทดลองทามาแล้ว หรื อ เสาะหาความรู ้จากผูที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมนั้นเพื่อสนองตอบความอยากรู ้ของ ้ ตนเอง
  • 15. 3. ขั้นประเมินผล (evaluation) ในขั้นตอนนี้บุคคลจะพิจารณาว่า นวัตกรรมนั้นจะมีความเหมาะสม กับเขาหรื อไม่ จะให้ผลคุมค่าเพียงใด หลังจากที่ได้ศึกษานวัตกรรมนั้นมา ้ ระยะหนึ่ งแล้ว นวัตกรรมนั้นมีความยากและข้อจากัดสาหรับเขาเพียงใด และจะปรับให้เข้ากับสถานการณ์ได้อย่างไร แล้วจึงตัดสิ นใจว่าจะทดลองใช้ ความคิดใหม่ๆ นั้นหรื อไม่ 4. ขั้นทดลอง (trail) ่ เป็ นขั้นตอนที่บุคคลได้ผานการไตร่ ตรองมาแล้วและตัดสิ นใจที่จะ ทดลองปฏิบติตามความคิดใหม่ๆ ซึ่ งอาจทดลองเพียงบางส่ วนหรื อทั้งหมด ั การทดลองปฏิบติน้ ี เป็ นเพียงการยอมรับนวัตกรรมชัวคราว เพื่อดูผลว่าควรจะ ั ่ ตัดสิ นใจยอมรับโดยถาวรหรื อไม่
  • 16. 5. ขั้นยอมรับปฏิบัติ (adoption) ถ้าการทดลองของบุคคลได้ผลเป็ นที่น่าพอใจ ก็จะยอมรับความคิด ใหม่ๆ อย่างเต็มที่และขยายการปฏิบติออกไปเรื่ อย ๆ อย่างต่อเนื่อง ั จนกระทังนวัตกรรมนั้นกลายเป็ นวิธีการที่เขายึดถือปฏิบติโดยถาวรต่อไป ่ ั ซึ่ งถือเป็ นขั้นสุ ดท้ายของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวร
  • 17. อย่ างไรก็ตามกระบวนการยอมรับทั้ง 5 ขั้นนี้ Rogers และ Shoemaker ชี้ให้ เห็นว่ า ยังมีข้อบกพร่ องอยู่ในบางประการ คือ  กระบวนการยอมรับ เป็ นกระบวนการที่อธิบายเฉพาะในด้านบวก (Positive) เท่านั้น ซึ่ งความจริ งแล้วในขั้นสุ ดท้ายของกระบวนการ บุคคลนั้นอาจจะไม่ ยอมรับก็ได้ หากได้ทดลองปฏิบติแล้วไม่ได้ผลหรื อไม่ได้ผลคุมค่ากับการลงทุน ั ้  กระบวนการยอมรับทั้ง 5 ขั้นนี้ ในความเป็ นจริ งแล้วอาจเกิดไม่ครบทุก ขั้นตอนหรื อบางขั้นตอนอาจเกิดขึ้นทุกระยะ เช่น ขั้นทดลองอาจจะไม่เกิดขึ้นเลย หรื อขั้นประเมินผลอาจเกิดขึ้นได้ทุกระยะก็ได้
  • 18.  ผลการวิจยแสดงให้เห็นว่า การยอมรับปฏิบติท้ ง 5 ขั้นนี้ ยังไม่ใช่การ ั ั ั เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ถาวรทีเดียว แต่เขาจะหาสิ่ งอื่น ๆ หรื อบุคคลยืนยัน ความคิดของเขา และถ้าหากว่าไม่ได้รับการยืนยันว่าสิ่ งที่เขารับปฏิบติตาม ั แนวคิดใหม่น้ ีถูกต้อง เขาก็อาจจะเลิกล้มไม่ยอมรับความคิดนั้นก็ได้
  • 19. Rogers และ Shoemaker จึงได้ เสนอเครงสร้ างใหม่ เรียกว่ า กระบวนการตัดสิ นใจนวัตกรรม (Innovation decision process) ซึ่งประกอบไปด้ วย 4 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นความรู้ (knowledge) เป็ นขั้นตอนที่รับทราบว่ามีนวัตกรรมเกิดขึ้น และหาข่าวสารจนเข้าใจ ในนวัตกรรมนั้น ๆ 2. ขั้นชักชวน (persuasion) เป็ นขั้นตอนที่บุคคลมีทศนคติต่อสิ่ งใหม่ ๆ ในทางที่เห็นด้วยหรื อ ั ไม่เห็นด้วยต่อ "นวัตกรรม" นั้น ๆ
  • 20. 3. ขั้นตัดสิ นใจ (decision) เป็ นขั้นที่บุคคลสนใจเข้าร่ วมกิจกรรมที่นาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมแล้ว และตัดสิ นใจว่าจะรับนวัตกรรมนั้นหรื อไม่ แต่การตัดสิ นใจนั้นยังไม่ถาวรอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ภายหลัง 4. ขั้นยืนยัน (confirmation) เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของกระบวนการ ซึ่ งเป็ นการหาข้อมูลมา สนับสนุนการตัดสิ นใจของเขา อาจมีระยะเวลายาวนาน จนกระทังยอมรับ ่ แนวความคิดใหม่ๆ ไปปฏิบติเป็ นการถาวรจริ งๆ ั
  • 21. การยอมรับนวัตกรรมของบุคคลในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง ๆ นั้น อาจ มีความแตกต่างกันทั้งทางด้านความรวดเร็ วของการยอมรับนวัตกรรมว่าจะ ยอมรับช้าหรื อเร็ วกว่ากัน และยังแตกต่างกันเกี่ยวกับจานวนของผูรับ ้ นวัตกรรมนั้นว่ามีมากหรื อน้อย อีกทั้งการคงทนหรื อความถาวรในการ ่ ั ยอมรับนั้นด้วย ผลของการยอมรับที่จะเกิดขึ้นในลักษณะต่างๆ นี้ข้ ึนอยูกบ ปั จจัยต่างๆ หลายประการ คือ
  • 22.  ปัจจัยเกียวกับลักษณะของนวัตกรรม ่ เนื่องจากนวัตกรรมเป็ นสิ่ งใหม่ที่กาเนิ ดมาจากงานวิจัย (Research) และการพัฒนา (Development) รวมทั้งมาจากประสบการณ์ ของผูใช้นวัตกรรมนันเอง ดังนั้นนวัตกรรมแต่ละอย่างจึงมีลกษณะ ้ ่ ั เฉพาะตัวซึ่ งสามารถนามาใช้แก้ไขปั ญหาหรื อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการ ปฏิบติงาน ได้ตามสถานการณ์และความต้องการของผูใช้นวัตกรรมนั้นๆ ั ้ ดังนั้น ลักษณะของนวัตกรรมนันเองจึงเป็ นปั จจัยหนึ่งที่มีผลต่อ ่ การโน้มน้าวใจ (persuasion) ให้เกิดการยอมรับ โดยนาไปใช้เป็ นข้อมูลใน ่ การประเมินนวัตกรรมของผูรับสาร และตัดสิ นใจได้วาจะดาเนินการ ้ อย่างไรต่อไป
  • 23. คุณลักษณะของนวัตกรรมทีมอทธิพลต่ อการยอมรับ ่ ีิ 1. ผลประโยชน์ ทได้ รับจากนวัตกรรม (Relation advantage) ี่ คือ ระดับของการรับรู้ หรื อความเชื่อว่านวัตกรรมนั้นมีคุณสมบัติที่ดีกว่า ความคิดหรื อสิ่ งที่มีอยูเ่ ดิม ซึ่ งถูกแทนที่ดวยสิ่ งใหม่ ถ้าหากนวัตกรรมนั้นมีขอดี ้ ้ และให้ประโยชน์ต่อผูในนวัตกรรมนั้นมากเท่าใด ก็มีโอกาสจะมีผยอมรับมากขึ้น ้ ู้ 2. การเข้ ากันได้ ดกบสิ่ งทีมอยู่เดิม (Compatibility) ีั ่ ี คือ ระดับของนวัตกรรมซึ่ งมีความสอดคล้องกับคุณค่า ประสบการณ์และ ่ ความต้องการที่มีอยูแล้วในตัวผูรับนวัตกรรมนั้น ๆ ถ้าหากนวัตกรรมนั้นสามารถ ้ เข้ากันได้ดีกบสิ่ งต่างๆ ที่กล่าวมาก็มีโอกาสได้รับการยอมรับได้ง่ายขึ้น ั
  • 24. 3. ความซับซ้ อน (Complexity) คือ ระดับของความเชื่อว่านวัตกรรมนั้นมีความยากต่อการเข้าใจและ การนาไปใช้ ซึ่ งนวัตกรรมที่มีความซับซ้อนน้อยกว่ามีโอกาสที่จะได้รับการ ยอมรับมากกว่า 4.การทดลองได้ (Trailability) คือ ระดับของนวัตกรรมที่สามารถมองเห็นผลจากการทดลองปฏิบติ ั เพื่อให้เห็นผลได้จริ ง ก็จะได้รับการยอมรับอย่างรวดเร็ ว ส่ วนนวัตกรรมที่ไม่ สามารถทดลองได้ก่อนมีโอกาสที่จะไดรับการยอมรับน้อยกว่า
  • 25. 5. การสั งเกตได้ (Observability) คือ ระดับของนวัตกรรมที่สามารถมองเห็นกระบวนการในการ ปฏิบติได้อย่างเป็ นรู ปธรรม สามารถสัมผัสและแตะต้องได้จริ ง ๆ ั เช่น การเสนอขายสิ นค้าที่เป็ นแบบขายตรง (direct sale) ที่ได้รับผลสาเร็ จ ่ สู งถึงแม้วาราคาจะค่อนข้างแพงก็เนื่องมาจากคุณสมบัติของนวัตกรรมใน ่ ข้อนี้ คือ สามารถนามาให้ลูกค้าชมและสาธิ ตให้ดูวาสิ นค้าชิ้นนี้มีขอดี ้ อย่างไร เป็ นขั้น ๆ เมื่อดูแล้วลูกค้ามีความเห็นว่าดีจริ งจึงจะซื้ อสิ นค้านั้น
  • 26.  ปัจจัยเกียวกับผู้รับนวัตกรรม ่ การที่บุคคลจะยอมรับนวัตกรรมหรื อไม่ ปั จจัยหนึ่งก็คือตัวของ ้ ่ ผูรับนวัตกรรมนั้นเอง เพราะถึงแม้วานวัตกรรมและเทคโนโลยีจะมีลกษณะ ั ที่ดีและเหมาะสมเพียงใด แต่ผรับนวัตกรรมนั้นไม่มีความพร้อมที่จะยอมรับ ู้ และปฏิบตินวัตกรรมนั้นก็ไร้ความหมาย ั
  • 27. ปัจจัยเกียวกับผู้รับนวัตกรรม ่ 1. สถานภาพทางเศรษฐกิจสั งคม (socioeconomic) ็ ผลการวิจยส่ วนใหญ่กมีแนวโน้มแสดงว่าสถานภาพทางเศรษฐกิจ ั ได้แก่ เพศ การศึกษา รายได้ ฐานะทางเศรษฐกิจ อาชีพ ตลอดจนการมีตาแหน่ง เป็ นผูนาในสังคมล้วนเป็ นปั จจัยที่มีผลต่อการยอมรับ ้ 2. คุณลักษณะของบุคลิกภาพ (personality) ่ เป็ นส่ วนที่ทาให้เกิดบุคลิกภาพ เช่น อาจจะเป็ นคนที่ออนโยน แข็ง กระด้าง การยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น การต่อต้านสังคม เป็ นต้น ลักษณะ ้ ทางบุคลิกภาพย่อมเป็ นส่ วนที่เกื้อหนุนหรื อต่อต้านการยอมรับ นวัตกรรมก็เป็ นได้
  • 28.  ปัจจัยทางด้ านระบบสั งคม (social system) ระบบสั งคม คือหน่วยที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา ร่ วมกัน เพื่อให้เกิดความสาเร็ จตามจุดมุ่งหมาย เมื่อพูดถึงระบบสังคมเรา ่ ศึกษาไปถึงคุณสมบัติเฉพาะของบุคคลที่อยูในระบบนั้น ดังนั้นระบบสังคม จะประกอบไปด้วยความสัมพันธ์ที่เกิดระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคลหรื อองค์กร ซึ่ งประกอบกันเป็ นโครงสร้างของสังคม
  • 29.  ปัจจัยทางด้ านการติดต่ อสื่ อสาร การติดต่อสื่ อสารเป็ นส่ วนประกอบสาคัญของกระบวนการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม และกระบวนการแพร่ กระจายนวัตกรรมเป็ นการ ติดต่อสื่ อสารประเภทหนึ่ ง กระบวนการนี้เกี่ยวข้องกับข่าวสารที่เป็ น แนวความคิดใหม่ ๆ ข่าวสารเหล่านี้จึงมีความแตกต่างจากข่าวสารทัว ๆ ไป ่ ในชีวิตประจาวันและเกี่ยวข้องกับระดับความเสี่ ยงของผูรับอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ้ ดังนั้นงานวิจยด้านการติดต่อสื่ อสารในฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่ งที่สาคัญ ั ในการแพร่ กระจายนวัตกรรมจึงอาจศึกษาถึงส่ วนประกอบในกระบวนการ ติดต่อสื่ อสาร ได้แก่ แหล่งของข่าวสาร ข่าวสาร ช่องทางและผูรับสาร้ ผลของการศึกษาจะเป็ นประโยชน์ต่อการนาไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนงาน ในการส่ งเสริ มเผยแพร่ นวัตกรรมได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพต่อไป
  • 30.
  • 31. ก. ขั้นประเมินผล (evaluation) ข. ขั้นตื่นตัวหรือรับทราบ (awareness) ค. ขั้นยอมรับปฏิบัติ (adoption) จ. ขั้นสนใจ (interest) ง. ขั้นทดลอง (trail)
  • 32. ก. ขั้นประเมินผล (evaluation) ข. ขั้นตื่นตัวหรือรับทราบ (awareness) ค. ขั้นยอมรับปฏิบัติ (adoption) จ. ขั้นสนใจ (interest) ง. ขั้นทดลอง (trail)
  • 33. ขั้นตอนการยอมรับนวัตกรรม (Adoption Process) ข. ขั้นตื่นตัวหรือรับทราบ (awareness) จ. ขั้นสนใจ (interest) ก. ขั้นประเมินผล (evaluation) ง. ขั้นทดลอง (trail) ค. ขั้นยอมรับปฏิบัติ (adoption)
  • 34. 1. ลักษณะของนวัตกรรม 2. ผู้รับนวัตกรรม 3. ด้ านระบบสั งคม 4. ด้ านการติดต่ อสื่ อสาร
  • 35. 3. คุณลักษณะของนวัตกรรมทีมอทธิพลต่ อการยอมรับมีอะไรบ้ าง ่ ีิ 1. ผลประโยชน์ ที่ได้ รับจากนวัตกรรม 2. การเข้ ากันได้ ดีกบสิ่งทีมีอยู่เดิม ั ่ 3. ความซับซ้ อน 4. การทดลอง 5. การสั งเกต
  • 36. - C:output___ Teaching and Learning Articles __.htm - Copyright(C) 2000-2006 by Prachyanun Nilsook : comments to : email prachyanun@hotmail.com - Last update : ปรับปรุ งครั้งล่าสุ ด เว็บมาสเตอร์ ปรัชญนันท์ นิลสุ ข - Rogers, E.M. Diffusion of Innovations. New York : The Free Press, 1986. - http://www.prachyanun.com