SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู 
หนวยการเรียนที่  1              รหัสวิชา   ค31101  คณิตศาสตรพื้นฐาน 
เรื่อง  การใหเหตุผล  ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4           จํานวน  5 ชั่วโมง 
……………………………………………………………………………………………………… 

มาตรฐาน ค ๔.๑ 
      เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern)  ความสัมพันธ และฟงกชัน 

ตัวชี้วัด 
         ม.4-6/2  เขาใจและสามารถใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย 

มาตรฐานการเรียนรู 

       ค 6.1  มีความสามารถในการแกปญหา  การใหเหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทาง 
คณิตศาสตร  และการนําเสนอ  การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตร 
                                               
กับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค 

        ตัวชี้วัด ม.4-6/1-6 
        1.  ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา 
        2.  ใชความรู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาใน 
            สถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม 
        3.  ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม 
        4.  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ 
            นําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน 
        5.  เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและนําความรู  หลักการกระบวนการทาง 
            คณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ 
        6.  มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
1.  มาตรฐานการเรียนรู 
          มาตรฐาน ค ๔.๑ เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชน ั
          มาตรฐานค 6.1  มีความสามารถในการแกปญหา  การใหเหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อ 
ความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ  การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและ 
เชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค 
2.  ตัวชี้วัด 
              ม.4-6/2  เขาใจและสามารถใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยจุดประสงคการเรียนรู 
     2.1  ดานความรู (Knowledge) : นักเรียนสามารถ 
          2.1.1  บอกไดวาการใหเหตุผลที่กําหนดใหเปนแบบอุปนัยหรือนิรนัย 
     2.1  ดานทักษะ / กระบวนการ (Process) : 
          2.1.1  นักเรียนมีความสามารถในการแกปญหา 
          2.1.2  นักเรียนมีความสามารถในการใหเหตุผล 
          2.1.3  นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารและนําเสนอ 
     2.2  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค (Attitude) : 
                                ึ
          2.2.1  นักเรียนมีระเบียบวินย  ั
          2.2.2  นักเรียนทํางานอยางมีระบบและรอบคอบ 
          2.2.3  นักเรียนมีความรับผิดชอบ 
1.  สาระการเรียนรู 
      การใหเหตุผลทางตรรกศาสตร  แบงเปน 2  แบบ  คือ 
      1.  การใหเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning)  การใหเหตุผลแบบนี้เปนการสรุปผลโดย 
          ใชประสบการณ  หรือใชเหตุการณเฉพาะซึ่งเกิดขึ้นซ้ําๆกันหลายครั้งมาคาดคะเนผลสรุป 
      2.  การใหเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)  การใหเหตุผลแบบนี้เปนการใหเหตุผลที่ 
          อางวาสิ่งที่กําหนดใหยืนยันผลสรุป  โดยกําหนดใหเหตุ(หรือขอสมมติ) เปนจริงหรือยอมรับ 
          วาเปนจริงแลวใชเกณฑตางๆ  สรุปผลจากเหตุที่กําหนดให 
2.  กิจกรรมการเรียนการรู 
     1.  ครูทบทวนเนื้อหาที่เรียนผานมา 
     2.  ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังนักเรียนทราบ 
     3.  แบงกลุมนักเรียนออกเปนกลุมละประมาณ 5 คน และใหนกเรียนปฏิบัติงานโดยใช 
                                                                 ั
          กระบวนการกลุม 
     4.  แจกใบความรูใหนกเรียนแตละกลุมศึกษา 
                              ั
     5.  สุมตัวแทนกลุม 1-2 กลุม มาเสนอผลงานหรืออธิบายเนื้อหาตามหัวขอในใบความรูและให 
          นักเรียนรวมกันอภิรายซักถาม
6.  นักเรียนและครูรวมกันสรุปเนื้อหา 
    7.  แจกใบกิจกรรมใหนกเรียนฝกปฏิบัติ 
                             ั
    8.  ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะเปนรายบุคคลแลวสุมนักเรียน 1-2 คน เสนอผลงาน และนักเรียน 
         และครูรวมกันอภิปรายในกรณีที่มีขอบกพรอง 
3.  สื่อการเรียนการสอน 
    5.1  สื่อการเรียนรู 
         5.1.1  ใบความรู                                  5.1.4  หนังสือเรียน สสวท. 
         5.1.2  ใบกิจกรรม                                  5.1.5  VCD 
         5.1.3  แบบฝกทักษะ 
    5.2  แหลงการเรียนรู คนหาขอมูลจากระบบอินเตอรเนต 
4.  การวัดผลประเมินผล 
    การวัดผลประเมินผลอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามหัวขอคือ    ดานความรู  ,  ดานทักษะ  / 
    กระบวนการทางคณิตศาสตร และดานคุณลักษณะอันพึงประสงค ดังนี้ 
            สาระการเรียนรู            น้ําหนัก  น้ําหนัก       วิธีวัด       เครื่องมือวัด 
                                       คะแนน  คะแนน 
                                                 K  A  P 
    ดานความรู                            5               ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน 
ž บอกไดวาการใหเหตุผลที่                                                คุณภาพดานความรู 
    กําหนดใหเปนแบบอุปนัยหรือ 
    นิรนัย 
ดานทักษะ/กระบวนการ                        3               ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน 
ž การแกปญหา                                                             คุณภาพดานทักษะ 
ž การใหเหตุผล                                                            กระบวนการ 
ž การสื่อสารและนําเสนอ 
ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค                 2               ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน 
ž มีระเบียบวินัย                                           หรือ           คุณภาพดาน 
ž มีความรอบคอบ                                             สังเกต         คุณลักษณะที่พึง 
ž มีความรับผิดชอบ                                          พฤติกรรมใน  ประสงค
                                                           หอง 
เกณฑประเมินคุณภาพดานตาง ๆ 
   6.1  การประเมินผลดานความรู 
  คะแนน / 
                                    ผลการทําแบบฝกหัดที่ปรากฏใหเห็น 
 ความหมาย 
      4
                การแสดงวิธีทําชัดเจน สมบูรณ คําตอบถูกตอง ครบถวน 
    ดีมาก 
      3         การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจนนัก แตอยูในแนวทางที่ถกตอง คําตอบถูกตอง 
                                                                  ู
      ดี        ครบถวน 
      2         การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจน หรือไมแสดงวิธีทํา คําตอบถูกตอง ครบถวน หรือ 
   พอใช        การแสดงวิธีทําชัดเจน สมบูรณ แตคําตอบไมถูกตอง ขาดการตรวจสอบ 
      1         การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจน แตอยูในแนวทางที่ถกตอง คําตอบไมถูกตอง หรือ 
                                                               ู
  ควรแกไข  ไมแสดงวิธีทําและ คําตอบที่ไดไมถูกตองแตอยูในแนวทางถูกตอง 
                                                             
      0 
                ทําไดไมถึงเกณฑ 
ตองปรับปรุง 

   6.2  เกณฑการใหคะแนนดานทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร 
   การแกปญหา 
           
  คะแนน / 
                                  ความสามารถในการแกปญหาที่ปรากฏใหเห็น 
 ความหมาย 
      4         ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ  อธิบายถึงเหตุผลใน 
    ดีมาก       การใชวิธีการดังกลาวไดเขาใจชัดเจน 
      3         ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จ  แตนาจะอธิบายถึงเหตุผลในการใช 
      ดี        วิธีการดังกลาวไดดีกวานี้ 
      2         ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จเพียงบางสวน  จะอธิบายถึงเหตุผลในการ 
   พอใช        ใชวิธีการดังกลาวไดบางสวน 
      1         มีรองรอยการดําเนินการแกปญหาบางสวน  เริ่มคิดวาทําไมจึงตองใชวิธการนัน 
                                                                                    ี ้
ตองปรับปรุง  แลวหยุดอธิบายตอไปไมได  แกปญหาไมสําเร็จ 
      0 
                ทําไดไมถึงเกณฑขางตน  หรือไมมีรองรอยการดําเนินการแกปญหา
 ไมพยายาม 
การใหเหตุผล 
   คะแนน / 
                               ความสามารถในการใหเหตุผลทีปรากฏใหเห็น 
                                                         ่
  ความหมาย 
       4
                 มีการอางอิง  เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอยางสมเหตุสมผล 
     ดีมาก 
       3 
                 มีการอางอิงที่ถูกตองบางสวน  และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ 
       ดี 
       2
                 เสนอแนวคิดไมสมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสินใจ 
    พอใช 
       1 
                 มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ 
 ตองปรับปรุง 
       0 
                 ไมมีแนวคิดประกอบการตัดสินใจ 
  ไมพยายาม 



    การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ 
   คะแนน /               ความสามารถในการสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร 
  ความหมาย                             และการนําเสนอที่ปรากฏใหเห็น 
                 ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรที่ถูกตอง  นําเสนอโดยใชกราฟ 
       4
                 แผนภูมิหรือตารางแสดงขอมูลประกอบตามลําดับขั้นตอนไดเปนระบบ 
     ดีมาก 
                 กระชับ  ชัดเจน  และ มีรายละเอียดสมบูรณ 
       3         ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร  นําเสนอโดยใชกราฟ  แผนภูมิหรือ 
       ดี        ตารางแสดงขอมูลประกอบลําดับขันตอนไดถูกตอง  ขาดรายละเอียดที่สมบูรณ 
                                                 ้
       2         ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร  พยายามนําเสนอขอมูลโดยใชกราฟ 
    พอใช        แผนภูมิหรือตารางแสดงขอมูลประกอบชัดเจนบางสวน 
       1         ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรอยางงาย ๆ ไมไดใชกราฟ  แผนภูมิหรือ 
 ตองปรับปรุง  ตารางเลย  และการนําเสนอขอมูลไมชัดเจน 
       0 
                 ไมนําเสนอ
  ไมพยายาม 
6.3  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค 
                           ึ
   มีความรับผิดชอบ 
  คะแนน / 
                                            คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น 
 ความหมาย 
                 สงงานกอนหรือตรงกําหนด เวลานัดหมาย 
      3
                 รับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายและปฏิบัติเองจนเปนนิสัยเปนระบบแกผูอื่น 
    ดีมาก 
                 และแนะนําชักชวนใหผูอื่นปฏิบัติ 
      2          สงงานชากวากําหนด แตมการติดตอชี้แจงครูผูสอน   มีเหตุผลที่รับฟงได 
                                          ี
      ดี         รับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย  ปฏิบัติเองจนเปนนิสัย 
      1          สงชากวากําหนด 
   พอใช         ปฏิบัติงานโดยตองอาศัยการชี้แนะ แนะนํา ตักเตือนหรือใหกําลังใจ 

   มีระเบียบวินัย 
  คะแนน / 
                                             คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น 
 ความหมาย 
      3          สมุดงาน  ชิ้นงานสะอาดเรียบรอย 
   ดีมาก         ปฏิบัติอยูในขอตกลงที่กําหนด  ใหความรวมมือทุกครั้ง 
      2          สมุดงาน  ชิ้นงานสวนใหญสะอาดเรียบรอย 
      ดี         ปฏิบัติอยูในขอตกลงที่กําหนด  ใหความรวมมือกันไดเปนสวนใหญ 
      1          สมุดงาน  ชิ้นงานไมคอยเรียบรอย 
   พอใช         ปฏิบัติตนอยูในขอตกลงทีกําหนดใหรวมกันเปนบางครั้ง  ตองอาศัยการแนะนํา 
                                           ่

ทํางานเปนระบบและรอบคอบ 
    คะแนน / 
                                         คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น 
  ความหมาย 
       3       มีการวางแผนการดําเนินงานอยางเปนระบบการทํางานมีครบทุกขันตอน  ตัด 
                                                                             ้
     ดีมาก     ขั้นตอนที่ไมสําคัญออกไดจดเรียงลําดับความสําคัญกอน – หลังถูกตองครบถวน 
                                          ั
       2       มีการวางแผนการดําเนินงานการทํางานไมครบทุกขันตอน  และผิดพลาดบาง 
                                                               ้
       ดี      จัดเรียงลําดับความสําคัญกอน – หลังไดเปนบางสวน 
       1       ไมมีการวางแผนการดําเนินงานการทํางานไมมีขั้นตอน  มีความผิดพลาดตอง 
     พอใช     แกไขไมจดเรียงความสําคัญ
                          ั
ใบความรู 
                                         การใหเหตุผล 

    การใหเหตุผลทางตรรกศาสตร  แบงเปน 2  แบบ  คือ 
    1.การใหเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning)  การใหเหตุผลแบบนี้เปนการสรุปผล 
โดยใชประสบการณ  หรือใชเหตุการณเฉพาะซึ่งเกิดขึนซ้ําๆกันหลายครั้งมาคาดคะเนผลสรุป 
                                                   ้
    2.การใหเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)  การใหเหตุผลแบบนี้เปนการใหเหตุ 
ผลที่อางวาสิ่งที่กําหนดใหยนยันผลสรุป  โดยกําหนดใหเหตุ(หรือขอสมมติ) เปนจริงหรือยอมรับวา 
                             ื
เปนจริงแลวใชเกณฑตางๆ  สรุปผลจากเหตุที่กําหนดให 

การใหเหตุผลแบบอุปนัย 
          การใหเหตุผลแบบอุปนัยเปนการใหเหตุผลโดยยึดความจริงจากสวนยอยที่พบเห็นไปสูความ 
จริงที่เปนสวนรวม  เชน  เราพบวา  ทุกเชพระอาทิตยขึ้นทางทิศตะวันออกและตอนเย็นพระอาทิตยจะ 
ตกทางทิศตะวันตก  จึงใหขอสรุปวา  พระอาทิตยขนทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก 
                                                   ึ้
          ลายนิ้วมือของแตละคนนั้นแตกตางกัน  มีการทดลองโดยการนําลายนิ้วมือของคนหนึ่งแสน 
คนมาเปรียบเทียบกัน  และพบวา  ไมมีลายนิวมือของใครที่ซ้ํากัน  จากการทดลองทดสอบความ 
                                            ้
เหมือนของลายนิ้วมือขางตน  เราสามารถสรุปการใหเหตุผลแบบอุปนัยไดวา  ลายนิ้วมือของแตละคน 
ไมเหมือนกัน  ซึ่งจากการใหขอสรุปดังกลาว  สามารถใชเปนหลักฐานในการสอบสวนหาผูกระทําผิด 
                                                                                        
ของเจาหนาที่ตํารวจไดในปจจุบัน 
          ในวิชาคณิตศาสตรมีการใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย  เพื่อชวยสรุปคําตอบหรือชวยในการ 
แกปญหา  เชน  เมื่อสังเกตจากรูปแบบของจํานวน 1,2,3,4,5,6,7,8,9,10  เราสามารถหาจํานวนนับถัด 
จาก 10 อีก 5 จํานวน  ไดโดยใชขอสังเกตจากแบบรูปของจํานวน 1 ถึง 10  วามีคาเพิ่มขึ้นทีละหนึ่ง 
ดังนั้น  จํานวนนับที่ถัดจาก 10 อีก 5 จํานวน  คือ  11,12,13,14 และ15  การหาจํานวนนับอีกหาจํานวน 
ที่ไดจากการสังเกตที่กลาวมาเปนตัวอยางของการใหเหตุผลแบบอุปนัย
ตัวอยางที่ 1 จงใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย เพื่อหาสมการหรือคําตอบจากแบบรูปทีกําหนดใหตอไปนี้ 
                                                                              ่
1)  (1 x 9) + 2                 =  11               7)             9 x 9     =  81 
       (12 x 9) + 3             =  111                           909 x 9     =  8,181 
       (123 x 9) + 4            =  1,111                      90,909 x 9     =  818,181 
       _______________  =  __________                    _______________     =  __________ 
2)  1                           =  1                8)          1 x 8 + 1    =  9 
       1 + 2                    =  3                          12 x 8 + 2     =  98 
       1 + 2 + 3                =  6                         123 x 8 + 3     =  987
       1 + 2 + 3 +4             =  10                    _______________     =  __________ 
       _______________  =  __________ 
3)                       1      =  1                9)  9 x 1 – 1            =  8 
                     1 + 3      =  4                     9 x 21 – 1          =  188
                 1 + 3 + 5      =  9                     9 x 321 – 1         =  2,888 
       _______________  =  __________                    _______________     =  __________ 
4)  1+10                        =  11               10)  1,089 x 1           =  1,089 
       1+10+100                 =  111                   1,089 x 2           =  2,178 
       1+10+100 +1,000          =  1,111                 1,089 x 3           =  3,267 
       _______________  =  __________                    1,089 x 4           =  __________ 
5)  11 x 11                     =  121                   1,089 x 5           =  __________ 
       111 x 111                =  12,321                1,089 x 6           =  __________ 
       1,111 x 1,111            =  1,234,321             1,089 x 7           =  __________ 
       _______________  =  __________                    1,089 x 8           =  __________ 
6)                  9 x 9       =  81                    1,089 x 9           =  __________ 
                   99 x 9       =  891
                 999 x 9        =  8,991 
       _______________             __________ 

                 เมื่อไดคําตอบแลว  ควรตรวจสอบคําตอบที่ไดดวยวาเปนจริงหรือไม
                                                            
คําตอบ 
        1)  1,234 x 9 + 5                =   11,111 
        2)  1 + 2 + 3 + 4 + 5            =   15 
        3)  1 + 3 + 5 + 7                =   16 
        4)  1 + 10 +100 + 1,000 + 10,000 =   11,111 
        5)  11,111 x 11,111              =   123,454,321 
        6)  9,999 x 9                    =   89,991 
        7)  9,090,909 x 9                =   81,818,181 
        8)  1,234 x 8 + 4                =   9,876 
        9)  9 x 4,321 – 1                =   38,888 
        10) 1,089 x 4                    =   4,356 
            1,089 x 5                    =   5,445 
            1,089 x 6                    =   6,534 
            1,089 x 7                    =   7,623 
            1,089 x 8                    =  8,712 
            1,089 x 9                    =   9,801 

ตัวอยางที่  2  จงหาวา  ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนทีเ่ ปนจํานวนคี่จะเปนจํานวนคูหรือ 
                จํานวนคี่  โดยการใชเหตุผลแบบอุปนัย 
วิธีทํา  ในการหาคําตอบขางตนโดยใชหลักการใหเหตุผลแบบอุปนัย  ทําไดโดยการพิจารณาผลคูณ 
         ของจํานวนนับที่เปนจํานวนคี่หลายๆจํานวน  ดังนี้ 
          พิจารณาผลคูณของ 
          1 x 3  =  3             3 x 5  =  15            5 x 7  =  35          7 x 9  = 63 
          1 x 5  =  5             3 x 7  =  21            5 x 9  =  45          7 x 11 = 77 
          1 x 7  =  7             3 x 9  =  27            5 x 11  = 55          7 x 13 = 91 
          1 x 9  =  9             3 x 11 = 33             5 x 13  = 65          7 x 15 = 105 
          จากการหาผลคูณของจํานวนนับที่เปนจํานวนคีขางตน  และใชวิธีการสังเกต  จะพบวา  ผล 
                                                     ่
คูณที่ไดจะเปน  จํานวนคี่ 
สรุปวา  ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนที่เปนจํานวนคี่  จะเปนจํานวนคี่  โดยการใชการใหเหตุผล 
          แบบอุปนัย
ตัวอยางที่ 3  ถาผลบวกของเลขโดดในแตละหลักของจํานวนนับใดๆหารดวย 3 ลงตัว  แลวมีขอ 
               สรุปเกี่ยวกับจํานวนนับดังกลาวอยางไร 
วิธีทํา  พิจารณาจํานวนนับที่มีผลบวกของเลขโดดในแตละหลักหารดวย 3 ลงตัว 
      จํานวนนับ  ผลบวกของเลขโดดในแตละหลัก  ผลหารของจํานวนนับดวย 3 
          111           1 + 1 + 1              =   3   111 ¸ 3            =    37 
          123           1 + 2 + 3              =   6   123 ¸ 3            =    41 
          171           1 + 7 + 1              =   9   171 ¸ 3            =    57 
          543           5 + 4 + 3              =   12  543 ¸ 3            =    181 
         2,943          2 + 9 + 4 + 3        =   18    2,943 ¸ 3          =    981 
         9,873          9 + 8 + 7 + 3        =   27    9,873 ¸ 3          =    3,291 
         5,220          5 + 2 + 2 + 0        =   9     5,220 ¸ 3          =    1,740 

        จากตัวอยางของจํานวนนับขางตน  มีขอสังเกตวา  เมื่อผลบวกของเลขโดดในแตละหลักหาร 
ดวย 3 ลงตัว  จํานวนดังกลาวจะหารดวย 3 ลงตัว  เชนกัน 
        โดยใชวิธีการใหเหตุผลแบบอุปนัย  สรุปไดวา  จํานวนนับที่มีผลบวกของเลขโดในแตละ 
หลักหารดวย 3 ลงตัว  จํานวนนับดังกลาวจะหารดวย 3 ลงตัวเชนกัน 

ตัวอยางที่ 4  ใหเลือกจํานวนนับมา 1 จํานวน  และปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้ 
        1)  คูณจํานวนนับที่เลือกไวดวย 4 
                                      
        2)  บวกผลลัพธในขอ 1)  ดวย 6 
        3)  หารผลบวกในขอ 2)  ดวย 2 
        4)  ลบผลหารในขอ 3)  ดวย 3 
            เชน  ถาเลือกจํานวน  5 
        1)  คูณจํานวนนับที่เลือกไวดวย 4  จะได 5 x 4 = 20 
                                        
        2)  บวกผลลัพธในขอ 1) ดวย 6  จะได  20 + 6 = 26 
        3)  หารผลบวกในขอ 2)  ดวย 2  จะได  26 ¸ 2 = 13 
        4)  ลบผลหารในขอ 3)  ดวย 3  จะได  13 – 3  = 10 
        จะพบวา  จากจํานวนที่เลือกคือ  5  จะไดคําตอบสุดทายเทากับ 10 
        ลองเลือกจํานวน  1,2,3,4,6,7,8 และ 9  แลวทําตามวิธีที่กําหนดไวขางตน  มีขอสรุปอยางไร 
        เมื่อใชวิธีการใหเหตุผลแบบอุปนัย 

วิธีทํา  จากการหาคําตอบโดยใชวิธีการทีกําหนดให  ในตัวอยางขางตนมีขอสังเกตวา  คําตอบ
                                      ่
สุดทายจะเทากับสองเทาของจํานวนที่เลือกไวครั้งแรกเสมอ 
สรุปวา  เมื่อใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย  คําตอบสุดทายจะเปนสองเทาของจํานวนที่เลือกไว 
         ครั้งแรก  เมื่อไดดําเนินการการตามวิธีทกําหนดให 
                                                ี่

         อยางไรก็ดการหาขอสรุป  หรือความจริงโดยใชวิธีการใหเหตุผลแบบอุปนัยนั้น  ไม 
                        ี
จําเปนตองถูกตองทุกครั้ง  เนื่องจากการใหเหตุผลแบบอุปนัยเปนการสรุปผลเกินจากหลักฐาน 
ขอเท็จจริงที่มีอยู  ดังนัน  ขอสรุปจะเชื่อถือไดมากนอยเพียงใดนันขึ้นอยูกับลักษณะของขอมูล 
                           ้                                        ้      
หลักฐานและขอเท็จจริงที่นํามาอางซึ่งไดแก 
         1)  จํานวนขอมูล  หลักฐานหรือขอเท็จจริงทีนํามาเปนขอสังเกตหรือขออางอิงมีมากพอกับ 
                                                            ่
การสรุปหรือไม  เชน 
              (1)  ถาไปรับประทานอาหารที่รานแหงหนึ่งแลวเกิดทองเสีย  แลวสรุปวา  อาหารที่ราน 
ดังกลาวทําใหทองเสีย  การสรุปจากเหตุการณที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว  ยอมจะนาเชื่อถือไดนอยกวาไป 
รับประทานอาหารที่รานดังกลาวบอยๆแลวทองเสียแทบทุกครั้ง 
              (2)  จากรูปแบบของจํานวน 2,4,a    a  ควรเปนจํานวนใด 
คําตอบที่ไดจากการสังเกตแบบรูปทีกําหนดใหคือ  2,4  มีไดตางกันดังนี้ 
                                          ่
                     ถา  เหตุผล  คือ  2 + 2 = 4  จะไดวา a = 6 
                     แตถา เหตุผล คือ  2 = 2 1  และ  4 = 2 2 
                     a  จะเทากับ  2 3  หรือ  8 
         2)  ขอมูล  หลักฐานหรือขอเท็จจริงเปนตัวแทนที่ดในการใหขอสรุปหรือไม  เชน  ถาอยากรู 
                                                                  ี      
วาคนไทยชอบกินขาวเจาหรือขาวเหนียวมากกวากัน  ถาถามจากคนที่อาศัยอยูในภาคเหนือหรือภาค 
อีสาน  คําตอบที่ที่ตอบวาชอบกินขาวเหนียวอาจจะมีมากกวาชอบกินขาวเจา  แตถาถามคนที่อาศัยอยู 
ในภาคกลางหรือภาคใต  คําตอบอาจจะเปนในลักษณะตรงกันขาม 
         3)  ขอสรุปที่ตองการมีความซับซอนมากนอยเพียงใด  เชน  ในเรื่องที่เกี่ยวกับจิตใจ 
ตัวอยางเชน  การมีลูกชายจะดีกวาการมีลูกสาว  เปนตน  ซึ่งความคิดในเรื่องดังกลาวจะคอนขาง 
ซับซอนและขึ้นอยูกับเหตุผลสวนตัวของแตละคนซึ่งแตกตางกัน
การใหเหตุผลแบบนิรนัย 
        การใหเหตุผลแบบนิรนัยเปนการนําความรูพนฐานซึ่งอาจเปนความเชื่อ  ขอตกลง  กฎ  หรือ 
                                                      ื้
บทนิยาม  ซึ่งเปนสิ่งที่รูมากอนและยอมรับวาเปนจริง  เพื่อหาเหตุผลนําไปสูขอสรุป  เชน 
        ถา  1)  รูปสี่เหลี่ยมดานขนานเปนรูปสี่เหลี่ยมที่มีดานตรงขามขนานกันสองคู 
        และ 2)  รูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนเปนรูปสี่เหลี่ยมที่มีดานตรงขามขนานกันสองคู  มีดาน 
                  แตละดานยาวเทากัน  และไมมีมุมใดเปนมุมฉาก 
        แลว 3)  รูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนเปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน 
        เรียกขอความหรือประโยค 1) และ 2) วา เหตุ  หรือ  สมมติฐาน  และเรียกขอความหรือ 
ประโยคในขอ 3)  วา ผล 
        และเรียกวิธีการสรุปขอเท็จจริงซึ่งเปนผลมาจาก  เหตุซึ่งเปนความรูพนฐานวา 
                                                                              ื้
        การใหเหตุผลแบบนิรนัย 

ตัวอยางการใหเหตุผลแบบนิรนัย 
ตัวอยางที่ 1  เหตุ  1) จํานวนคูหมายถึงจํานวนที่หารดวย 2 ลงตัว 
                     2) 10 หารดวย 2  ลงตัว 
                ผล  10  เปนจํานวนคู 

ตัวอยางที่ 2    เหตุ  1) คนที่ไมมีหนี้สินและมีเงินฝากในธนาคารมากกวา 10 ลานบาทเปนเศรษฐี 
                       2) คุณมานะไมมีหนี้สินและมีเงินฝากในธนาคาร 11 ลานบาท 
                 ผล  คุณมานะเปนเศรษฐี 

ตัวอยางที่ 3    เหตุ  1) นักกีฬากลางแจงทุกคนจะตองมีสุขภาพดี 
                      2) เกียรติศกดิ์เปนนักฟุตบอลทีมชาติไทย 
                                 ั
                 ผล  เกียรติศกดิ์มีสุขภาพดี 
                               ั



ตัวอยางที่ 4  เหตุ  1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดตองตาย 
        และ  2.  คนเปนสิ่งมีชีวต 
                                 ิ
        เราจะสรุปผลไดวา 
        ผล  คนตองตาย
ใบกิจกรรม 

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  นักเรียนสามารถบอกไดวาการใหเหตุผลที่กําหนดใหเปนแบบอุปนัย 
                          หรือนิรนัย 
1.ใหนักเรียนพิจารณาลักษณะการใหเหตุผลในแตละขอตอไปนี้วาเปนการใหเหตุผลแบบอุปนัย 
   หรือนิรนัย 
  .………..(1)  การใหเหตุผลโดยอางจากตัวอยางหรือประสบการณยอยหลายๆตัวอยาง  แลว 
               สรุปเปนความรูทวไป 
                               ั่
  .………..(2)  การใหเหตุผลจากเหตุการณเฉพาะซึ่งเกิดขึนซ้ําๆกันหลายครั้ง 
                                                      ้
  .………..(3)  การใหเหตุผลโดยใชการคาดคะเน 
  .………..(4)  การใหเหตุผลโดยอางเหตุผลจากความรูพื้นฐานชุดหนึ่งที่ยอมรับกันมากอน 
  .………..(5)  การใหเหตุผลจากประสบการณ 
  .………..(6)  การใหเหตุผลทีเมื่อกําหนดใหเหตุ (หรือขอสมมติ)  เปนจริงหรือยอมรับวาจริงแลว 
               ใชกฎเกณฑตางๆ สรุปผลจากสิ่งที่กําหนดให 

 .………..(7)  การใหเหตุผลที่สิ่งที่กําหนดใหเพียงแตสนับสนุนผลสรุปเทานั้น     แตไมสามารถ 
           ยืนยันขอสรุปได 
 .………..(8)  การใหเหตุผลในลักษณะทีกําหนดใหเหตุ (หรือขอสมมติ)  เปนจริงหรือยอมรับวา 
                                       ่
          จริง แลวใชกฎเกณฑตางๆสรุปผลจากสิ่งที่กาหนด 
                                                       ํ

2. จงพิจารณาวาการใหเหตุผลในแตละขอตอไปนี้เปนการใหเหตุผลแบบอุปนัยหรือนิรนัย 
  (1)  เหตุ  1.เด็กชายกองชอบอานการตูน 
                2.เด็กหญิงนิดชอบอานการตน ู
        ผลสรุป เด็กทุกคนชอบการตูน 
        เปนการใหเหตุผลแบบ…………………………………….. 
  (2)  เหตุ  1.หมอดูหม่ําทายถูกวา  มาลินีจะสอบเขามหาวิทยาลัยได 
                2.หมอดูหม่ําทายถูกวา  คุณแมของมาลินีจะขายที่ดินได 
        ผลสรุป หมอดูหม่ําเพิ่งทํานายวาคุณพอของมาลินีจะไดเลื่อนตําแหนงนาจะเปนการ 
                ทํานาย 
        เปนการใหเหตุผลแบบ……………………………………..
(3)  เหตุ      1.ครูตรวจขอสอบของอุษา ม.4/10  เธอสอบไดคะแนนแยมาก 
                2.ครูตรวจขอสอบของลาวัณย  ม.4/10  เธอสอบไดคะแนนแยมาก 
       ผลสรุป คะแนนของนักเรียนหอง ม.4/10  นาจะต่ําทั้งหอง 
       เปนการใหเหตุผลแบบ…………………………………….. 
 (4)  เหตุ  1.นักเรียนโรงเรียนนานาชาติทกคนพูดภาษาอังกฤษเกง 
                                             ุ
                2.พรทิพยเปนนักเรียนโรงเรียนนานาชาติ 
       ผลสรุป พรทิพยพูดภาษาอังกฤษเกง 
       เปนการใหเหตุผลแบบ…………………………………….. 
 (5)  เหตุ  1.คนทําดีทกคนไดดี 
                             ุ
                2.คนไดดีทุกคนร่ํารวย 
       ผลสรุป คนทําดีทกคนร่ํารวย 
                           ุ
       เปนการใหเหตุผลแบบ…………………………………….. 
 (6)  เหตุ  1.ผูชายคลอดลูกได 
                2.สมชายเปนผูชาย 
       ผลสรุป สมชายคลอดลูกได 
       เปนการใหเหตุผลแบบ…………………………………….. 
 (7)  เหตุ  1.ดาราภาพยนตร 90%ใชสบูหอมลักซ 
                2.ผูหญิงสวยชื่อฟองจันทร  วรรณสม  ใชสบูหอมลักซ 
       ผลสรุป ฟองจันทร  วรรณสม  จะไดเปนดาราภาพยนตร 
       เปนการใหเหตุผลแบบ…………………………………….. 
 (8)  เหตุ  1.ถาฝนตกแลวดอกซอนกลิ่นจะบาน 
                2.ฝนตก 
       ผลสรุป ดอกซอนกลิ่นบาน 
       เปนการใหเหตุผลแบบ…………………………………….. 
 (9)  นักเรียนสังเกตการบวกจํานวนคีกับจํานวนคูดังนี้ 
                                       ่
                1+ 2 = 3 
                1+ 4 = 5 
                3+ 2 = 5 
                3+ 4 = 7 
                5+ 6 = 11 
       นักเรียนทดลองตอไปอีกหลายตัวอยาง  แลวสรุปวา  “ถาจํานวนคี่มาบวกกับจํานวนคูแลว 
จะไดผลลัพธเปนจํานวนคี”  เปนการใหเหตุผลแบบ……………………………………..
                         ่
(10)  คุณแมของขวัญใสแปงขาวเหนียวเปนสวนผสมในการทําขนมกุยชาย  เธอสังเกตวาถาลดแปง 
      ขาวเหนียวใหนอยลง  แปงของขนมกุยชายจะแข็ง  หลังจากสังเกตหลายๆครั้ง  คุณแมของ 
      นองขวัญจึงสรุปไดวา ควรใสแปงขาวเหนียวลงในสวนผสมเทาไรจึงจะทําใหแปงของ 
      ขนมกุยชายนิ่มพอดี 
            
      ขอสรุปดังกลาวไดมากจากการใหเหตุผลแบบ…………………………………….. 

3. จงเขียนเครื่องหมาย  Pหนาขอความที่ถูก และเขียนเครืองหมาย Oหนาขอความที่ผิด 
                                                          ่
  …….(1)  ความรูในทางวิทยาศาสตรที่สรางความเจริญใหกบโลกปจจุบนมีรากฐานมาจากการ 
                                                             ั            ั
           ใหเหตุผลแบบอุปนัย 
  …….(2)  การใหเหตุผลแบบอุปนัยมีจุดออน คือ  เราสังเกตหรือทดลองจากตัวอยางจํานวนหนึ่ง 
            แลวสรุปวาทั้งหมดเปนไปตามที่เราสังเกตหรือทดลองได  ซึ่งอาจมีตัวอยางอีกจํานวน 
            หนึ่งที่เราไมไดสังเกตหรือไมไดทดลอง  และผลสรุปอาจไมเปนไปตามที่เราสรุปไวก็ได 
  …….(3)  การใหเหตุผลเปนเครื่องมือที่มนุษยใชในการแสวงหาความรู  วิธีหาความรูโดยการให  
            เหตุผลเปนการขยายวงความรูจากสิ่งที่เรารูแลววาจริงไปยังสิ่งที่เรายังไมรู 
  …….(4)  การใหเหตุผลที่ถูกตองแบบนิรนัย คือ  การใหเหตุผลที่ถาเหตุเปนจริง  เปนไปไมไดที่ 
            ผลจะเปนเท็จ 
  …….(5)  การใหเหตุผลที่ถูกตองแบบอุปนัย คือ การใหเหตุผลที่ถาเหตุเปนจริง  มีความนาจะ 
           เปนสูงที่ผลสรุปจะจริง
แบบฝกทักษะ 

1.จงหาจํานวน a จากแบบรูปของจํานวนที่กําหนดให  โดยการใชเหตุผลแบบอุปนัย 
  1)  12,22,32,42,a                    6)  -15,-5,5,15,a 
  2)  12,10,8,6,a                      7)   1,-1,-3,-5,a 
  3)  5,3,1,-1,-3,a                    8)  -5,-3,-1,1,a 
  4)  1,-1,1,-1,1,a                    9)  1,6,11,16,a 
  5)  1,4,9,16,25,a                    10) 8,14,20,26,a 
2. พิจารณาผลคูณทีกําหนดใหตอไปนี้  มีขอสังเกตอยางไรเกี่ยวกับตัวคูณและผลคูณ  และสามารถ 
                     ่
   ใหขอสรุปไดหรือไม 
  1 x 9  =  9            6 x 9  =  54               11 x 9  =  99 
  2 x 9  =  18           7 x 9  =  63               12 x 9  =  108 
  3 x 9  =  27           8 x 9  =  72               13 x 9  =  117 
  4 x 9  =  36           9 x 9  =  81               14 x 9  =  126 
  5 x 9  =  45           10 x 9  =  90              15 x 9  =  135 

3. จงพิจารณาผลคูณของจํานวนตอไปนี้ 
                 142,857 x 1  =  142,857 
                 142,857 x 2  =  285,714 
                 142,857 x 3  =  428,571 
                 142,857 x 4  =  571,428 
  1)  มีขอสังเกตเกี่ยวกับตัวเลขที่แทนจํานวนที่เปนผลคูณอยางไร 
  2)  คําตอบของ 142,857 x 5  และ  142,857 x 6  มีรูปแบบเดียวกับขอสรุปขางตนหรือไม 
  3)  คําตอบที่ไดจากการคูณ 142,857 ดวย 7 หรือ 8  โดยใชขอสรุปขางตนเปนจริงหรือไม 
                                                             
4.พิจารณาผลคูณตอไปนี้ 
                 37 x 3  =  111 
                 37 x 6  =  222 
                 37 x 9  =  333 
                 37 x 12  =  444 
   1)  มีขอสังเกตอยางไรเกี่ยวกับตัวคูณและผลคูณขางตน 
   2)  ใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยเพื่อหาผลคูณที่มีคาเทากับ  555,666,777,888,999
5.จากรูปแบบของสมการทีกําหนดให  จงหาสมการถัดไป  โดยใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและ 
                     ่
ตรวจสอบความถูกตองของคําตอยโดยวิธีการคํานวณ 
   1)            9 x 9 + 7  =  88 
                98 x 9 + 6  =  888
               987 x 9 + 5  =  8,888 
              9876 x 9 + 4  =  88,888 

   2)              34 x 34        =    1,156 
                  334 x 334       =    111,556 
                3,334 x 3,334     =    ………… 
                ……………….           =    ………… 

   3)                       2     =    4 – 2 
                        2 + 4     =    8 – 2 
                    2 + 4 + 8     =    16 – 2 
               2 + 4 + 8 + 16     =    32 – 2 
               ………………..           =    ……… 

   4)                       3     = 
                        3 + 6     = 
                    3 + 6 + 9     = 
               3 + 6 + 9 + 12     = 
               ..……………….          =  ………… 

   5)                     5(6)    =    6(6 - 1) 
                  5(6) + 5(36)    =    6(36 – 1) 
         5(6) + 5(36) + 5(216)    =    6(216 - 1) 
         ………………………..              =    ………….
6. นักคณิตศาสตรชาวเยอรมันชื่อ  คารล  ฟรีดริช  เกาส  (Carl Friedrich Gauss , 
   ค.ศ.1777 - 1855)  ไดหาผลบวกของจํานวนตั้งแต 1 ถึง 100  ซึ่งเทากับ 5,050  โดยใชวิธการดังนี้ 
                                                                                       ี

                     1 + 2 + 3 +         .....         + 98 + 99  + 100 
                                         101
                                         101
                                         101 
เกาส  สังเกตวา  จํานวน 101 มีทั้งหมด 50 จํานวน 
ดังนั้น  เขาจึงหาคําตอบโดยหาผลคูณของ 50 x 101  ซึ่งเทากับ 5,050 
จงใชวิธีการของเกาสในตัวอยางขางตนหาผลบวกตอไปนี้ 
1)  1 + 2 + 3 +…+ 150              3)  1 + 2 + 3 +…+ 500 
2)  1 + 2 + 3 +…+ 300              4)  1 + 2 + 3 +…+1,000 

7. ใชวิธการของเกาสในขอ 6.  เพื่อหาผลบวกตอไปนี้ 
         ี
     1)  2 + 4 + 6 +…+ 100 
     2)  1 + 2 + 3 +…+ 125 
     3)  1 + 2 + 3 +…+ n  เมื่อ n เปนจํานวนนับที่เปนจํานวนคี่ 

8. ชาวกรีกโบราณเขียนแทนจํานวน 1,3,6,10,15,21  โดยใชสญลักษณดังนี้            ั
      (1)    (2)           (3)             (4)                  (5)                     (6) 




         1         3             6                  10                     15                       21 
เรียกจํานวนที่สามารถเขียนแทนดวยสัญลักษณในลักษณะขางตนวา  จํานวนสามเหลี่ยม 
(Triangular  numbers) 
ใชการสังเกตจากแบบรูปของจํานวนสามเหลี่ยมขางตน  ตอบคําถามตอไปนี้ 
    1)  จงเขียนจํานวนสามเหลี่ยมที่อยูถัดจาก 21  อีกสองจํานวน 
    2)  อธิบายวิธีการเขียนจํานวนสมเหลี่ยม  โดยการแทนดวยจุดวาแตละรูปมีความสัมพันธกน                  ั
        อยางไร 
    3)  72  เปนจํานวนสามเหลียมหรือไม    ่
9. จากขอสรุปตอไปนี้พจารณาวา  ขอสรุปใดเปนจริง  ถาไมเปนจริงใหยกตัวอยางคาน 
                         ิ
    1)  ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนใดๆจะหารดวย 2 ลงตัวเสมอ 
    2)  จํานวนนับใดๆที่มีคามากกวา 4  จะเขียนไดในรูปของผลบวกของจํานวนถัดไปสองจํานวน 
        หรือมากกวาสองจํานวน  เชน  5 = 2 + 3, 6 = 1 + 2 + 3, 14 = 2 + 3 + 4 + 5  เปนตน 
    3)  กําลังสองของจํานวนนับใดๆจะเปนจํานวนคูเสมอ 

10.  จากแบบรูปที่กําหนดให  จงเขียนรูปที่อยูถัดไป 
                                            
    1) 



          (1)         (2)               (3) 

   2) 




           (1)            (2)                (3)
เฉลยใบกิจกรรม 

ขอ 1  (1) อุปนัย   (2) อุปนัย   (3)  อุปนัย        (4)  นิรนัย 
       (5)  อุปนัย  (6)  นิรนัย  (7)  อุปนัย        (8)  นิรนัย 
ขอ 2  (1)  อุปนัย  (2)  อุปนัย  (3)  อุปนัย        (4)  นิรนัย     (5)  นิรนัย 
        (6) นิรนัย  (7)  อุปนัย  (8)  นิรนัย        (9)  อุปนัย    (10)  อุปนัย 
ขอ 3  (1) P  (2) P  (3) P  (4) P  (5) P
บันทึกหลัง  ผลการจัดการเรียนรู 
    ผลการเรียนรู 
1.  ดานความรู 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
2.  ดานทักษะ/กระบวนการ 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
3.  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค      ึ
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
    .......................................................................................................................................................... 
        ปญหาที่ควรแกไข/พัฒนา                              วิธีดําเนินการแกไข/พัฒนา                                 ผลการแกไข/พัฒนา 
    ...............................................  ...............................................  ............................................... 
    ...............................................  ...............................................  ............................................... 
    ...............................................  ...............................................  ............................................... 
    ...............................................  ...............................................  ............................................... 
    ...............................................  ...............................................  ............................................... 



                                                                                ลงชื่อ……………………….. 
                                                                                       (นายอุดม  วงศศรีดา) 
                                                                                        ครู ชํานาญการพิเศษ

More Related Content

What's hot

การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2krutew Sudarat
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (16)

การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
1ปกสอน
1ปกสอน1ปกสอน
1ปกสอน
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
Ex
ExEx
Ex
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
Ar
ArAr
Ar
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Viewers also liked (8)

ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
 
31202 mid502
31202 mid50231202 mid502
31202 mid502
 
31202 final512
31202 final51231202 final512
31202 final512
 
Rubric2555
Rubric2555Rubric2555
Rubric2555
 
31202 final522
31202 final52231202 final522
31202 final522
 
31202 final532
31202 final53231202 final532
31202 final532
 
Final 31201 53
Final 31201 53Final 31201 53
Final 31201 53
 
31202 final502
31202 final50231202 final502
31202 final502
 

Similar to Reasoning155

Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationtadpinijsawitree
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศpummath
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 

Similar to Reasoning155 (20)

Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
Relation
RelationRelation
Relation
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluation
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศ
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
Event
EventEvent
Event
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

More from wongsrida

Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555wongsrida
 
Conic section2555
Conic section2555Conic section2555
Conic section2555wongsrida
 
Plan matric2555
Plan matric2555Plan matric2555
Plan matric2555wongsrida
 
Function2555
Function2555Function2555
Function2555wongsrida
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555wongsrida
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thaiwongsrida
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometrywongsrida
 
Wicharkarn2554
Wicharkarn2554Wicharkarn2554
Wicharkarn2554wongsrida
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationsetwongsrida
 
90 per 10 principle ( thai version )
90 per 10 principle ( thai version )90 per 10 principle ( thai version )
90 per 10 principle ( thai version )wongsrida
 
การศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีนการศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีนwongsrida
 

More from wongsrida (20)

Event1 2555
Event1 2555Event1 2555
Event1 2555
 
Reasoning55
Reasoning55Reasoning55
Reasoning55
 
Asian
AsianAsian
Asian
 
Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555
 
Conic section2555
Conic section2555Conic section2555
Conic section2555
 
Plan matric2555
Plan matric2555Plan matric2555
Plan matric2555
 
Function2555
Function2555Function2555
Function2555
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
Rubric
RubricRubric
Rubric
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thai
 
Report
ReportReport
Report
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometry
 
Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 
Wicharkarn2554
Wicharkarn2554Wicharkarn2554
Wicharkarn2554
 
Kru
KruKru
Kru
 
Postest
PostestPostest
Postest
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationset
 
90 per 10 principle ( thai version )
90 per 10 principle ( thai version )90 per 10 principle ( thai version )
90 per 10 principle ( thai version )
 
การศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีนการศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีน
 

Reasoning155

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู  หนวยการเรียนที่  1  รหัสวิชา   ค31101  คณิตศาสตรพื้นฐาน  เรื่อง  การใหเหตุผล  ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4  จํานวน  5 ชั่วโมง  ………………………………………………………………………………………………………  มาตรฐาน ค ๔.๑  เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern)  ความสัมพันธ และฟงกชัน  ตัวชี้วัด  ม.4-6/2  เขาใจและสามารถใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย  มาตรฐานการเรียนรู  ค 6.1  มีความสามารถในการแกปญหา  การใหเหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทาง  คณิตศาสตร  และการนําเสนอ  การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตร   กับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค  ตัวชี้วัด ม.4-6/1-6  1.  ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา  2.  ใชความรู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาใน  สถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม  3.  ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม  4.  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ  นําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน  5.  เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและนําความรู  หลักการกระบวนการทาง  คณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ  6.  มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
  • 2. 1.  มาตรฐานการเรียนรู  มาตรฐาน ค ๔.๑ เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชน ั มาตรฐานค 6.1  มีความสามารถในการแกปญหา  การใหเหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อ  ความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ  การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและ  เชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค  2.  ตัวชี้วัด  ม.4-6/2  เขาใจและสามารถใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยจุดประสงคการเรียนรู  2.1  ดานความรู (Knowledge) : นักเรียนสามารถ  2.1.1  บอกไดวาการใหเหตุผลที่กําหนดใหเปนแบบอุปนัยหรือนิรนัย  2.1  ดานทักษะ / กระบวนการ (Process) :  2.1.1  นักเรียนมีความสามารถในการแกปญหา  2.1.2  นักเรียนมีความสามารถในการใหเหตุผล  2.1.3  นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารและนําเสนอ  2.2  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค (Attitude) :  ึ 2.2.1  นักเรียนมีระเบียบวินย  ั 2.2.2  นักเรียนทํางานอยางมีระบบและรอบคอบ  2.2.3  นักเรียนมีความรับผิดชอบ  1.  สาระการเรียนรู  การใหเหตุผลทางตรรกศาสตร  แบงเปน 2  แบบ  คือ  1.  การใหเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning)  การใหเหตุผลแบบนี้เปนการสรุปผลโดย  ใชประสบการณ  หรือใชเหตุการณเฉพาะซึ่งเกิดขึ้นซ้ําๆกันหลายครั้งมาคาดคะเนผลสรุป  2.  การใหเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)  การใหเหตุผลแบบนี้เปนการใหเหตุผลที่  อางวาสิ่งที่กําหนดใหยืนยันผลสรุป  โดยกําหนดใหเหตุ(หรือขอสมมติ) เปนจริงหรือยอมรับ  วาเปนจริงแลวใชเกณฑตางๆ  สรุปผลจากเหตุที่กําหนดให  2.  กิจกรรมการเรียนการรู  1.  ครูทบทวนเนื้อหาที่เรียนผานมา  2.  ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังนักเรียนทราบ  3.  แบงกลุมนักเรียนออกเปนกลุมละประมาณ 5 คน และใหนกเรียนปฏิบัติงานโดยใช  ั กระบวนการกลุม  4.  แจกใบความรูใหนกเรียนแตละกลุมศึกษา  ั 5.  สุมตัวแทนกลุม 1-2 กลุม มาเสนอผลงานหรืออธิบายเนื้อหาตามหัวขอในใบความรูและให  นักเรียนรวมกันอภิรายซักถาม
  • 3. 6.  นักเรียนและครูรวมกันสรุปเนื้อหา  7.  แจกใบกิจกรรมใหนกเรียนฝกปฏิบัติ  ั 8.  ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะเปนรายบุคคลแลวสุมนักเรียน 1-2 คน เสนอผลงาน และนักเรียน  และครูรวมกันอภิปรายในกรณีที่มีขอบกพรอง  3.  สื่อการเรียนการสอน  5.1  สื่อการเรียนรู  5.1.1  ใบความรู  5.1.4  หนังสือเรียน สสวท.  5.1.2  ใบกิจกรรม  5.1.5  VCD  5.1.3  แบบฝกทักษะ  5.2  แหลงการเรียนรู คนหาขอมูลจากระบบอินเตอรเนต  4.  การวัดผลประเมินผล  การวัดผลประเมินผลอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามหัวขอคือ    ดานความรู  ,  ดานทักษะ  /  กระบวนการทางคณิตศาสตร และดานคุณลักษณะอันพึงประสงค ดังนี้  สาระการเรียนรู  น้ําหนัก  น้ําหนัก  วิธีวัด  เครื่องมือวัด  คะแนน  คะแนน  K  A  P  ดานความรู  5  ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน  ž บอกไดวาการใหเหตุผลที่  คุณภาพดานความรู  กําหนดใหเปนแบบอุปนัยหรือ  นิรนัย  ดานทักษะ/กระบวนการ  3  ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน  ž การแกปญหา  คุณภาพดานทักษะ  ž การใหเหตุผล  กระบวนการ  ž การสื่อสารและนําเสนอ  ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค  2  ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน  ž มีระเบียบวินัย  หรือ  คุณภาพดาน  ž มีความรอบคอบ  สังเกต  คุณลักษณะที่พึง  ž มีความรับผิดชอบ  พฤติกรรมใน  ประสงค หอง 
  • 4. เกณฑประเมินคุณภาพดานตาง ๆ  6.1  การประเมินผลดานความรู  คะแนน /  ผลการทําแบบฝกหัดที่ปรากฏใหเห็น  ความหมาย  4 การแสดงวิธีทําชัดเจน สมบูรณ คําตอบถูกตอง ครบถวน  ดีมาก  3  การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจนนัก แตอยูในแนวทางที่ถกตอง คําตอบถูกตอง  ู ดี  ครบถวน  2 การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจน หรือไมแสดงวิธีทํา คําตอบถูกตอง ครบถวน หรือ  พอใช  การแสดงวิธีทําชัดเจน สมบูรณ แตคําตอบไมถูกตอง ขาดการตรวจสอบ  1  การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจน แตอยูในแนวทางที่ถกตอง คําตอบไมถูกตอง หรือ  ู ควรแกไข  ไมแสดงวิธีทําและ คําตอบที่ไดไมถูกตองแตอยูในแนวทางถูกตอง   0  ทําไดไมถึงเกณฑ  ตองปรับปรุง  6.2  เกณฑการใหคะแนนดานทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร  การแกปญหา   คะแนน /  ความสามารถในการแกปญหาที่ปรากฏใหเห็น  ความหมาย  4 ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ  อธิบายถึงเหตุผลใน  ดีมาก  การใชวิธีการดังกลาวไดเขาใจชัดเจน  3  ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จ  แตนาจะอธิบายถึงเหตุผลในการใช  ดี  วิธีการดังกลาวไดดีกวานี้  2 ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จเพียงบางสวน  จะอธิบายถึงเหตุผลในการ  พอใช  ใชวิธีการดังกลาวไดบางสวน  1  มีรองรอยการดําเนินการแกปญหาบางสวน  เริ่มคิดวาทําไมจึงตองใชวิธการนัน  ี ้ ตองปรับปรุง  แลวหยุดอธิบายตอไปไมได  แกปญหาไมสําเร็จ  0  ทําไดไมถึงเกณฑขางตน  หรือไมมีรองรอยการดําเนินการแกปญหา ไมพยายาม 
  • 5. การใหเหตุผล  คะแนน /  ความสามารถในการใหเหตุผลทีปรากฏใหเห็น  ่ ความหมาย  4 มีการอางอิง  เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอยางสมเหตุสมผล  ดีมาก  3  มีการอางอิงที่ถูกตองบางสวน  และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ  ดี  2 เสนอแนวคิดไมสมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสินใจ  พอใช  1  มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ  ตองปรับปรุง  0  ไมมีแนวคิดประกอบการตัดสินใจ  ไมพยายาม  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ  คะแนน /  ความสามารถในการสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร  ความหมาย  และการนําเสนอที่ปรากฏใหเห็น  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรที่ถูกตอง  นําเสนอโดยใชกราฟ  4 แผนภูมิหรือตารางแสดงขอมูลประกอบตามลําดับขั้นตอนไดเปนระบบ  ดีมาก  กระชับ  ชัดเจน  และ มีรายละเอียดสมบูรณ  3  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร  นําเสนอโดยใชกราฟ  แผนภูมิหรือ  ดี  ตารางแสดงขอมูลประกอบลําดับขันตอนไดถูกตอง  ขาดรายละเอียดที่สมบูรณ  ้ 2 ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร  พยายามนําเสนอขอมูลโดยใชกราฟ  พอใช  แผนภูมิหรือตารางแสดงขอมูลประกอบชัดเจนบางสวน  1  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรอยางงาย ๆ ไมไดใชกราฟ  แผนภูมิหรือ  ตองปรับปรุง  ตารางเลย  และการนําเสนอขอมูลไมชัดเจน  0  ไมนําเสนอ ไมพยายาม 
  • 6. 6.3  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค  ึ มีความรับผิดชอบ  คะแนน /  คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น  ความหมาย  สงงานกอนหรือตรงกําหนด เวลานัดหมาย  3 รับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายและปฏิบัติเองจนเปนนิสัยเปนระบบแกผูอื่น  ดีมาก  และแนะนําชักชวนใหผูอื่นปฏิบัติ  2  สงงานชากวากําหนด แตมการติดตอชี้แจงครูผูสอน   มีเหตุผลที่รับฟงได  ี ดี  รับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย  ปฏิบัติเองจนเปนนิสัย  1 สงชากวากําหนด  พอใช  ปฏิบัติงานโดยตองอาศัยการชี้แนะ แนะนํา ตักเตือนหรือใหกําลังใจ  มีระเบียบวินัย  คะแนน /  คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น  ความหมาย  3 สมุดงาน  ชิ้นงานสะอาดเรียบรอย  ดีมาก  ปฏิบัติอยูในขอตกลงที่กําหนด  ใหความรวมมือทุกครั้ง  2  สมุดงาน  ชิ้นงานสวนใหญสะอาดเรียบรอย  ดี  ปฏิบัติอยูในขอตกลงที่กําหนด  ใหความรวมมือกันไดเปนสวนใหญ  1 สมุดงาน  ชิ้นงานไมคอยเรียบรอย  พอใช  ปฏิบัติตนอยูในขอตกลงทีกําหนดใหรวมกันเปนบางครั้ง  ตองอาศัยการแนะนํา  ่ ทํางานเปนระบบและรอบคอบ  คะแนน /  คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น  ความหมาย  3 มีการวางแผนการดําเนินงานอยางเปนระบบการทํางานมีครบทุกขันตอน  ตัด  ้ ดีมาก  ขั้นตอนที่ไมสําคัญออกไดจดเรียงลําดับความสําคัญกอน – หลังถูกตองครบถวน  ั 2  มีการวางแผนการดําเนินงานการทํางานไมครบทุกขันตอน  และผิดพลาดบาง  ้ ดี  จัดเรียงลําดับความสําคัญกอน – หลังไดเปนบางสวน  1 ไมมีการวางแผนการดําเนินงานการทํางานไมมีขั้นตอน  มีความผิดพลาดตอง  พอใช  แกไขไมจดเรียงความสําคัญ ั
  • 7. ใบความรู  การใหเหตุผล  การใหเหตุผลทางตรรกศาสตร  แบงเปน 2  แบบ  คือ  1.การใหเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning)  การใหเหตุผลแบบนี้เปนการสรุปผล  โดยใชประสบการณ  หรือใชเหตุการณเฉพาะซึ่งเกิดขึนซ้ําๆกันหลายครั้งมาคาดคะเนผลสรุป  ้ 2.การใหเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)  การใหเหตุผลแบบนี้เปนการใหเหตุ  ผลที่อางวาสิ่งที่กําหนดใหยนยันผลสรุป  โดยกําหนดใหเหตุ(หรือขอสมมติ) เปนจริงหรือยอมรับวา  ื เปนจริงแลวใชเกณฑตางๆ  สรุปผลจากเหตุที่กําหนดให  การใหเหตุผลแบบอุปนัย  การใหเหตุผลแบบอุปนัยเปนการใหเหตุผลโดยยึดความจริงจากสวนยอยที่พบเห็นไปสูความ  จริงที่เปนสวนรวม  เชน  เราพบวา  ทุกเชพระอาทิตยขึ้นทางทิศตะวันออกและตอนเย็นพระอาทิตยจะ  ตกทางทิศตะวันตก  จึงใหขอสรุปวา  พระอาทิตยขนทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก  ึ้ ลายนิ้วมือของแตละคนนั้นแตกตางกัน  มีการทดลองโดยการนําลายนิ้วมือของคนหนึ่งแสน  คนมาเปรียบเทียบกัน  และพบวา  ไมมีลายนิวมือของใครที่ซ้ํากัน  จากการทดลองทดสอบความ  ้ เหมือนของลายนิ้วมือขางตน  เราสามารถสรุปการใหเหตุผลแบบอุปนัยไดวา  ลายนิ้วมือของแตละคน  ไมเหมือนกัน  ซึ่งจากการใหขอสรุปดังกลาว  สามารถใชเปนหลักฐานในการสอบสวนหาผูกระทําผิด   ของเจาหนาที่ตํารวจไดในปจจุบัน  ในวิชาคณิตศาสตรมีการใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย  เพื่อชวยสรุปคําตอบหรือชวยในการ  แกปญหา  เชน  เมื่อสังเกตจากรูปแบบของจํานวน 1,2,3,4,5,6,7,8,9,10  เราสามารถหาจํานวนนับถัด  จาก 10 อีก 5 จํานวน  ไดโดยใชขอสังเกตจากแบบรูปของจํานวน 1 ถึง 10  วามีคาเพิ่มขึ้นทีละหนึ่ง  ดังนั้น  จํานวนนับที่ถัดจาก 10 อีก 5 จํานวน  คือ  11,12,13,14 และ15  การหาจํานวนนับอีกหาจํานวน  ที่ไดจากการสังเกตที่กลาวมาเปนตัวอยางของการใหเหตุผลแบบอุปนัย
  • 8. ตัวอยางที่ 1 จงใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย เพื่อหาสมการหรือคําตอบจากแบบรูปทีกําหนดใหตอไปนี้  ่ 1)  (1 x 9) + 2  =  11  7)  9 x 9  =  81  (12 x 9) + 3  =  111 909 x 9  =  8,181  (123 x 9) + 4  =  1,111  90,909 x 9  =  818,181  _______________  =  __________  _______________  =  __________  2)  1  =  1  8)  1 x 8 + 1  =  9  1 + 2  =  3  12 x 8 + 2  =  98  1 + 2 + 3  =  6  123 x 8 + 3  =  987 1 + 2 + 3 +4  =  10  _______________  =  __________  _______________  =  __________  3)  1  =  1  9)  9 x 1 – 1  =  8  1 + 3  =  4  9 x 21 – 1  =  188 1 + 3 + 5  =  9  9 x 321 – 1  =  2,888  _______________  =  __________  _______________  =  __________  4)  1+10  =  11  10)  1,089 x 1  =  1,089  1+10+100  =  111 1,089 x 2  =  2,178  1+10+100 +1,000  =  1,111  1,089 x 3  =  3,267  _______________  =  __________  1,089 x 4  =  __________  5)  11 x 11  =  121 1,089 x 5  =  __________  111 x 111  =  12,321  1,089 x 6  =  __________  1,111 x 1,111  =  1,234,321  1,089 x 7  =  __________  _______________  =  __________  1,089 x 8  =  __________  6)  9 x 9  =  81  1,089 x 9  =  __________  99 x 9  =  891 999 x 9  =  8,991  _______________  __________  เมื่อไดคําตอบแลว  ควรตรวจสอบคําตอบที่ไดดวยวาเปนจริงหรือไม 
  • 9. คําตอบ  1)  1,234 x 9 + 5  =   11,111  2)  1 + 2 + 3 + 4 + 5  =   15  3)  1 + 3 + 5 + 7  =   16  4)  1 + 10 +100 + 1,000 + 10,000 =   11,111  5)  11,111 x 11,111  =   123,454,321  6)  9,999 x 9  =   89,991  7)  9,090,909 x 9  =   81,818,181  8)  1,234 x 8 + 4  =   9,876  9)  9 x 4,321 – 1  =   38,888  10) 1,089 x 4  =   4,356  1,089 x 5  =   5,445  1,089 x 6  =   6,534  1,089 x 7  =   7,623  1,089 x 8  =  8,712  1,089 x 9  =   9,801  ตัวอยางที่  2  จงหาวา  ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนทีเ่ ปนจํานวนคี่จะเปนจํานวนคูหรือ  จํานวนคี่  โดยการใชเหตุผลแบบอุปนัย  วิธีทํา  ในการหาคําตอบขางตนโดยใชหลักการใหเหตุผลแบบอุปนัย  ทําไดโดยการพิจารณาผลคูณ  ของจํานวนนับที่เปนจํานวนคี่หลายๆจํานวน  ดังนี้  พิจารณาผลคูณของ  1 x 3  =  3  3 x 5  =  15  5 x 7  =  35  7 x 9  = 63  1 x 5  =  5  3 x 7  =  21  5 x 9  =  45  7 x 11 = 77  1 x 7  =  7  3 x 9  =  27  5 x 11  = 55  7 x 13 = 91  1 x 9  =  9  3 x 11 = 33  5 x 13  = 65  7 x 15 = 105  จากการหาผลคูณของจํานวนนับที่เปนจํานวนคีขางตน  และใชวิธีการสังเกต  จะพบวา  ผล  ่ คูณที่ไดจะเปน  จํานวนคี่  สรุปวา  ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนที่เปนจํานวนคี่  จะเปนจํานวนคี่  โดยการใชการใหเหตุผล  แบบอุปนัย
  • 10. ตัวอยางที่ 3  ถาผลบวกของเลขโดดในแตละหลักของจํานวนนับใดๆหารดวย 3 ลงตัว  แลวมีขอ  สรุปเกี่ยวกับจํานวนนับดังกลาวอยางไร  วิธีทํา  พิจารณาจํานวนนับที่มีผลบวกของเลขโดดในแตละหลักหารดวย 3 ลงตัว  จํานวนนับ  ผลบวกของเลขโดดในแตละหลัก  ผลหารของจํานวนนับดวย 3  111 1 + 1 + 1  =   3  111 ¸ 3            =    37  123 1 + 2 + 3              =   6  123 ¸ 3  =    41  171 1 + 7 + 1              =   9  171 ¸ 3            =    57  543  5 + 4 + 3              =   12  543 ¸ 3            =    181  2,943  2 + 9 + 4 + 3        =   18  2,943 ¸ 3          =    981  9,873  9 + 8 + 7 + 3        =   27  9,873 ¸ 3          =    3,291  5,220  5 + 2 + 2 + 0        =   9  5,220 ¸ 3          =    1,740  จากตัวอยางของจํานวนนับขางตน  มีขอสังเกตวา  เมื่อผลบวกของเลขโดดในแตละหลักหาร  ดวย 3 ลงตัว  จํานวนดังกลาวจะหารดวย 3 ลงตัว  เชนกัน  โดยใชวิธีการใหเหตุผลแบบอุปนัย  สรุปไดวา  จํานวนนับที่มีผลบวกของเลขโดในแตละ  หลักหารดวย 3 ลงตัว  จํานวนนับดังกลาวจะหารดวย 3 ลงตัวเชนกัน  ตัวอยางที่ 4  ใหเลือกจํานวนนับมา 1 จํานวน  และปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้  1)  คูณจํานวนนับที่เลือกไวดวย 4   2)  บวกผลลัพธในขอ 1)  ดวย 6  3)  หารผลบวกในขอ 2)  ดวย 2  4)  ลบผลหารในขอ 3)  ดวย 3  เชน  ถาเลือกจํานวน  5  1)  คูณจํานวนนับที่เลือกไวดวย 4  จะได 5 x 4 = 20   2)  บวกผลลัพธในขอ 1) ดวย 6  จะได  20 + 6 = 26  3)  หารผลบวกในขอ 2)  ดวย 2  จะได  26 ¸ 2 = 13  4)  ลบผลหารในขอ 3)  ดวย 3  จะได  13 – 3  = 10  จะพบวา  จากจํานวนที่เลือกคือ  5  จะไดคําตอบสุดทายเทากับ 10  ลองเลือกจํานวน  1,2,3,4,6,7,8 และ 9  แลวทําตามวิธีที่กําหนดไวขางตน  มีขอสรุปอยางไร  เมื่อใชวิธีการใหเหตุผลแบบอุปนัย  วิธีทํา  จากการหาคําตอบโดยใชวิธีการทีกําหนดให  ในตัวอยางขางตนมีขอสังเกตวา  คําตอบ ่
  • 11. สุดทายจะเทากับสองเทาของจํานวนที่เลือกไวครั้งแรกเสมอ  สรุปวา  เมื่อใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย  คําตอบสุดทายจะเปนสองเทาของจํานวนที่เลือกไว  ครั้งแรก  เมื่อไดดําเนินการการตามวิธีทกําหนดให  ี่ อยางไรก็ดการหาขอสรุป  หรือความจริงโดยใชวิธีการใหเหตุผลแบบอุปนัยนั้น  ไม  ี จําเปนตองถูกตองทุกครั้ง  เนื่องจากการใหเหตุผลแบบอุปนัยเปนการสรุปผลเกินจากหลักฐาน  ขอเท็จจริงที่มีอยู  ดังนัน  ขอสรุปจะเชื่อถือไดมากนอยเพียงใดนันขึ้นอยูกับลักษณะของขอมูล  ้ ้  หลักฐานและขอเท็จจริงที่นํามาอางซึ่งไดแก  1)  จํานวนขอมูล  หลักฐานหรือขอเท็จจริงทีนํามาเปนขอสังเกตหรือขออางอิงมีมากพอกับ  ่ การสรุปหรือไม  เชน  (1)  ถาไปรับประทานอาหารที่รานแหงหนึ่งแลวเกิดทองเสีย  แลวสรุปวา  อาหารที่ราน  ดังกลาวทําใหทองเสีย  การสรุปจากเหตุการณที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว  ยอมจะนาเชื่อถือไดนอยกวาไป  รับประทานอาหารที่รานดังกลาวบอยๆแลวทองเสียแทบทุกครั้ง  (2)  จากรูปแบบของจํานวน 2,4,a    a  ควรเปนจํานวนใด  คําตอบที่ไดจากการสังเกตแบบรูปทีกําหนดใหคือ  2,4  มีไดตางกันดังนี้  ่ ถา  เหตุผล  คือ  2 + 2 = 4  จะไดวา a = 6  แตถา เหตุผล คือ  2 = 2 1  และ  4 = 2 2  a  จะเทากับ  2 3  หรือ  8  2)  ขอมูล  หลักฐานหรือขอเท็จจริงเปนตัวแทนที่ดในการใหขอสรุปหรือไม  เชน  ถาอยากรู  ี  วาคนไทยชอบกินขาวเจาหรือขาวเหนียวมากกวากัน  ถาถามจากคนที่อาศัยอยูในภาคเหนือหรือภาค  อีสาน  คําตอบที่ที่ตอบวาชอบกินขาวเหนียวอาจจะมีมากกวาชอบกินขาวเจา  แตถาถามคนที่อาศัยอยู  ในภาคกลางหรือภาคใต  คําตอบอาจจะเปนในลักษณะตรงกันขาม  3)  ขอสรุปที่ตองการมีความซับซอนมากนอยเพียงใด  เชน  ในเรื่องที่เกี่ยวกับจิตใจ  ตัวอยางเชน  การมีลูกชายจะดีกวาการมีลูกสาว  เปนตน  ซึ่งความคิดในเรื่องดังกลาวจะคอนขาง  ซับซอนและขึ้นอยูกับเหตุผลสวนตัวของแตละคนซึ่งแตกตางกัน
  • 12. การใหเหตุผลแบบนิรนัย  การใหเหตุผลแบบนิรนัยเปนการนําความรูพนฐานซึ่งอาจเปนความเชื่อ  ขอตกลง  กฎ  หรือ  ื้ บทนิยาม  ซึ่งเปนสิ่งที่รูมากอนและยอมรับวาเปนจริง  เพื่อหาเหตุผลนําไปสูขอสรุป  เชน  ถา  1)  รูปสี่เหลี่ยมดานขนานเปนรูปสี่เหลี่ยมที่มีดานตรงขามขนานกันสองคู  และ 2)  รูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนเปนรูปสี่เหลี่ยมที่มีดานตรงขามขนานกันสองคู  มีดาน  แตละดานยาวเทากัน  และไมมีมุมใดเปนมุมฉาก  แลว 3)  รูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนเปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน  เรียกขอความหรือประโยค 1) และ 2) วา เหตุ  หรือ  สมมติฐาน  และเรียกขอความหรือ  ประโยคในขอ 3)  วา ผล  และเรียกวิธีการสรุปขอเท็จจริงซึ่งเปนผลมาจาก  เหตุซึ่งเปนความรูพนฐานวา  ื้ การใหเหตุผลแบบนิรนัย  ตัวอยางการใหเหตุผลแบบนิรนัย  ตัวอยางที่ 1  เหตุ  1) จํานวนคูหมายถึงจํานวนที่หารดวย 2 ลงตัว  2) 10 หารดวย 2  ลงตัว  ผล  10  เปนจํานวนคู  ตัวอยางที่ 2  เหตุ  1) คนที่ไมมีหนี้สินและมีเงินฝากในธนาคารมากกวา 10 ลานบาทเปนเศรษฐี  2) คุณมานะไมมีหนี้สินและมีเงินฝากในธนาคาร 11 ลานบาท  ผล  คุณมานะเปนเศรษฐี  ตัวอยางที่ 3  เหตุ  1) นักกีฬากลางแจงทุกคนจะตองมีสุขภาพดี  2) เกียรติศกดิ์เปนนักฟุตบอลทีมชาติไทย  ั ผล  เกียรติศกดิ์มีสุขภาพดี  ั ตัวอยางที่ 4  เหตุ  1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดตองตาย  และ  2.  คนเปนสิ่งมีชีวต  ิ เราจะสรุปผลไดวา  ผล  คนตองตาย
  • 13. ใบกิจกรรม  ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  นักเรียนสามารถบอกไดวาการใหเหตุผลที่กําหนดใหเปนแบบอุปนัย  หรือนิรนัย  1.ใหนักเรียนพิจารณาลักษณะการใหเหตุผลในแตละขอตอไปนี้วาเปนการใหเหตุผลแบบอุปนัย  หรือนิรนัย  .………..(1)  การใหเหตุผลโดยอางจากตัวอยางหรือประสบการณยอยหลายๆตัวอยาง  แลว  สรุปเปนความรูทวไป  ั่ .………..(2)  การใหเหตุผลจากเหตุการณเฉพาะซึ่งเกิดขึนซ้ําๆกันหลายครั้ง  ้ .………..(3)  การใหเหตุผลโดยใชการคาดคะเน  .………..(4)  การใหเหตุผลโดยอางเหตุผลจากความรูพื้นฐานชุดหนึ่งที่ยอมรับกันมากอน  .………..(5)  การใหเหตุผลจากประสบการณ  .………..(6)  การใหเหตุผลทีเมื่อกําหนดใหเหตุ (หรือขอสมมติ)  เปนจริงหรือยอมรับวาจริงแลว  ใชกฎเกณฑตางๆ สรุปผลจากสิ่งที่กําหนดให  .………..(7)  การใหเหตุผลที่สิ่งที่กําหนดใหเพียงแตสนับสนุนผลสรุปเทานั้น     แตไมสามารถ  ยืนยันขอสรุปได  .………..(8)  การใหเหตุผลในลักษณะทีกําหนดใหเหตุ (หรือขอสมมติ)  เปนจริงหรือยอมรับวา  ่ จริง แลวใชกฎเกณฑตางๆสรุปผลจากสิ่งที่กาหนด  ํ 2. จงพิจารณาวาการใหเหตุผลในแตละขอตอไปนี้เปนการใหเหตุผลแบบอุปนัยหรือนิรนัย  (1)  เหตุ  1.เด็กชายกองชอบอานการตูน  2.เด็กหญิงนิดชอบอานการตน ู ผลสรุป เด็กทุกคนชอบการตูน  เปนการใหเหตุผลแบบ……………………………………..  (2)  เหตุ  1.หมอดูหม่ําทายถูกวา  มาลินีจะสอบเขามหาวิทยาลัยได  2.หมอดูหม่ําทายถูกวา  คุณแมของมาลินีจะขายที่ดินได  ผลสรุป หมอดูหม่ําเพิ่งทํานายวาคุณพอของมาลินีจะไดเลื่อนตําแหนงนาจะเปนการ  ทํานาย  เปนการใหเหตุผลแบบ……………………………………..
  • 14. (3)  เหตุ  1.ครูตรวจขอสอบของอุษา ม.4/10  เธอสอบไดคะแนนแยมาก  2.ครูตรวจขอสอบของลาวัณย  ม.4/10  เธอสอบไดคะแนนแยมาก  ผลสรุป คะแนนของนักเรียนหอง ม.4/10  นาจะต่ําทั้งหอง  เปนการใหเหตุผลแบบ……………………………………..  (4)  เหตุ  1.นักเรียนโรงเรียนนานาชาติทกคนพูดภาษาอังกฤษเกง  ุ 2.พรทิพยเปนนักเรียนโรงเรียนนานาชาติ  ผลสรุป พรทิพยพูดภาษาอังกฤษเกง  เปนการใหเหตุผลแบบ……………………………………..  (5)  เหตุ  1.คนทําดีทกคนไดดี  ุ 2.คนไดดีทุกคนร่ํารวย  ผลสรุป คนทําดีทกคนร่ํารวย  ุ เปนการใหเหตุผลแบบ……………………………………..  (6)  เหตุ  1.ผูชายคลอดลูกได  2.สมชายเปนผูชาย  ผลสรุป สมชายคลอดลูกได  เปนการใหเหตุผลแบบ……………………………………..  (7)  เหตุ  1.ดาราภาพยนตร 90%ใชสบูหอมลักซ  2.ผูหญิงสวยชื่อฟองจันทร  วรรณสม  ใชสบูหอมลักซ  ผลสรุป ฟองจันทร  วรรณสม  จะไดเปนดาราภาพยนตร  เปนการใหเหตุผลแบบ……………………………………..  (8)  เหตุ  1.ถาฝนตกแลวดอกซอนกลิ่นจะบาน  2.ฝนตก  ผลสรุป ดอกซอนกลิ่นบาน  เปนการใหเหตุผลแบบ……………………………………..  (9)  นักเรียนสังเกตการบวกจํานวนคีกับจํานวนคูดังนี้  ่ 1+ 2 = 3  1+ 4 = 5  3+ 2 = 5  3+ 4 = 7  5+ 6 = 11  นักเรียนทดลองตอไปอีกหลายตัวอยาง  แลวสรุปวา  “ถาจํานวนคี่มาบวกกับจํานวนคูแลว  จะไดผลลัพธเปนจํานวนคี”  เปนการใหเหตุผลแบบ…………………………………….. ่
  • 15. (10)  คุณแมของขวัญใสแปงขาวเหนียวเปนสวนผสมในการทําขนมกุยชาย  เธอสังเกตวาถาลดแปง  ขาวเหนียวใหนอยลง  แปงของขนมกุยชายจะแข็ง  หลังจากสังเกตหลายๆครั้ง  คุณแมของ  นองขวัญจึงสรุปไดวา ควรใสแปงขาวเหนียวลงในสวนผสมเทาไรจึงจะทําใหแปงของ  ขนมกุยชายนิ่มพอดี   ขอสรุปดังกลาวไดมากจากการใหเหตุผลแบบ……………………………………..  3. จงเขียนเครื่องหมาย  Pหนาขอความที่ถูก และเขียนเครืองหมาย Oหนาขอความที่ผิด  ่ …….(1)  ความรูในทางวิทยาศาสตรที่สรางความเจริญใหกบโลกปจจุบนมีรากฐานมาจากการ  ั ั ใหเหตุผลแบบอุปนัย  …….(2)  การใหเหตุผลแบบอุปนัยมีจุดออน คือ  เราสังเกตหรือทดลองจากตัวอยางจํานวนหนึ่ง  แลวสรุปวาทั้งหมดเปนไปตามที่เราสังเกตหรือทดลองได  ซึ่งอาจมีตัวอยางอีกจํานวน  หนึ่งที่เราไมไดสังเกตหรือไมไดทดลอง  และผลสรุปอาจไมเปนไปตามที่เราสรุปไวก็ได  …….(3)  การใหเหตุผลเปนเครื่องมือที่มนุษยใชในการแสวงหาความรู  วิธีหาความรูโดยการให   เหตุผลเปนการขยายวงความรูจากสิ่งที่เรารูแลววาจริงไปยังสิ่งที่เรายังไมรู  …….(4)  การใหเหตุผลที่ถูกตองแบบนิรนัย คือ  การใหเหตุผลที่ถาเหตุเปนจริง  เปนไปไมไดที่  ผลจะเปนเท็จ  …….(5)  การใหเหตุผลที่ถูกตองแบบอุปนัย คือ การใหเหตุผลที่ถาเหตุเปนจริง  มีความนาจะ  เปนสูงที่ผลสรุปจะจริง
  • 16. แบบฝกทักษะ  1.จงหาจํานวน a จากแบบรูปของจํานวนที่กําหนดให  โดยการใชเหตุผลแบบอุปนัย  1)  12,22,32,42,a  6)  -15,-5,5,15,a  2)  12,10,8,6,a  7)   1,-1,-3,-5,a  3)  5,3,1,-1,-3,a  8)  -5,-3,-1,1,a  4)  1,-1,1,-1,1,a  9)  1,6,11,16,a  5)  1,4,9,16,25,a  10) 8,14,20,26,a  2. พิจารณาผลคูณทีกําหนดใหตอไปนี้  มีขอสังเกตอยางไรเกี่ยวกับตัวคูณและผลคูณ  และสามารถ  ่ ใหขอสรุปไดหรือไม  1 x 9  =  9  6 x 9  =  54  11 x 9  =  99  2 x 9  =  18  7 x 9  =  63  12 x 9  =  108  3 x 9  =  27  8 x 9  =  72  13 x 9  =  117  4 x 9  =  36  9 x 9  =  81  14 x 9  =  126  5 x 9  =  45  10 x 9  =  90  15 x 9  =  135  3. จงพิจารณาผลคูณของจํานวนตอไปนี้  142,857 x 1  =  142,857  142,857 x 2  =  285,714  142,857 x 3  =  428,571  142,857 x 4  =  571,428  1)  มีขอสังเกตเกี่ยวกับตัวเลขที่แทนจํานวนที่เปนผลคูณอยางไร  2)  คําตอบของ 142,857 x 5  และ  142,857 x 6  มีรูปแบบเดียวกับขอสรุปขางตนหรือไม  3)  คําตอบที่ไดจากการคูณ 142,857 ดวย 7 หรือ 8  โดยใชขอสรุปขางตนเปนจริงหรือไม   4.พิจารณาผลคูณตอไปนี้  37 x 3  =  111  37 x 6  =  222  37 x 9  =  333  37 x 12  =  444  1)  มีขอสังเกตอยางไรเกี่ยวกับตัวคูณและผลคูณขางตน  2)  ใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยเพื่อหาผลคูณที่มีคาเทากับ  555,666,777,888,999
  • 17. 5.จากรูปแบบของสมการทีกําหนดให  จงหาสมการถัดไป  โดยใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและ  ่ ตรวจสอบความถูกตองของคําตอยโดยวิธีการคํานวณ  1)  9 x 9 + 7  =  88  98 x 9 + 6  =  888 987 x 9 + 5  =  8,888  9876 x 9 + 4  =  88,888  2)  34 x 34  =  1,156  334 x 334  =  111,556  3,334 x 3,334  =  …………  ……………….  =  …………  3)  2  =  4 – 2  2 + 4  =  8 – 2  2 + 4 + 8  =  16 – 2  2 + 4 + 8 + 16  =  32 – 2  ………………..  =  ………  4)  3  =  3 + 6  =  3 + 6 + 9  =  3 + 6 + 9 + 12  =  ..……………….  =  …………  5)  5(6)  =  6(6 - 1)  5(6) + 5(36)  =  6(36 – 1)  5(6) + 5(36) + 5(216)  =  6(216 - 1)  ………………………..  =  ………….
  • 18. 6. นักคณิตศาสตรชาวเยอรมันชื่อ  คารล  ฟรีดริช  เกาส  (Carl Friedrich Gauss ,  ค.ศ.1777 - 1855)  ไดหาผลบวกของจํานวนตั้งแต 1 ถึง 100  ซึ่งเทากับ 5,050  โดยใชวิธการดังนี้  ี 1 + 2 + 3 +         .....         + 98 + 99  + 100  101 101 101  เกาส  สังเกตวา  จํานวน 101 มีทั้งหมด 50 จํานวน  ดังนั้น  เขาจึงหาคําตอบโดยหาผลคูณของ 50 x 101  ซึ่งเทากับ 5,050  จงใชวิธีการของเกาสในตัวอยางขางตนหาผลบวกตอไปนี้  1)  1 + 2 + 3 +…+ 150  3)  1 + 2 + 3 +…+ 500  2)  1 + 2 + 3 +…+ 300  4)  1 + 2 + 3 +…+1,000  7. ใชวิธการของเกาสในขอ 6.  เพื่อหาผลบวกตอไปนี้  ี 1)  2 + 4 + 6 +…+ 100  2)  1 + 2 + 3 +…+ 125  3)  1 + 2 + 3 +…+ n  เมื่อ n เปนจํานวนนับที่เปนจํานวนคี่  8. ชาวกรีกโบราณเขียนแทนจํานวน 1,3,6,10,15,21  โดยใชสญลักษณดังนี้  ั (1)    (2)           (3)             (4)                  (5)                     (6)  1         3             6                  10                     15                       21  เรียกจํานวนที่สามารถเขียนแทนดวยสัญลักษณในลักษณะขางตนวา  จํานวนสามเหลี่ยม  (Triangular  numbers)  ใชการสังเกตจากแบบรูปของจํานวนสามเหลี่ยมขางตน  ตอบคําถามตอไปนี้  1)  จงเขียนจํานวนสามเหลี่ยมที่อยูถัดจาก 21  อีกสองจํานวน  2)  อธิบายวิธีการเขียนจํานวนสมเหลี่ยม  โดยการแทนดวยจุดวาแตละรูปมีความสัมพันธกน  ั อยางไร  3)  72  เปนจํานวนสามเหลียมหรือไม ่
  • 19. 9. จากขอสรุปตอไปนี้พจารณาวา  ขอสรุปใดเปนจริง  ถาไมเปนจริงใหยกตัวอยางคาน  ิ 1)  ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนใดๆจะหารดวย 2 ลงตัวเสมอ  2)  จํานวนนับใดๆที่มีคามากกวา 4  จะเขียนไดในรูปของผลบวกของจํานวนถัดไปสองจํานวน  หรือมากกวาสองจํานวน  เชน  5 = 2 + 3, 6 = 1 + 2 + 3, 14 = 2 + 3 + 4 + 5  เปนตน  3)  กําลังสองของจํานวนนับใดๆจะเปนจํานวนคูเสมอ  10.  จากแบบรูปที่กําหนดให  จงเขียนรูปที่อยูถัดไป   1)  (1)         (2)               (3)  2)  (1)            (2)                (3)
  • 20. เฉลยใบกิจกรรม  ขอ 1  (1) อุปนัย  (2) อุปนัย  (3)  อุปนัย  (4)  นิรนัย  (5)  อุปนัย  (6)  นิรนัย  (7)  อุปนัย  (8)  นิรนัย  ขอ 2  (1)  อุปนัย  (2)  อุปนัย  (3)  อุปนัย  (4)  นิรนัย  (5)  นิรนัย  (6) นิรนัย  (7)  อุปนัย  (8)  นิรนัย  (9)  อุปนัย  (10)  อุปนัย  ขอ 3  (1) P  (2) P  (3) P  (4) P  (5) P
  • 21. บันทึกหลัง  ผลการจัดการเรียนรู  ผลการเรียนรู  1.  ดานความรู  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  2.  ดานทักษะ/กระบวนการ  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  3.  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค  ึ ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................  ปญหาที่ควรแกไข/พัฒนา  วิธีดําเนินการแกไข/พัฒนา  ผลการแกไข/พัฒนา  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ลงชื่อ………………………..  (นายอุดม  วงศศรีดา)  ครู ชํานาญการพิเศษ