SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
ศูนย์วิจัยและศึกษา
ธรรมชาติป่าพรุสิรินธร
แนวพระราชดาริ
            พ.ศ. 2545 หน่วยปฎิบัตการวิจัยร่วมทางธรรมชาติวิทยาป่าพรุ และ
                                   ิ
    ป่าดิบชื้นฮาลา-บาลา ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ศูนย์พันธุวิศวกรรมและ
    เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ(ไบโอเทค) กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์
    พืช ค้นคว้าวิจัยและสารวจเพื่อนาองค์ความรู้ไปขยายผลดาเนินการวิจัยต่อ
    เป็นการส่งเสริมงานวิจัยด้านชีวทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นแก่การรักษาและ
    ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนในพื้นที่ที่สมเด็จพระเทพ
    รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสนพระทัยและทรงงานวิจัยป่าพรุด้วย
    พระองค์เอง และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานชื่อ "ศุนย์วิจัยและ
    ศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริธร" พ.ศ. 2534
ที่ตั้งของโครงการ
 พื้นที่ดาเนินการอยู่บริเวณคลองโต๊ะแดง ฝั่งขวา ท้องที่บ้านโต๊ะ
  แดง หมู่ที่ 5 ตาบลปูโย๊ะ อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
วัตถุประสงค์โครงการ
 1. เพื่อศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย และสารวจหาข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับ
   ป่าพรุมาใช้ในการ อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าพรุ

 2. เพื่ออนุรักษ์ป่าพรุสมบูรณ์ตามธรรมชาติให้คงอยู่ตลอดไป และฟื้นฟูสภาพ
   ป่าพรุเสื่อมโทรมให้กลับคืนสู่สภาพป่าที่สมบูรณ์ดังเดิม
 3. เพื่อสาธิตและเผยแพร่งานป่าพรุทั้งด้านการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์
   ทรัพยากรป่าพรุ



 4. เพื่อเสริมสร้างจิตสานึก และประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนได้ทราบ และ
   ตระหนักถึงความสาคัญของป่าพรุ
ลักษณะโครงการ
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุ
ผู้ได้รับประโยชน์
ราษฎรโดยรอบศูนย์ฯ
ผลการดาเนินงานและกิจกรรมโครงการ
       ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธร ภายใต้โครงการ
    ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
    จังหวัดนราธิวาส ซึ่งรับผิดชอบงานทางด้านป่าไม้ ครอบคลุมพื้นที่
    ป่าพรุโต๊ะแดง ทั้งหมด 125,625 ไร่ได้ดาเนินการตั้งปี 2533 โดย
    กรมป่าไม้ ได้พิจารณาคัดเลือกพื้นที่พรุที่จะดาเนินการจัดตั้ง
    สานักงานบริเวณคลองโต๊ะแดง ท้องที่บ้านโต๊ะแดง ตาบลปูโย๊ ะ
    อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
         ให้เป็นสถานที่สาหรับศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ และความ
    เพลิดเพลิน ในความหลากหลายของทรัพยากรป่าพรุธรรมชาติของ
    ประชาชนทั่วไป โดยใช้ชื่อว่า ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิ
    รินธร และในปี 2534 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้พิจารณา
    คัดเลือก ให้ศูนย์แห่งนี้เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
    พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสที่ทรงเจริญ
    พระชนมมายุ 36 พรรษา และต่อมาในปี 2535 ศูนย์ฯ แห่งนี้ได้รับ
    พระราชทานพระราชานุญาตใช้ชื่อว่า “ศูนย์วิจัยและศึกษา
    ธรรมชาติป่าพรุสิรินธร
ความสาเร็จของโครงการ
     ป่าพรุสิรินธรเป็นส่วนหนึ่งของป่าพรุโต๊ะแดง ป่าพรุ
แห่งสุดท้ายของประเทศไทย ซึ่งคลุมพื้นที่ของ 3 อาเภอ
คือ อาเภอตากใบ อาเภอสุไหงโกลก และอาเภอสุไหงปาดี
มีพื้นที่ประมาณ 120,000 ไร่ แต่ส่วนที่สมบูรณ์
โดยประมาณมีเพียง 50,000 ไร่ เป็นป่าที่ยังคงความอุดม
สมบูรณ์ด้วยสัตว์ป่าและ พรรณไม้ พื้นที่ป่าพรุมีลาน้า
สาคัญหลายสายไหลผ่าน คือ
คลองสุไหงปาดี แม่น้าบางนรา และคลองโต๊ะแดง
            ศูนย์ฯ ได้จัดให้มีทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติ เพื่อประชาสัมพันธ์
    ความรู้ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับธรรมชาติของป่าพรุ เริ่มที่บึงน้าด้านหลังอาคาร
    ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธรเป็นสะพานไม้ต่อลัดเลาะเข้าไปใน
    ป่าพรุ ระยะทาง 1,200 เมตร บางช่วงเป็นสะพานไม้ร้อยลวดสลิง บางช่วง
    เป็นหอสูงสาหรับมองทิวทัศน์เบื้องล่างที่ชอุ่มไปด้วยไม้นานาพรรณในป่าพรุ
    จะมีป้ายชื่อต้นไม้ที่น่าสนใจ และซุ้มความรู้อยู่เป็นจุดๆ สาหรับให้ความรู้แก่ผู้
    เดินชมด้วย เปิดทุกวันเวลา 8.00-16.00 น. ไม่เสียค่าเข้าชม และยังมีห้องจัด
    นิทรรศการให้ความรู้แก่คนที่มาเที่ยวชมอีกด้วย
 ป่าพรุ หรือ peat     swamp forest เกิดขึ้นได้อย่างไร คาตอบคือ เกิด
  จากแอ่งน้าจืดขังติดต่อกันชั่วนาตาปี และมีการสะสมของชั้นดินอินทรียวัตถุ
  ก็คือซากพืช ซากต้นไม้ ใบไม้ จนย่อยสลายอย่างช้าๆ กลายเป็นดินพีท
  (peat) หรือดินอินทรีย์ที่มีลักษณะหยุ่นยวบเหมือนฟองน้ามีความหนาแน่น
  น้อยอุ้มน้าได้มาก และพบว่ามีการสะสมระหว่างดินพีท กับดินตะกอนทะเล
  สลับชั้นกัน 2-3 ชั้น เนื่องจากน้าทะเลเคยมีระดับสูงขึ้นจนท่วมป่าพรุ เกิดการ
  สะสมของตะกอน น้าทะเลถูกขังอยู่ด้านใน พันธุ์ไม้ในป่าพรุตายไปและเกิดป่า
  ชายเลนขึ้นแทนที่ เมื่อระดับน้าทะเลลดลงและมีฝนตกลงมาสะสมน้าที่ขังอยู่
  จึงจืดลง และเกิดป่าพรุขึ้นอีกครั้ง ดินพรุชั้นล่างมีอายุถึง 6,000-7,000 ปี ส่วน
  ดินพรุชั้นบนอยู่ระหว่าง 700-1,000 ปี
ระบบนิเวศน์ในป่าพรุนั้นมีหลากหลาย ทุกชีวิตล้วน
  เกี่ยวพันต่อเนื่องกัน ไม้ยืนต้นจะมีระบบรากแขนงแข็งแรง
  แผ่ออกไปเกาะเกี่ยวกันเพื่อจะได้ช่วยพยุงลาต้นของกัน
  และกันให้ทรงตัวอยู่ได้ ฉะนั้นต้นไม้ในป่าพรุจึงอยู่รวมกัน
  เป็นกลุ่ม หากต้นใดล้ม ต้นอื่นจะล้มตามไปด้วย
 พันธุ์ไม้ที่พบในป่าพรุมีกว่า 400 ชนิด บางอย่างนามารับประทาน
  ได้ เช่น หลุมพี ซึ่งเป็นไม้ในตระกูลปาล์ม มีลักษณะต้นและใบ
  คล้ายปาล์ม แต่มีหนามแหลมอยู่ตลอดก้าน ผลมีลักษณะคล้าย
  ระกา แต่จะเล็กกว่า รสชาติออกเปรี้ยว ชาวบ้านนามาดองและส่ง
  ขายฝั่งมาเลเซีย ซึ่งคนมาเลย์จะนิยมมาก ฤดูเก็บจะอยู่ในช่วง
  เดือน พฤศจิกายน-มีนาคม ถ้าเป็นช่วงอื่นจะหายากและราคาสูง
  บางอย่างเป็นพืชพรรณในเขตมาเลเซีย เช่น หมากแดง ซึ่งมีลาต้น
  สีแดง เป็นปาล์มชั้นดีมีราคา มีผู้นิยมนาไปเพาะเพื่อประดับสวน
  เพราะความสวยของกาบและใบ ลาต้นมีสีแดงดังชื่อ ยังมีพืชอีก
  หลายชนิดที่น่าสนใจ
        ปาหนันช้าง พืชในวงศ์กระดังงาที่มีดอกใหญ่และกล้วยไม้กับ
    พืชเล็กๆ ซึ่งจะต้องสังเกตดีๆ จึงจะได้เห็นสัตว์ป่าที่พบกว่า
    200 ชนิด เช่น ค่าง ชะมด หมูป่า หมีขอ แมวป่าหัวแบน(ซึ่งเป็น
    สัตว์คุ้มครองที่หายากอีกชนิดหนึ่งของไทย) หนูสิงคโปร์ พบ
    ค่อนข้างยากในคาบสมุทรมลายูแต่ชุกชุมมากบนเกาะสิงคโปร์
    สาหรับประเทศไทยพบชุกชุมในป่าพรุโต๊ะแดงนี้เท่านั้น และหาก
    ป่าพรุถูกทาลายหนูเหล่านี้อาจออกไปทาลายผลิตผลของเกษตรกร
    ในพื้นที่โดยรอบได้
       พันธุ์ปลาที่พบ ได้แก่ ปลาปากยื่น เป็นปลาชนิดใหม่ของโลก
    พบที่ป่าพรุสิรินธรนี้เท่านั้น ปลาดุกราพัน ที่มีรูปร่างคล้ายงูซึ่งอาจ
    พัฒนาเป็นปลาเศรษฐกิจที่ใช้เลี้ยงในแหล่งที่มีปัญหาน้าเปรี้ยวได้
    ปลากะแมะ รูปร่างประหลาดมีหัวแบนๆกว้างๆ และลาตัวค่อยๆ
    ยาวเรียวไปจนถึงหาง มีเงี่ยงพิษอยู่ที่ครีบหลัง ปลาเหล่านี้จะอาศัย
    ป่าพรุเป็นพื้นที่หลบภัยและวางไข่ก่อนที่จะแพร่ลูกหลานออกไปให้
    ชาวบ้านได้อาศัยเป็นเครื่องยังชีพ
        นกที่นี่มีหลายชนิด แต่ที่เด่นๆ ได้แก่ นกกางเขนดงหางแดง มี
    มากในเกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว และมาเลเซีย ในประเทศไทย
    พบครั้งแรกที่นี่เมื่อปีพ.ศ. 2530 นกจับแมลงสีฟ้ามาเลเซีย ซึ่งใน
    ประเทศไทยจะพบที่ป่าพรุสิรินธรเพียงแห่งเดียวเท่านั้น และ
    ปัจจุบนนกทังสองชนิดอยูในภาวะล่อแหลมต่อการสูญพันธุ์
          ั       ้             ่
       ความน่าสนใจของป่าพรุไม่ใช่เพียงแต่ พรรณไม้แปลกๆ สัตว์
    ป่าหายาก แต่คนที่ไปเที่ยวโดยเฉพาะเด็กๆจะได้ประสบการณ์ชีวิต
    กลับไปมากมาย จากธรรมชาติรอบตัวบางทีหากเดินชมธรรมชาติ
    เงียบๆอาจจะได้พบสัตว์ป่ากาลังหาอาหารอยู่ก็เป็นได้ เส้นทางนี้
    นาเราเข้าไปหาธรรมชาติอย่างใกล้ชิดแต่ก็ไม่ได้นาเราเข้าไป
    ล่วงเกินธรรมชาติมากนัก
          หากนาคู่มือดูนก สมุดบันทึก ดินสอสี กล้องส่องตา กล้อง
    ถ่ายรูป และยาทากันยุงไปด้วย อาจจะเพลิดเพลินจนใช้เวลาในนี้
    ได้ทั้งวัน อากาศสดชื่นเย็นสบายในป่าพรุก็ยังทาให้คนที่เข้าไป
    เยือนรู้สึกสดชื่นประทับใจ แต่ช่วงเวลาที่มาท่องเที่ยวได้สะดวกคือ
    กุมภาพันธ์-เมษายน เพราะฝนจะตกน้อยที่สุด เนื่องจากป่าพรุมี
    ภูมิอากาศแบบคาบสมุทร ฉะนั้นจึงมีฝนตกชุกตลอดปี

More Related Content

Similar to ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน

ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)maneerat
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)maneerat
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)maneerat
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)maneerat
 
งานนำเสนอ นางสาวพรสวรรค์
งานนำเสนอ นางสาวพรสวรรค์งานนำเสนอ นางสาวพรสวรรค์
งานนำเสนอ นางสาวพรสวรรค์มัมมี่ อิอิ
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11aj_moo
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวsiriyakon14
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนMaiiTy
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 

Similar to ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน (20)

ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
 
งานนำเสนอ นางสาวพรสวรรค์
งานนำเสนอ นางสาวพรสวรรค์งานนำเสนอ นางสาวพรสวรรค์
งานนำเสนอ นางสาวพรสวรรค์
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 

ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน

  • 2. แนวพระราชดาริ  พ.ศ. 2545 หน่วยปฎิบัตการวิจัยร่วมทางธรรมชาติวิทยาป่าพรุ และ ิ ป่าดิบชื้นฮาลา-บาลา ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ศูนย์พันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ(ไบโอเทค) กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์ พืช ค้นคว้าวิจัยและสารวจเพื่อนาองค์ความรู้ไปขยายผลดาเนินการวิจัยต่อ เป็นการส่งเสริมงานวิจัยด้านชีวทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นแก่การรักษาและ ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนในพื้นที่ที่สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสนพระทัยและทรงงานวิจัยป่าพรุด้วย พระองค์เอง และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานชื่อ "ศุนย์วิจัยและ ศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริธร" พ.ศ. 2534
  • 3. ที่ตั้งของโครงการ  พื้นที่ดาเนินการอยู่บริเวณคลองโต๊ะแดง ฝั่งขวา ท้องที่บ้านโต๊ะ แดง หมู่ที่ 5 ตาบลปูโย๊ะ อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
  • 4. วัตถุประสงค์โครงการ  1. เพื่อศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย และสารวจหาข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับ ป่าพรุมาใช้ในการ อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าพรุ  2. เพื่ออนุรักษ์ป่าพรุสมบูรณ์ตามธรรมชาติให้คงอยู่ตลอดไป และฟื้นฟูสภาพ ป่าพรุเสื่อมโทรมให้กลับคืนสู่สภาพป่าที่สมบูรณ์ดังเดิม
  • 5.  3. เพื่อสาธิตและเผยแพร่งานป่าพรุทั้งด้านการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรป่าพรุ  4. เพื่อเสริมสร้างจิตสานึก และประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนได้ทราบ และ ตระหนักถึงความสาคัญของป่าพรุ
  • 8. ผลการดาเนินงานและกิจกรรมโครงการ  ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธร ภายใต้โครงการ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งรับผิดชอบงานทางด้านป่าไม้ ครอบคลุมพื้นที่ ป่าพรุโต๊ะแดง ทั้งหมด 125,625 ไร่ได้ดาเนินการตั้งปี 2533 โดย กรมป่าไม้ ได้พิจารณาคัดเลือกพื้นที่พรุที่จะดาเนินการจัดตั้ง สานักงานบริเวณคลองโต๊ะแดง ท้องที่บ้านโต๊ะแดง ตาบลปูโย๊ ะ อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
  • 9. ให้เป็นสถานที่สาหรับศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ และความ เพลิดเพลิน ในความหลากหลายของทรัพยากรป่าพรุธรรมชาติของ ประชาชนทั่วไป โดยใช้ชื่อว่า ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิ รินธร และในปี 2534 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้พิจารณา คัดเลือก ให้ศูนย์แห่งนี้เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสที่ทรงเจริญ พระชนมมายุ 36 พรรษา และต่อมาในปี 2535 ศูนย์ฯ แห่งนี้ได้รับ พระราชทานพระราชานุญาตใช้ชื่อว่า “ศูนย์วิจัยและศึกษา ธรรมชาติป่าพรุสิรินธร
  • 10. ความสาเร็จของโครงการ  ป่าพรุสิรินธรเป็นส่วนหนึ่งของป่าพรุโต๊ะแดง ป่าพรุ แห่งสุดท้ายของประเทศไทย ซึ่งคลุมพื้นที่ของ 3 อาเภอ คือ อาเภอตากใบ อาเภอสุไหงโกลก และอาเภอสุไหงปาดี มีพื้นที่ประมาณ 120,000 ไร่ แต่ส่วนที่สมบูรณ์ โดยประมาณมีเพียง 50,000 ไร่ เป็นป่าที่ยังคงความอุดม สมบูรณ์ด้วยสัตว์ป่าและ พรรณไม้ พื้นที่ป่าพรุมีลาน้า สาคัญหลายสายไหลผ่าน คือ
  • 12. ศูนย์ฯ ได้จัดให้มีทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติ เพื่อประชาสัมพันธ์ ความรู้ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับธรรมชาติของป่าพรุ เริ่มที่บึงน้าด้านหลังอาคาร ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธรเป็นสะพานไม้ต่อลัดเลาะเข้าไปใน ป่าพรุ ระยะทาง 1,200 เมตร บางช่วงเป็นสะพานไม้ร้อยลวดสลิง บางช่วง เป็นหอสูงสาหรับมองทิวทัศน์เบื้องล่างที่ชอุ่มไปด้วยไม้นานาพรรณในป่าพรุ จะมีป้ายชื่อต้นไม้ที่น่าสนใจ และซุ้มความรู้อยู่เป็นจุดๆ สาหรับให้ความรู้แก่ผู้ เดินชมด้วย เปิดทุกวันเวลา 8.00-16.00 น. ไม่เสียค่าเข้าชม และยังมีห้องจัด นิทรรศการให้ความรู้แก่คนที่มาเที่ยวชมอีกด้วย
  • 13.  ป่าพรุ หรือ peat swamp forest เกิดขึ้นได้อย่างไร คาตอบคือ เกิด จากแอ่งน้าจืดขังติดต่อกันชั่วนาตาปี และมีการสะสมของชั้นดินอินทรียวัตถุ ก็คือซากพืช ซากต้นไม้ ใบไม้ จนย่อยสลายอย่างช้าๆ กลายเป็นดินพีท (peat) หรือดินอินทรีย์ที่มีลักษณะหยุ่นยวบเหมือนฟองน้ามีความหนาแน่น น้อยอุ้มน้าได้มาก และพบว่ามีการสะสมระหว่างดินพีท กับดินตะกอนทะเล สลับชั้นกัน 2-3 ชั้น เนื่องจากน้าทะเลเคยมีระดับสูงขึ้นจนท่วมป่าพรุ เกิดการ สะสมของตะกอน น้าทะเลถูกขังอยู่ด้านใน พันธุ์ไม้ในป่าพรุตายไปและเกิดป่า ชายเลนขึ้นแทนที่ เมื่อระดับน้าทะเลลดลงและมีฝนตกลงมาสะสมน้าที่ขังอยู่ จึงจืดลง และเกิดป่าพรุขึ้นอีกครั้ง ดินพรุชั้นล่างมีอายุถึง 6,000-7,000 ปี ส่วน ดินพรุชั้นบนอยู่ระหว่าง 700-1,000 ปี
  • 14. ระบบนิเวศน์ในป่าพรุนั้นมีหลากหลาย ทุกชีวิตล้วน เกี่ยวพันต่อเนื่องกัน ไม้ยืนต้นจะมีระบบรากแขนงแข็งแรง แผ่ออกไปเกาะเกี่ยวกันเพื่อจะได้ช่วยพยุงลาต้นของกัน และกันให้ทรงตัวอยู่ได้ ฉะนั้นต้นไม้ในป่าพรุจึงอยู่รวมกัน เป็นกลุ่ม หากต้นใดล้ม ต้นอื่นจะล้มตามไปด้วย
  • 15.  พันธุ์ไม้ที่พบในป่าพรุมีกว่า 400 ชนิด บางอย่างนามารับประทาน ได้ เช่น หลุมพี ซึ่งเป็นไม้ในตระกูลปาล์ม มีลักษณะต้นและใบ คล้ายปาล์ม แต่มีหนามแหลมอยู่ตลอดก้าน ผลมีลักษณะคล้าย ระกา แต่จะเล็กกว่า รสชาติออกเปรี้ยว ชาวบ้านนามาดองและส่ง ขายฝั่งมาเลเซีย ซึ่งคนมาเลย์จะนิยมมาก ฤดูเก็บจะอยู่ในช่วง เดือน พฤศจิกายน-มีนาคม ถ้าเป็นช่วงอื่นจะหายากและราคาสูง บางอย่างเป็นพืชพรรณในเขตมาเลเซีย เช่น หมากแดง ซึ่งมีลาต้น สีแดง เป็นปาล์มชั้นดีมีราคา มีผู้นิยมนาไปเพาะเพื่อประดับสวน เพราะความสวยของกาบและใบ ลาต้นมีสีแดงดังชื่อ ยังมีพืชอีก หลายชนิดที่น่าสนใจ
  • 16. ปาหนันช้าง พืชในวงศ์กระดังงาที่มีดอกใหญ่และกล้วยไม้กับ พืชเล็กๆ ซึ่งจะต้องสังเกตดีๆ จึงจะได้เห็นสัตว์ป่าที่พบกว่า 200 ชนิด เช่น ค่าง ชะมด หมูป่า หมีขอ แมวป่าหัวแบน(ซึ่งเป็น สัตว์คุ้มครองที่หายากอีกชนิดหนึ่งของไทย) หนูสิงคโปร์ พบ ค่อนข้างยากในคาบสมุทรมลายูแต่ชุกชุมมากบนเกาะสิงคโปร์ สาหรับประเทศไทยพบชุกชุมในป่าพรุโต๊ะแดงนี้เท่านั้น และหาก ป่าพรุถูกทาลายหนูเหล่านี้อาจออกไปทาลายผลิตผลของเกษตรกร ในพื้นที่โดยรอบได้
  • 17. พันธุ์ปลาที่พบ ได้แก่ ปลาปากยื่น เป็นปลาชนิดใหม่ของโลก พบที่ป่าพรุสิรินธรนี้เท่านั้น ปลาดุกราพัน ที่มีรูปร่างคล้ายงูซึ่งอาจ พัฒนาเป็นปลาเศรษฐกิจที่ใช้เลี้ยงในแหล่งที่มีปัญหาน้าเปรี้ยวได้ ปลากะแมะ รูปร่างประหลาดมีหัวแบนๆกว้างๆ และลาตัวค่อยๆ ยาวเรียวไปจนถึงหาง มีเงี่ยงพิษอยู่ที่ครีบหลัง ปลาเหล่านี้จะอาศัย ป่าพรุเป็นพื้นที่หลบภัยและวางไข่ก่อนที่จะแพร่ลูกหลานออกไปให้ ชาวบ้านได้อาศัยเป็นเครื่องยังชีพ
  • 18. นกที่นี่มีหลายชนิด แต่ที่เด่นๆ ได้แก่ นกกางเขนดงหางแดง มี มากในเกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว และมาเลเซีย ในประเทศไทย พบครั้งแรกที่นี่เมื่อปีพ.ศ. 2530 นกจับแมลงสีฟ้ามาเลเซีย ซึ่งใน ประเทศไทยจะพบที่ป่าพรุสิรินธรเพียงแห่งเดียวเท่านั้น และ ปัจจุบนนกทังสองชนิดอยูในภาวะล่อแหลมต่อการสูญพันธุ์ ั ้ ่
  • 19. ความน่าสนใจของป่าพรุไม่ใช่เพียงแต่ พรรณไม้แปลกๆ สัตว์ ป่าหายาก แต่คนที่ไปเที่ยวโดยเฉพาะเด็กๆจะได้ประสบการณ์ชีวิต กลับไปมากมาย จากธรรมชาติรอบตัวบางทีหากเดินชมธรรมชาติ เงียบๆอาจจะได้พบสัตว์ป่ากาลังหาอาหารอยู่ก็เป็นได้ เส้นทางนี้ นาเราเข้าไปหาธรรมชาติอย่างใกล้ชิดแต่ก็ไม่ได้นาเราเข้าไป ล่วงเกินธรรมชาติมากนัก
  • 20. หากนาคู่มือดูนก สมุดบันทึก ดินสอสี กล้องส่องตา กล้อง ถ่ายรูป และยาทากันยุงไปด้วย อาจจะเพลิดเพลินจนใช้เวลาในนี้ ได้ทั้งวัน อากาศสดชื่นเย็นสบายในป่าพรุก็ยังทาให้คนที่เข้าไป เยือนรู้สึกสดชื่นประทับใจ แต่ช่วงเวลาที่มาท่องเที่ยวได้สะดวกคือ กุมภาพันธ์-เมษายน เพราะฝนจะตกน้อยที่สุด เนื่องจากป่าพรุมี ภูมิอากาศแบบคาบสมุทร ฉะนั้นจึงมีฝนตกชุกตลอดปี