SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
พ.อ. มารวย ส่งทานินทร์
1 ก.ค. 2554
Peter Denning & Robert Dunham




ประพันธ์โดย Peter Denning
และ Robert Dunham
จัดพิมพ์จาหน่ายโดย
สานักพิมพ์ MIT Press
ในปี ค.ศ. 2010



Professor, Chair of the Computer
Science Department
Director ของ the Cebrowski Institute
for Information, Innovation, and
Superiority of the Naval Postgraduate
School ที่ Monterey, California



ผูก่อตัง the Institute for
้ ้
Generative Leadership
และบริษทที่ปรึกษา
ั
Enterprise Performance




มีการเข้าใจผิดว่า การประดิษฐ์คิดค้นทาให้เกิดนวัตกรรม ทาให้
องค์กรมีวิธีในการระดมความคิดสร้างสรรค์และมีการจัดสิ่งแวดล้อม
ที่กระตุนให้เกิดนวัตกรรม ความเชื่อนี้ส่งผลให้ภาครัฐออกเป็ น
้
นโยบาย มหาวิทยาลัยส่งเสริมการวิจย และมีการลดภาษีให้กบ
ั
ั
ภาคเอกชน
ในขณะที่ Peter Drucker (ในปี ค.ศ. 1985) รายงานว่ามีเพียง 1 ใน
500 ของสิ่งประดิษฐ์ที่จดทะเบียนสิทธิบตรมีผลตอบแทนคุมค่าต่อ
ั
้
การลงทุน เขามีความเชื่อว่าความรูใหม่ ๆ มีสวนน้อยมากต่อ
้
่
นวัตกรรม Stephen Kline และ Nathan Rosenberg (ในปี ค.ศ. 1986)
สรุปว่านวัตกรรมที่เกิดจากการวิจยโดยมากมักจะผิด และ Harold
ั
Evans (ในปี ค.ศ. 2004) วิเคราะห์นวัตกรรม 75 ชิ้น สรุปว่า
นวัตกรรมส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจากการประดิษฐ์คิดค้น





เมื่อใดจึงจะนับว่านวัตกรรมนั้นประสบผลสาเร็จ ความสาเร็จของ
นวัตกรรมหมายถึงมีการนาเอาความคิดนั้นไปใช้ และเป็ นที่
ยอมรับของชุมชน จุดสาคัญคือการยอมรับ ซึ่งนาไปสูคานิยามที่
่
ผูประพันธ์ให้ไว้ว่า
้
นวัตกรรมคือ การยอมรับในแนวทางการปฏิบตใหม่ของชุมชน
ั ิ
(Innovation is adoption of new practice in a community.)
ชุมชนในที่น้ ีคือกลุมเป้ าหมายที่เราต้องการให้เกิดการยอมรับ
่
ความคิดเห็นใหม่




แนวทางการปฏิบติ 8 ประการที่ทาให้นวัตกรรมประสบผลสาเร็จใน
ั
กล่าวถึงในหนังสือเล่มนี้คือ 1.) การรับรู ้ 2.) การทาให้เห็นภาพ 3.)
การนาเสนอ 4.) การยอมรับ 5.) การทาให้ยั ่งยืน 6.) การทาตาม
สัญญา 7.) การนา และ 8.) การทาให้ฝังอยูในตัว
่
ซึ่งจะต้องปฏิบตเป็ นแบบบูรณาการ ไม่จาเป็ นต้องทาทีละขั้นตอน
ั ิ
แนวทางการปฏิบติ 2 ประการแรกเป็ นหลักของการสร้างนวัตกรรม
ั
3 ประการต่อมาเป็ นการทาให้ชุมชนยอมรับ (5 ประการแรก
โดยมากมักจะเรียงตามลาดับ) ส่วน 3 ประการสุดท้ายเป็ นการสร้าง
สิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของปั จจัยอื่น ๆ







การรับรู ้ (Sensing) คือการสร้างความเป็ นไปได้ใหม่ ที่จะเพิ่มคุณค่าให้กบ
ั
ชุมชน โดยระบุประเด็นหรือโอกาสที่จะไขว่คว้าได้
ทุกนวัตกรรมเริ่มต้นด้วยความน่าจะเป็ นไปได้ใหม่ ๆ ใครก็ตามที่ไม่มี
ความสามารถในการหาความเป็ นไปได้ใหม่ ๆ ไม่สามารถสร้างนวัตกรรมได้
้
มีกี่ครังที่แทนที่เราจะกล่าวว่า นึกออกแล้ว แต่กลับกลายเป็ นว่า เขาคิดได้
อย่างไร หรือ ทาไมเราไม่สามารถคิดแบบนั้นได้
การที่มีความคิดดี ๆ มีความเป็ นไปได้เกิดจากการฝึ กฝน เป็ นการฝึ กฝนที่จะ
รับฟั งและสังเกตถึงความไม่ปกติธรรมดา แล้วถามตนเองว่า อะไรคือความ
เป็ นไปได้ในการแก้ปัญหานั้น คุณลักษณะนี้เรียกว่า การรับรู ้
ดังนั้นหัวใจของการรับรูน้ ีจึงเป็ นเรืองของทักษะการฟั ง ให้รบรูเ้ รืองราวที่
้
่
ั ่
ประชาชนให้ความสนใจ และหาหนทางที่เป็ นไปได้ในการแก้ไข


2.การทาให้เห็ นภาพ (Envisioning) คือการบอกเล่าเรื่องราว ว่าทุกสิ่ง
จะดีข้ ึนถ้าสามารถทาความคิดให้เป็ นความจริงขึ้นมาได้
 เป็ นการตกผลึกความเป็ นไปได้ ที่เกิดจากการรับรูเรื่องราวแล้วนามา
้
สร้างคุณค่าให้เกิดประโยชน์กบชุมชนเป้ าหมาย การเล่าเรื่องที่ดเป็ น
ั
ี
ความสามารถในการกุมใจผูฟังและทาให้ผฟังเกิดจินตนาการขึ้นมาได้
้
ู้
ว่า หนทางปฏิบตใหม่จะนาไปสูชีวิตที่ดีกว่าเดิม
ั ิ
่
 ความสาเร็จอยูที่ความสามารถในการเล่าเรื่อง บางคนคิดว่าเป็ นเรื่อง
่
ยากในการเล่าเรื่อง การเล่าเรื่องเป็ นการสร้างนวัตกรรม เราจึงต้อง
เป็ นผูนาโดยอาศัยการเล่าเรื่อง เพื่อให้ผอื่นสามารถติดตามเราไปสู่
้
ู้
โลกใบใหม่ให้ได้





3.การนาเสนอ (Offering) คือการยืนข้อเสนอทีเป็ นประโยชน์ตอชุมชน
่
่
่
และผูนาชุมชน เพื่อให้รบไว้พิจารณา
้
ั
ซึ่งเป็ นเรื่องทีไม่ง่ายนัก เพราะผูที่ได้รบฟั งส่วนมากมักจะปฏิเสธ
่
้
ั
ข้อเสนอ ผูแทนขายสินค้าพบว่าร้อยละ 90 ของข้อเสนอมักได้รบการ
้
ั
ปฏิเสธ พวกเขาจึงเน้นวิธีการนาเสนอที่มองดูแล้วมีโอกาสที่จะ
ประสบความสาเร็จสูง
นักนวัตกรรมไม่ได้รบการฝึ กฝนให้พร้อมรับมือกับความล้มเหลวของ
ั
การนาเสนอ และมักจะแสดงออกโดยการปกป้ องข้อเสนอนั้นแล้วไม่
กล้าที่จะนาเสนอต่อรายอื่นอีก เพราะเกรงว่าจะประสบความล้มเหลว
หรือถูกปฏิเสธ ทาให้เป็ นอีกปั จจัยหนึ่งทีทาให้นวัตกรรมไม่ประสบ
่
ความสาเร็จ






4.การยอมรับ (Adopting) คือการทาให้สมาชิกในชุมชนยอมรับ
แนวทางการปฏิบตใหม่เป็ นครั้งแรก โดยมีขอเสนอว่า ถ้าได้
ั ิ
้
ทดลองมาระยะหนึ่งแล้วเกิดความไม่พึงพอใจ ก็ไม่ตองยอมรับ
้
การยอมรับเกิดขึ้นได้ 3 ครั้ง คือ เกิดขึ้นในหัว เกิดขึ้นที่มือ และ
เกิดขึ้นที่รางกาย การยอมรับครั้งแรกเกิดจากผูคนในชุมชน
่
้
ยอมรับความคิดใหม่ ครั้งที่สองเกิดจากการปฏิบตทดลองใช้เป็ น
ั ิ
ครั้งแรก และครั้งที่สามคือการปฏิบตน้นเกิดความยั ่งยืน
ั ิ ั
เป็ นเรืองปกติที่นวัตกรรมที่นาเสนอในครั้งแรกจะถูกปฏิเสธ แต่
่
เราต้องเรียนรูว่า เพราะเหตุใดเขาจึงปฏิเสธ และหาหนทางใหม่
้
ๆ ในการทาให้พวกเขาเกิดการยอมรับคุณค่าที่เรานาเสนอ


5.การทาให้ย่งยืน (Sustaining) คือการทาให้สมาชิกในชุมชนนา
ั
หนทางปฏิบตใหม่ไปใช้อย่างยาวนานและเกิดความต่อเนื่อง บูรณา
ั ิ
การเข้ากับแนวทาง มาตรฐาน กระบวนการ ที่ปฏิบตอยู่ เพื่อเกิด
ั ิ
คุณประโยชน์ในชีวิต
 เป็ นการทาให้นวัตกรรมเกี่ยวข้องและเกิดประโยชน์ตอชุมชน ภายหลัง
่
จากที่มีการยอมรับแนวทางปฏิบตใหม่ไปใช้ในชุมชน
ั ิ
 มีปัจจัยที่มีผลต่อความยั ่งยืนคือ ความสามารถในการเรียนรู ้ การให้
ความช่วยเหลือ การส่งมอบ การบารุงรักษา ความเชื่อมโยง ความ
สะดวกสบาย และความมุ่งมั ่น
 การยอมรับต่างจากการทาให้ย ั ่งยืนคือ การยอมรับคือการทาให้ผคน
ู้
เห็นว่า คุณค่าที่จะได้รบมากกว่าราคาที่จายครั้งแรก ส่วนการทาให้
ั
่
ยั ่งยืนนั้นต้องทาให้ผคนคิดว่าคุณค่าที่ได้รบอย่างต่อเนื่องคุมค่ากับ
ู้
ั
้
ค่าใช้จายที่ตองจ่าย
่
้




6.การทาให้สาเร็จ (Executing) คือการรักษาพันธะสัญญาที่ให้ไว้โดย
การให้ช่วยเหลือ เพื่อให้ชุมชนเห็นว่าการยอมรับนั้นทาให้เกิดคุณค่า
ผูประพันธ์เน้นที่การสนทนาเพื่อให้ขอเสนอนั้นมีประสิทธิผล เกิด
้
้
ความน่าเชื่อถือ และเป็ นการรักษาสัญญาที่ให้ไว้
การสนทนาแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทคือ การสนทนาในเรืองบริบท เป็ น
่
การยืนยันว่าเราใส่ใจในเรืองนั้นๆ การสนทนาเกี่ยวกับความเป็ นไป
่
ได้ เป็ นการสนทนาให้สมาชิกในชุมชนที่มีการปฏิบตแล้ว ไม่ตองกลัว
ั ิ
้
ว่าจะมีขอผูกมัดในอนาคต และการสนทนาเพื่อให้เกิดการปฏิบติ เป็ น
้
ั
การยืนยันความมุ่งมั ่นของเราที่สามารถสร้างผลลัพธ์ที่ตองการได้
้






7.การนา (Leading) คือการทางานเชิงรุกเพื่อให้แนวทางอื่น ๆ เกิดผลลัพธ์ตามที่ตองการ
้
คือทาให้ การฝ่ าฟั นอุปสรรค การสร้างความไว้วางใจ และความมุ่งมั ่นของผูนาเกิดความ
้
ยั ่งยืน
เป็ นทักษะในการทาให้ผอื่นปฏิบตตามที่เราปรารถนาโดยใช้วิธีการสนทนา เป็ นการปฏิบติ
ู้
ั ิ
ั
ที่สาคัญในทุกขั้นตอนของการสร้างนวัตกรรม เพื่อให้มีคนปฏิบตตาม แนวทางของการนา
ั ิ
มีหลายรูปแบบ แต่ที่ผประพันธ์แนะนาคือ ผูนาที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนตัวแล้วหลบออกข้าง
ู้
้
ทาง ส่งผลให้ผตามคิดว่าตนเองเป็ นผูทาให้เกิดความสาเร็จ ตามที่เล่าจื๊อ นักปราชญ์จนใน
ู้
้
ี
ยุคโบราณได้กล่าวไว้ในเรื่องผูนาที่ดีว่า เป็ นผูที่ได้การยอมรับนับถือจากประชาชน โดยใช้
้
้
อานาจผ่านการโน้มน้าวชักชวน ให้ปฏิบตตามในหนทางใหม่ ๆ ซึ่งมีพ้ ืนฐานจากการเอาใจ
ั ิ
ใส่ดแล การเอาใจใส่จงเป็ นคุณสมบัตที่สาคัญที่สุดของผูนา
ู
ึ
ิ
้
ส่วนผูนาที่ใช้อานาจผ่านการบังคับ จะทาให้นวัตกรรมไม่ยั ่งยืน ดังนั้นนักนวัตกรรมต้อง
้
ฝึ กฝนการสนทนา เพื่อให้ผตามเกิดความมุ่งมั ่นและให้การสนับสนุนในเรื่องนวัตกรรม
ู้






8.การทาให้ฝังอยู่ในตัว (Embodying) คือการฝึ กฝนทักษะดังที่กล่าวมา
ทั้งหมด จนกระทั ่งสามารถปฏิบตได้เป็ นอัตโนมัติ ที่ทาให้สมาชิกของชุมชน
ั ิ
ยอมรับแนวทางปฏิบติใหม่
ั
เป็ นความท้าทายของนักนวัตกรรมที่ทาให้สมาชิกในชุมชนมีการฝั งแนวทาง
ปฏิบติใหม่เข้าไว้ในตัว คือมีการพูด มีการแสดงออก มีความรูสึก และมอง
ั
้
โลกที่ตางออกไปจากเดิม ดังนั้นนักนวัตกรรมจะต้องมีการแสดงออกทั้งทาง
่
ภาษา ร่างกาย และอารมณ์ ได้เช่นเดียวกันกับชุมชนด้วย
ภาษา ท่าทาง และอารมณ์เป็ นสิ่งที่มีความสัมพันธ์กน ดังนั้นในการนาเสนอ
ั
้
ทุกครัง นักนวัตกรรมต้องแสดงออกทั้งภาษา ท่าทาง และอารมณ์ให้
สอดคล้องควบคู่กนไปด้วย เพราะจะส่งผลให้ผฟังเกิดการรับรูถึงคุณค่าและ
ั
ู้
้
เกิดความรูสึกร่วมได้ การแสดงออกทั้งทางภาษา ท่าทาง และอารมณ์
้
สามารถฝึ กหัดได้ เรียกว่าการผสมผสานเป็ นเนื้อเดียวกัน เพื่อชักนาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงขึ้นในชุมชน




ถ้าจะให้เกิดผลดี แนวทางปฏิบตท้ง 8 ประการควรทาคู่ขนานกัน
ั ิ ั
ไป ผลโดยรวมของการปฏิบตจะกลายเป็ นแนวทางของนัก
ั ิ
นวัตกรรมคนนั้น ๆ
และแนวทางทั้ง 8 ประการนี้ นอกจากการแสดงออกเรืองมุมมอง
่
ด้านของภาษาแล้วยังมีเรืองของปฏิกิรยาทางร่างกายและอารมณ์
่
ิ
ที่แสดงออกควบคู่ไปด้วย ซึ่งเป็ นเรืองสาคัญที่มีอยูในประการที่
่
่
8 คือเรืองการฝั งตัวเพื่อให้คงอยูในตัวของนักนวัตกรรม เป็ นสิ่งที่
่
่
เรียนรูได้ เป็ นทักษะในการเพิ่มประสิทธิภาพ โดยการบูรณาการ
้
แนวทางการปฏิบตท้ง 8 ประการเข้าด้วยกันจนเป็ นหนึ่งเดียว ที่
ั ิ ั
เป็ นแบบอย่างของตนเอง






นวัตกรรมในระดับองค์กรนั้น แนวทางการปฏิบตทง 8 จะไม่จากัดอยู่
ั ิ ้ั
ที่ตวบุคคล แต่จะขยายไปสู่บุคคลอื่น ๆ และทีมงาน เป็ นการเพิ่มผู ้
ั
สังเกตการณ์ในการฟั งเสียงของลูกค้า การแบ่งเป็ นทีมต่าง ๆ เป็ น
การเพิ่มคุณค่าให้กบองค์กร
ั
บทบาทขององค์กรคือการสร้างยุทธศาสตร์ สนับสนุน และมีการ
ประสานงาน ในการจัดสรรบุคลากรให้เกิดคุณค่าที่มีประสิทธิภาพ
เพิ่มขึ้น ในการคัดเลือกลูกค้า การนาเสนอต่อลูกค้าที่มีความแตกต่าง
กัน การจัดสรรทรัพยากร การเปิ ดตลาดใหม่ และการเพิ่มคุณค่า ที่
เรียกว่าการออกแบบองค์กร
องค์กรนวัตกรรมมีการเรียนรูที่จะนาแนวทางปฏิบตทง 8 ประการ
้
ั ิ ้ั
เข้ามามีสวนในการออกแบบ ทาให้เกิดเป็ นวัฒนธรรมขององค์กร
่




มีนวัตกรรมมากมายทีเกิดจากการใช้เครือข่ายทางสังคม คือการ
่
ที่ผคนติดต่อกันอย่างไม่มีการบริหารจัดการโดยใช้ช่องทาง
ู้
สื่อสารผ่านทางอินเตอร์เน็ต เป็ นการเข้าร่วมชุมชนที่มีความ
สนใจเหมือนกันเพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสารอย่างสมัครใจ
เครือข่ายทางสังคมเป็ นพื้นที่ที่ใช้ในการสนทนา การนาเสนอ การ
ยอมรับ และการบูรณาการของการปฏิบตใหม่ ๆ เช่น social
ั ิ
network mappers, LinkedIn, Plaxo, Facebook, MySpace, Flickr,
Twitter, และ YouTube เป็ นต้น




พลวัตรของเครือข่ายทางสังคมส่งผลต่อการบริหารจัดการและ
การนา ในเรืองของความรวดเร็วของนวัตกรรม และจัดการต่อ
่
การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีและเครื่องมือใหม่ ๆ มี
ผลทาให้จานวนผูคนที่เข้าร่วมวงสนทนามีปริมาณเพิ่มขึ้น ทาให้
้
เห็นความไม่ปกติได้เร็วขึ้น มีความรวดเร็วในการสนทนาและ
ขยายตัวได้อย่างรวดเร็ว ใช้คนจานวนน้อยลงและใช้เวลาเร็วขึ้น
ในการสร้างนวัตกรรมให้สาเร็จ
ดังนั้นนักนวัตกรรมชั้นนาจะต้องเป็ นผูฟังที่ดี ต่อความสนใจและ
้
คุณค่าที่มีอยูในเครือข่ายทางสังคม และเครือข่ายทางสังคมจะมี
่
ผลต่อการสร้างนวัตกรรมในอนาคตอย่างแน่นอน




นักนวัตกรรมชั้นยอดทาเรืองยากให้ดเหมือนง่าย งานที่ลาบากดู
่
ู
เหมือนเป็ นงานที่น่าสนใจ สิ่งที่ยงยากซับซ้อนดูเหมือนเป็ นสิ่งที่
ุ่
เรียบง่าย ทาให้สิ่งที่สบสนให้เป็ นเรืองที่เข้าใจได้
ั
่
นักนวัตกรรมเหล่านี้ทาในสิ่งที่เป็ นการเปลี่ยนแปลงเกมที่เล่นอยู่
ไม่ใช่ทาการปรับปรุงเกมให้ดีข้ ึน ทาให้ผคนยอมรับและมาเล่น
ู้
ในเกมที่เขาเสนอได้





ในความเป็ นจริงแล้ว นักนวัตกรรมชั้นยอด เช่น Bill Gates, Steve
Jobs, Larry Page, Sergey Brin, Candy Lightner, และ Paul McCartney
พวกเขาเหล่านี้เริ่มต้นจากการเป็ นผูเริ่มต้น เป็ นผูทมีศกยภาพ เป็ น
้
้ ี่ ั
ผูเชี่ยวชาญ จนเป็ นนักนวัตกรรมระดับปรมาจารย์ เพราะเกิดจากการ
้
เรียนรูและพัฒนาทักษะในการยกระดับตนเองขึ้นไปเรื่อย ๆ
้
แม้แต่เขาเหล่านั้นบางครั้งก็ไม่สามารถอธิบายได้ว่าสิ่งเหล่านั้น
เกิดขึ้นได้อย่างไร คือรูแต่ไม่สามารพูดออกมาเป็ นคาพูดให้เข้าใจได้
้
ในหนังสือเล่มนี้ไม่สามารถอธิบายได้ว่า คนระดับปรมาจารย์
นวัตกรรมได้เรียนรูอะไรบ้าง แต่หนังสือเล่มนี้สามารถอธิบายว่าเขา
้
เหล่านั้นสามารถเป็ นนักนวัตกรรมชั้นยอดได้อย่างไร และยังกล่าวไว้
ว่า การเป็ นนักนวัตกรรมชั้นยอดไม่ใช่เป้ าหมาย แต่การเดินทางไปสู่
ความเป็ นยอดนักนวัตกรรมต่างหากคือเป้ าหมายที่แท้จริง
Innovator’s way

More Related Content

Viewers also liked

Science strategies
Science strategiesScience strategies
Science strategiesajaya bajpai
 
Nature of science for teaching
Nature of science for teachingNature of science for teaching
Nature of science for teachingDavid Geelan
 
Science Teaching Approaches and Strategies
Science Teaching Approaches and  Strategies Science Teaching Approaches and  Strategies
Science Teaching Approaches and Strategies majumalon
 

Viewers also liked (6)

The Nature of Science
The Nature of ScienceThe Nature of Science
The Nature of Science
 
Science strategies
Science strategiesScience strategies
Science strategies
 
Physics introduction
Physics introductionPhysics introduction
Physics introduction
 
Nature of science for teaching
Nature of science for teachingNature of science for teaching
Nature of science for teaching
 
Science Teaching Approaches and Strategies
Science Teaching Approaches and  Strategies Science Teaching Approaches and  Strategies
Science Teaching Approaches and Strategies
 
Physics ppt
Physics pptPhysics ppt
Physics ppt
 

Similar to Innovator’s way

Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Jitty Chanprasit
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”นู๋หนึ่ง nooneung
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหาfreelance
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมการยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมBenz_benz2534
 
Prและสังคม2
Prและสังคม2Prและสังคม2
Prและสังคม2Vivace Narasuwan
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 

Similar to Innovator’s way (20)

Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
การยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมการยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรม
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
Prและสังคม2
Prและสังคม2Prและสังคม2
Prและสังคม2
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Ch1 innovation
Ch1 innovationCh1 innovation
Ch1 innovation
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Innovator’s way

  • 2. Peter Denning & Robert Dunham
  • 3.    ประพันธ์โดย Peter Denning และ Robert Dunham จัดพิมพ์จาหน่ายโดย สานักพิมพ์ MIT Press ในปี ค.ศ. 2010
  • 4.   Professor, Chair of the Computer Science Department Director ของ the Cebrowski Institute for Information, Innovation, and Superiority of the Naval Postgraduate School ที่ Monterey, California
  • 5.   ผูก่อตัง the Institute for ้ ้ Generative Leadership และบริษทที่ปรึกษา ั Enterprise Performance
  • 6.   มีการเข้าใจผิดว่า การประดิษฐ์คิดค้นทาให้เกิดนวัตกรรม ทาให้ องค์กรมีวิธีในการระดมความคิดสร้างสรรค์และมีการจัดสิ่งแวดล้อม ที่กระตุนให้เกิดนวัตกรรม ความเชื่อนี้ส่งผลให้ภาครัฐออกเป็ น ้ นโยบาย มหาวิทยาลัยส่งเสริมการวิจย และมีการลดภาษีให้กบ ั ั ภาคเอกชน ในขณะที่ Peter Drucker (ในปี ค.ศ. 1985) รายงานว่ามีเพียง 1 ใน 500 ของสิ่งประดิษฐ์ที่จดทะเบียนสิทธิบตรมีผลตอบแทนคุมค่าต่อ ั ้ การลงทุน เขามีความเชื่อว่าความรูใหม่ ๆ มีสวนน้อยมากต่อ ้ ่ นวัตกรรม Stephen Kline และ Nathan Rosenberg (ในปี ค.ศ. 1986) สรุปว่านวัตกรรมที่เกิดจากการวิจยโดยมากมักจะผิด และ Harold ั Evans (ในปี ค.ศ. 2004) วิเคราะห์นวัตกรรม 75 ชิ้น สรุปว่า นวัตกรรมส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจากการประดิษฐ์คิดค้น
  • 7.    เมื่อใดจึงจะนับว่านวัตกรรมนั้นประสบผลสาเร็จ ความสาเร็จของ นวัตกรรมหมายถึงมีการนาเอาความคิดนั้นไปใช้ และเป็ นที่ ยอมรับของชุมชน จุดสาคัญคือการยอมรับ ซึ่งนาไปสูคานิยามที่ ่ ผูประพันธ์ให้ไว้ว่า ้ นวัตกรรมคือ การยอมรับในแนวทางการปฏิบตใหม่ของชุมชน ั ิ (Innovation is adoption of new practice in a community.) ชุมชนในที่น้ ีคือกลุมเป้ าหมายที่เราต้องการให้เกิดการยอมรับ ่ ความคิดเห็นใหม่
  • 8.
  • 9.   แนวทางการปฏิบติ 8 ประการที่ทาให้นวัตกรรมประสบผลสาเร็จใน ั กล่าวถึงในหนังสือเล่มนี้คือ 1.) การรับรู ้ 2.) การทาให้เห็นภาพ 3.) การนาเสนอ 4.) การยอมรับ 5.) การทาให้ยั ่งยืน 6.) การทาตาม สัญญา 7.) การนา และ 8.) การทาให้ฝังอยูในตัว ่ ซึ่งจะต้องปฏิบตเป็ นแบบบูรณาการ ไม่จาเป็ นต้องทาทีละขั้นตอน ั ิ แนวทางการปฏิบติ 2 ประการแรกเป็ นหลักของการสร้างนวัตกรรม ั 3 ประการต่อมาเป็ นการทาให้ชุมชนยอมรับ (5 ประการแรก โดยมากมักจะเรียงตามลาดับ) ส่วน 3 ประการสุดท้ายเป็ นการสร้าง สิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของปั จจัยอื่น ๆ
  • 10.     การรับรู ้ (Sensing) คือการสร้างความเป็ นไปได้ใหม่ ที่จะเพิ่มคุณค่าให้กบ ั ชุมชน โดยระบุประเด็นหรือโอกาสที่จะไขว่คว้าได้ ทุกนวัตกรรมเริ่มต้นด้วยความน่าจะเป็ นไปได้ใหม่ ๆ ใครก็ตามที่ไม่มี ความสามารถในการหาความเป็ นไปได้ใหม่ ๆ ไม่สามารถสร้างนวัตกรรมได้ ้ มีกี่ครังที่แทนที่เราจะกล่าวว่า นึกออกแล้ว แต่กลับกลายเป็ นว่า เขาคิดได้ อย่างไร หรือ ทาไมเราไม่สามารถคิดแบบนั้นได้ การที่มีความคิดดี ๆ มีความเป็ นไปได้เกิดจากการฝึ กฝน เป็ นการฝึ กฝนที่จะ รับฟั งและสังเกตถึงความไม่ปกติธรรมดา แล้วถามตนเองว่า อะไรคือความ เป็ นไปได้ในการแก้ปัญหานั้น คุณลักษณะนี้เรียกว่า การรับรู ้ ดังนั้นหัวใจของการรับรูน้ ีจึงเป็ นเรืองของทักษะการฟั ง ให้รบรูเ้ รืองราวที่ ้ ่ ั ่ ประชาชนให้ความสนใจ และหาหนทางที่เป็ นไปได้ในการแก้ไข
  • 11.  2.การทาให้เห็ นภาพ (Envisioning) คือการบอกเล่าเรื่องราว ว่าทุกสิ่ง จะดีข้ ึนถ้าสามารถทาความคิดให้เป็ นความจริงขึ้นมาได้  เป็ นการตกผลึกความเป็ นไปได้ ที่เกิดจากการรับรูเรื่องราวแล้วนามา ้ สร้างคุณค่าให้เกิดประโยชน์กบชุมชนเป้ าหมาย การเล่าเรื่องที่ดเป็ น ั ี ความสามารถในการกุมใจผูฟังและทาให้ผฟังเกิดจินตนาการขึ้นมาได้ ้ ู้ ว่า หนทางปฏิบตใหม่จะนาไปสูชีวิตที่ดีกว่าเดิม ั ิ ่  ความสาเร็จอยูที่ความสามารถในการเล่าเรื่อง บางคนคิดว่าเป็ นเรื่อง ่ ยากในการเล่าเรื่อง การเล่าเรื่องเป็ นการสร้างนวัตกรรม เราจึงต้อง เป็ นผูนาโดยอาศัยการเล่าเรื่อง เพื่อให้ผอื่นสามารถติดตามเราไปสู่ ้ ู้ โลกใบใหม่ให้ได้
  • 12.    3.การนาเสนอ (Offering) คือการยืนข้อเสนอทีเป็ นประโยชน์ตอชุมชน ่ ่ ่ และผูนาชุมชน เพื่อให้รบไว้พิจารณา ้ ั ซึ่งเป็ นเรื่องทีไม่ง่ายนัก เพราะผูที่ได้รบฟั งส่วนมากมักจะปฏิเสธ ่ ้ ั ข้อเสนอ ผูแทนขายสินค้าพบว่าร้อยละ 90 ของข้อเสนอมักได้รบการ ้ ั ปฏิเสธ พวกเขาจึงเน้นวิธีการนาเสนอที่มองดูแล้วมีโอกาสที่จะ ประสบความสาเร็จสูง นักนวัตกรรมไม่ได้รบการฝึ กฝนให้พร้อมรับมือกับความล้มเหลวของ ั การนาเสนอ และมักจะแสดงออกโดยการปกป้ องข้อเสนอนั้นแล้วไม่ กล้าที่จะนาเสนอต่อรายอื่นอีก เพราะเกรงว่าจะประสบความล้มเหลว หรือถูกปฏิเสธ ทาให้เป็ นอีกปั จจัยหนึ่งทีทาให้นวัตกรรมไม่ประสบ ่ ความสาเร็จ
  • 13.    4.การยอมรับ (Adopting) คือการทาให้สมาชิกในชุมชนยอมรับ แนวทางการปฏิบตใหม่เป็ นครั้งแรก โดยมีขอเสนอว่า ถ้าได้ ั ิ ้ ทดลองมาระยะหนึ่งแล้วเกิดความไม่พึงพอใจ ก็ไม่ตองยอมรับ ้ การยอมรับเกิดขึ้นได้ 3 ครั้ง คือ เกิดขึ้นในหัว เกิดขึ้นที่มือ และ เกิดขึ้นที่รางกาย การยอมรับครั้งแรกเกิดจากผูคนในชุมชน ่ ้ ยอมรับความคิดใหม่ ครั้งที่สองเกิดจากการปฏิบตทดลองใช้เป็ น ั ิ ครั้งแรก และครั้งที่สามคือการปฏิบตน้นเกิดความยั ่งยืน ั ิ ั เป็ นเรืองปกติที่นวัตกรรมที่นาเสนอในครั้งแรกจะถูกปฏิเสธ แต่ ่ เราต้องเรียนรูว่า เพราะเหตุใดเขาจึงปฏิเสธ และหาหนทางใหม่ ้ ๆ ในการทาให้พวกเขาเกิดการยอมรับคุณค่าที่เรานาเสนอ
  • 14.  5.การทาให้ย่งยืน (Sustaining) คือการทาให้สมาชิกในชุมชนนา ั หนทางปฏิบตใหม่ไปใช้อย่างยาวนานและเกิดความต่อเนื่อง บูรณา ั ิ การเข้ากับแนวทาง มาตรฐาน กระบวนการ ที่ปฏิบตอยู่ เพื่อเกิด ั ิ คุณประโยชน์ในชีวิต  เป็ นการทาให้นวัตกรรมเกี่ยวข้องและเกิดประโยชน์ตอชุมชน ภายหลัง ่ จากที่มีการยอมรับแนวทางปฏิบตใหม่ไปใช้ในชุมชน ั ิ  มีปัจจัยที่มีผลต่อความยั ่งยืนคือ ความสามารถในการเรียนรู ้ การให้ ความช่วยเหลือ การส่งมอบ การบารุงรักษา ความเชื่อมโยง ความ สะดวกสบาย และความมุ่งมั ่น  การยอมรับต่างจากการทาให้ย ั ่งยืนคือ การยอมรับคือการทาให้ผคน ู้ เห็นว่า คุณค่าที่จะได้รบมากกว่าราคาที่จายครั้งแรก ส่วนการทาให้ ั ่ ยั ่งยืนนั้นต้องทาให้ผคนคิดว่าคุณค่าที่ได้รบอย่างต่อเนื่องคุมค่ากับ ู้ ั ้ ค่าใช้จายที่ตองจ่าย ่ ้
  • 15.    6.การทาให้สาเร็จ (Executing) คือการรักษาพันธะสัญญาที่ให้ไว้โดย การให้ช่วยเหลือ เพื่อให้ชุมชนเห็นว่าการยอมรับนั้นทาให้เกิดคุณค่า ผูประพันธ์เน้นที่การสนทนาเพื่อให้ขอเสนอนั้นมีประสิทธิผล เกิด ้ ้ ความน่าเชื่อถือ และเป็ นการรักษาสัญญาที่ให้ไว้ การสนทนาแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทคือ การสนทนาในเรืองบริบท เป็ น ่ การยืนยันว่าเราใส่ใจในเรืองนั้นๆ การสนทนาเกี่ยวกับความเป็ นไป ่ ได้ เป็ นการสนทนาให้สมาชิกในชุมชนที่มีการปฏิบตแล้ว ไม่ตองกลัว ั ิ ้ ว่าจะมีขอผูกมัดในอนาคต และการสนทนาเพื่อให้เกิดการปฏิบติ เป็ น ้ ั การยืนยันความมุ่งมั ่นของเราที่สามารถสร้างผลลัพธ์ที่ตองการได้ ้
  • 16.    7.การนา (Leading) คือการทางานเชิงรุกเพื่อให้แนวทางอื่น ๆ เกิดผลลัพธ์ตามที่ตองการ ้ คือทาให้ การฝ่ าฟั นอุปสรรค การสร้างความไว้วางใจ และความมุ่งมั ่นของผูนาเกิดความ ้ ยั ่งยืน เป็ นทักษะในการทาให้ผอื่นปฏิบตตามที่เราปรารถนาโดยใช้วิธีการสนทนา เป็ นการปฏิบติ ู้ ั ิ ั ที่สาคัญในทุกขั้นตอนของการสร้างนวัตกรรม เพื่อให้มีคนปฏิบตตาม แนวทางของการนา ั ิ มีหลายรูปแบบ แต่ที่ผประพันธ์แนะนาคือ ผูนาที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนตัวแล้วหลบออกข้าง ู้ ้ ทาง ส่งผลให้ผตามคิดว่าตนเองเป็ นผูทาให้เกิดความสาเร็จ ตามที่เล่าจื๊อ นักปราชญ์จนใน ู้ ้ ี ยุคโบราณได้กล่าวไว้ในเรื่องผูนาที่ดีว่า เป็ นผูที่ได้การยอมรับนับถือจากประชาชน โดยใช้ ้ ้ อานาจผ่านการโน้มน้าวชักชวน ให้ปฏิบตตามในหนทางใหม่ ๆ ซึ่งมีพ้ ืนฐานจากการเอาใจ ั ิ ใส่ดแล การเอาใจใส่จงเป็ นคุณสมบัตที่สาคัญที่สุดของผูนา ู ึ ิ ้ ส่วนผูนาที่ใช้อานาจผ่านการบังคับ จะทาให้นวัตกรรมไม่ยั ่งยืน ดังนั้นนักนวัตกรรมต้อง ้ ฝึ กฝนการสนทนา เพื่อให้ผตามเกิดความมุ่งมั ่นและให้การสนับสนุนในเรื่องนวัตกรรม ู้
  • 17.    8.การทาให้ฝังอยู่ในตัว (Embodying) คือการฝึ กฝนทักษะดังที่กล่าวมา ทั้งหมด จนกระทั ่งสามารถปฏิบตได้เป็ นอัตโนมัติ ที่ทาให้สมาชิกของชุมชน ั ิ ยอมรับแนวทางปฏิบติใหม่ ั เป็ นความท้าทายของนักนวัตกรรมที่ทาให้สมาชิกในชุมชนมีการฝั งแนวทาง ปฏิบติใหม่เข้าไว้ในตัว คือมีการพูด มีการแสดงออก มีความรูสึก และมอง ั ้ โลกที่ตางออกไปจากเดิม ดังนั้นนักนวัตกรรมจะต้องมีการแสดงออกทั้งทาง ่ ภาษา ร่างกาย และอารมณ์ ได้เช่นเดียวกันกับชุมชนด้วย ภาษา ท่าทาง และอารมณ์เป็ นสิ่งที่มีความสัมพันธ์กน ดังนั้นในการนาเสนอ ั ้ ทุกครัง นักนวัตกรรมต้องแสดงออกทั้งภาษา ท่าทาง และอารมณ์ให้ สอดคล้องควบคู่กนไปด้วย เพราะจะส่งผลให้ผฟังเกิดการรับรูถึงคุณค่าและ ั ู้ ้ เกิดความรูสึกร่วมได้ การแสดงออกทั้งทางภาษา ท่าทาง และอารมณ์ ้ สามารถฝึ กหัดได้ เรียกว่าการผสมผสานเป็ นเนื้อเดียวกัน เพื่อชักนาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงขึ้นในชุมชน
  • 18.   ถ้าจะให้เกิดผลดี แนวทางปฏิบตท้ง 8 ประการควรทาคู่ขนานกัน ั ิ ั ไป ผลโดยรวมของการปฏิบตจะกลายเป็ นแนวทางของนัก ั ิ นวัตกรรมคนนั้น ๆ และแนวทางทั้ง 8 ประการนี้ นอกจากการแสดงออกเรืองมุมมอง ่ ด้านของภาษาแล้วยังมีเรืองของปฏิกิรยาทางร่างกายและอารมณ์ ่ ิ ที่แสดงออกควบคู่ไปด้วย ซึ่งเป็ นเรืองสาคัญที่มีอยูในประการที่ ่ ่ 8 คือเรืองการฝั งตัวเพื่อให้คงอยูในตัวของนักนวัตกรรม เป็ นสิ่งที่ ่ ่ เรียนรูได้ เป็ นทักษะในการเพิ่มประสิทธิภาพ โดยการบูรณาการ ้ แนวทางการปฏิบตท้ง 8 ประการเข้าด้วยกันจนเป็ นหนึ่งเดียว ที่ ั ิ ั เป็ นแบบอย่างของตนเอง
  • 19.    นวัตกรรมในระดับองค์กรนั้น แนวทางการปฏิบตทง 8 จะไม่จากัดอยู่ ั ิ ้ั ที่ตวบุคคล แต่จะขยายไปสู่บุคคลอื่น ๆ และทีมงาน เป็ นการเพิ่มผู ้ ั สังเกตการณ์ในการฟั งเสียงของลูกค้า การแบ่งเป็ นทีมต่าง ๆ เป็ น การเพิ่มคุณค่าให้กบองค์กร ั บทบาทขององค์กรคือการสร้างยุทธศาสตร์ สนับสนุน และมีการ ประสานงาน ในการจัดสรรบุคลากรให้เกิดคุณค่าที่มีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น ในการคัดเลือกลูกค้า การนาเสนอต่อลูกค้าที่มีความแตกต่าง กัน การจัดสรรทรัพยากร การเปิ ดตลาดใหม่ และการเพิ่มคุณค่า ที่ เรียกว่าการออกแบบองค์กร องค์กรนวัตกรรมมีการเรียนรูที่จะนาแนวทางปฏิบตทง 8 ประการ ้ ั ิ ้ั เข้ามามีสวนในการออกแบบ ทาให้เกิดเป็ นวัฒนธรรมขององค์กร ่
  • 20.   มีนวัตกรรมมากมายทีเกิดจากการใช้เครือข่ายทางสังคม คือการ ่ ที่ผคนติดต่อกันอย่างไม่มีการบริหารจัดการโดยใช้ช่องทาง ู้ สื่อสารผ่านทางอินเตอร์เน็ต เป็ นการเข้าร่วมชุมชนที่มีความ สนใจเหมือนกันเพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสารอย่างสมัครใจ เครือข่ายทางสังคมเป็ นพื้นที่ที่ใช้ในการสนทนา การนาเสนอ การ ยอมรับ และการบูรณาการของการปฏิบตใหม่ ๆ เช่น social ั ิ network mappers, LinkedIn, Plaxo, Facebook, MySpace, Flickr, Twitter, และ YouTube เป็ นต้น
  • 21.   พลวัตรของเครือข่ายทางสังคมส่งผลต่อการบริหารจัดการและ การนา ในเรืองของความรวดเร็วของนวัตกรรม และจัดการต่อ ่ การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีและเครื่องมือใหม่ ๆ มี ผลทาให้จานวนผูคนที่เข้าร่วมวงสนทนามีปริมาณเพิ่มขึ้น ทาให้ ้ เห็นความไม่ปกติได้เร็วขึ้น มีความรวดเร็วในการสนทนาและ ขยายตัวได้อย่างรวดเร็ว ใช้คนจานวนน้อยลงและใช้เวลาเร็วขึ้น ในการสร้างนวัตกรรมให้สาเร็จ ดังนั้นนักนวัตกรรมชั้นนาจะต้องเป็ นผูฟังที่ดี ต่อความสนใจและ ้ คุณค่าที่มีอยูในเครือข่ายทางสังคม และเครือข่ายทางสังคมจะมี ่ ผลต่อการสร้างนวัตกรรมในอนาคตอย่างแน่นอน
  • 22.   นักนวัตกรรมชั้นยอดทาเรืองยากให้ดเหมือนง่าย งานที่ลาบากดู ่ ู เหมือนเป็ นงานที่น่าสนใจ สิ่งที่ยงยากซับซ้อนดูเหมือนเป็ นสิ่งที่ ุ่ เรียบง่าย ทาให้สิ่งที่สบสนให้เป็ นเรืองที่เข้าใจได้ ั ่ นักนวัตกรรมเหล่านี้ทาในสิ่งที่เป็ นการเปลี่ยนแปลงเกมที่เล่นอยู่ ไม่ใช่ทาการปรับปรุงเกมให้ดีข้ ึน ทาให้ผคนยอมรับและมาเล่น ู้ ในเกมที่เขาเสนอได้
  • 23.    ในความเป็ นจริงแล้ว นักนวัตกรรมชั้นยอด เช่น Bill Gates, Steve Jobs, Larry Page, Sergey Brin, Candy Lightner, และ Paul McCartney พวกเขาเหล่านี้เริ่มต้นจากการเป็ นผูเริ่มต้น เป็ นผูทมีศกยภาพ เป็ น ้ ้ ี่ ั ผูเชี่ยวชาญ จนเป็ นนักนวัตกรรมระดับปรมาจารย์ เพราะเกิดจากการ ้ เรียนรูและพัฒนาทักษะในการยกระดับตนเองขึ้นไปเรื่อย ๆ ้ แม้แต่เขาเหล่านั้นบางครั้งก็ไม่สามารถอธิบายได้ว่าสิ่งเหล่านั้น เกิดขึ้นได้อย่างไร คือรูแต่ไม่สามารพูดออกมาเป็ นคาพูดให้เข้าใจได้ ้ ในหนังสือเล่มนี้ไม่สามารถอธิบายได้ว่า คนระดับปรมาจารย์ นวัตกรรมได้เรียนรูอะไรบ้าง แต่หนังสือเล่มนี้สามารถอธิบายว่าเขา ้ เหล่านั้นสามารถเป็ นนักนวัตกรรมชั้นยอดได้อย่างไร และยังกล่าวไว้ ว่า การเป็ นนักนวัตกรรมชั้นยอดไม่ใช่เป้ าหมาย แต่การเดินทางไปสู่ ความเป็ นยอดนักนวัตกรรมต่างหากคือเป้ าหมายที่แท้จริง