SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอด
 สาเหตุ
  1. บุหรี่ การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุที่สาคัญที่สุดของการเกิดโรคมะเร็งปอด ผู้สูบ
  บุหรี่มีโอกาสเป็นมะเร็งปอดมากกว่าผู้ไม่สูบ10เท่าผู้ที่ต้องสูดดมควันบุหรี่ของ
  ผู้อื่น เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งปอดด้วย ควันบุหรี่มสารประกอบมากกว่า
                                                          ี
  4,000 ชนิด และในจานวนนี้มีประมาณ 60 ชนิด ที่เป็นสารก่อมะเร็ง
  ตัวกระตุ้นและตัวส่งเสริมให้เกิดมะเร็งปอด ได้แก่ ทาร์ นิโคติน คาร์บอน
  มอนนอกไซด์ ไฮโดรเจนไซยานายด์ ฟีนอล
  แอมโมเนีย เบ็นซิน และ ฟอร์มาลดีฮายด์ เป็นต้น
  มะเร็งปอด พบมากในภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งนิยม สูบบุหรี่พื้นเมือง ขี้
  โยหรือยามวน ซึ่งมีปริมาณทาร ์ และ สารก่อมะเร็ง อื่นๆ สูง
2. แอสเบสตอส เป็นแร่ที่ใช้ในอุตสาหกรรมหลายชนิด เช่น การก่อสร้าง โครงสร้างอาคาร
ผ้าเบรค คลัช ฉนวนความร้อนอุตสาหกรรมสิ่งทอเหมืองแร่ผู้ที่เสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่ทางานใน
สิ่งแวดล้อมที่มี แอสเบสตอสเป็นส่วน ประกอบระยะเวลาตั้งแต่สัมผัสฝุ่นแอสเบสตอสจนเป็น
มะเร็งปอด อาจใช้ เวลา 15–35 ปีผู้ไม่สูบบุหรี่ แต่ทางานกับฝุ่นแร่แอสเบสตอส เสี่ยงต่อ
มะเร็ง ปอดมากกว่าคนทั่ว ไป 5 เท่า ผู้สูบบุหรี่และทางานกับฝุ่นแร่แอสเบสตอสด้วย เสี่ยง
ต่อมะเร็งปอดมากกว่า คนทั่วไปถึง 90 เท่า
3.เรดอน เป็นก๊าซกัมมันตรังสี ไม่มีสี ไม่มี
   กลิ่น ไม่มีรส เกิดจากการสลายตัว ของแร่
   ยูเรเนียมในใยหิน ซึ่ง
   กระจายอยู่ในอากาศและน้าใต้ดิน ในที่ๆ
   อากาศ ไม่ถ่ายเท เช่น ในเหมืองใต้ดินอาจ
   มีปริมาณมากทาให้มี
   ความเสี่ยงต่อการ เกิดมะเร็งปอดได้

4.มลภาวะในอากาศ ได้แก่ไอควันพิษจาก
   รถยนต์ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น
อาการ
 ระยะเริ่มแรกของโรค   ไม่มีอาการใดใดที่บ่งชี้ได้
  อย่างชัดเจนว่าเป็นมะเร็ง ปอด แต่อาจพบ
  อาการไอเรื้อรัง ลักษณะไอแห้งๆ นานกว่า
  ธรรมดา บางครั้ง มีเสมหะ หรือมีเลือดออก
  เป็นเพียงสายๆติดปนกับเสมหะ
  ออกมา น้าหนักลด เบื่ออาหาร ซีด
  อ่อนเพลีย ปอดอักเสบ มีไข้ เจ็บหน้าอก ซึ่ง
  อาจทาให้ผู้ป่วยไม่มาพบแพทย์ เพื่อรับการ
  รักษา ทาให้โอกาสที่จะรักษา
  หายลดน้อยลง
อาการ
 1. ไอแห้งๆ อยู่นานกว่าธรรมดา
 2. ไอมีเสมหะ

 3. ไอเป็นเลือด แต่เลือดมักออกปนมากับเสมหะ

 4. ปอดอักเสบ มีไข้ เจ็บหน้าอก

 5. น้าหนักลด เบื่ออาหาร ซีด อ่อนเพลีย

 6. เสียงแหบ เพราะมะเร็งลุกลามไปยังประสาทบริเวณกล่องเสียง

 7. บวมที่หน้า คอ แขน และอกส่วนบน เนื่องจากมีเลือดดาคั่ง

 8. หายใจลาบาก และหอบเหนื่อย เนื่องจากก้อนมะเร็งโตขึ้น ทาให้เนื้อที่ปอดสาหรับ
  หายใจเหลือน้อยลงไม่เพียงพอกับ ความต้องการของร่างกาย
 9. กลืนลาบาก เนื่องจากหลอดอาหารถูกกด

 10. เจ็บปวด เนื่องจากมะเร็งลุกลามแพร่กระจายไปในกระดูก ผนังอก ฯลฯ

 11. อัมพาด เนื่องจากมะเร็งแพร่กระจาย ไปยังสมองหรือไขสันหลัง
การวินิจฉัย
1. ถ่ายภาพเอ็กซเรย์ปอด
2. ตรวจเสมหะที่ไอออกมาเพือหา
                           ่
เซลล์มะเร็ง
3. ส่องกล้องตรวจดูภายในหลอดลม
4. ขลิบชิ้นเนื้อจากหลอดลมหรือต่อม
น้าเหลือง บริเวณไหปลาร้า เพื่อการ
      วินิจฉัยทางพยาธิวิทย
การรักษา

เมื่อพบว่าเป็นโรคมะเร็งปอดแน่นอนแล้ว
แพทย์จะเป็นผู้ตัดสินใจว่าผู้ป่วย
ควรจะได้รับการรักษาแบบใดจึงจะเหมาะสม
ที่สุด โดยพิจารณาถึงอายุ ภาวะ
ความแข็งแรงของร่างกาย ระยะของโรค ชนิด
ของมะเร็งและการยอมรับ
ของผูป่วย ซึ่งการรักษาจะ
       ้
ประกอบด้วย
1. การผ่าตัด
2. รังสีรักษา
3. เคมีบาบัด
4. การรักษาแบบผสมผสานวิธีการดังกล่าว
ข้างต้น
5. การรักษาแบบประคับประคอง
การป้องกัน

1. เลิกสูบบุหรี่
2. หลีกเลี่ยงการได้รับมลพิษใน
     สิ่งแวดล้อม
3. รับประทานผัก ผลไม้ให้มากขึ้น และ
     อาหารที่มี วิตามินซี วิตามินอี รวมทั้ง
      เซเลเนียม เช่น ข้าวซ้อมมือ ราข้าว
     และออกกาลังกายสม่าเสมอ อาจลด
      ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปอด
4. การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง การ
     ดื่มสุราอาจเพิ่มความเสี่ยง ต่อการเกิด
     โรคมะเร็งปอดได้
จัดทาโดย

นาย พินิจ   ศรีไพรงาม ม.4/4 เลขที่ 16

More Related Content

What's hot

ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 

What's hot (20)

ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 

Viewers also liked

มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากWan Ngamwongwan
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดvalharnvarkiat
 
โรคปอดฝุ่นทราย
โรคปอดฝุ่นทรายโรคปอดฝุ่นทราย
โรคปอดฝุ่นทรายWan Ngamwongwan
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (20)

Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
โรคปอดฝุ่นทราย
โรคปอดฝุ่นทรายโรคปอดฝุ่นทราย
โรคปอดฝุ่นทราย
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวม
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

Similar to โรคมะเร็งปอด.Pptx

โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดโรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีWan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็งsantti2055
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบniralai
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 

Similar to โรคมะเร็งปอด.Pptx (15)

โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดโรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอด
 
โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรี
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็ง
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 

More from Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบWan Ngamwongwan
 
หลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบหลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (19)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบ
 
หลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบหลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบ
 

โรคมะเร็งปอด.Pptx

  • 2. โรคมะเร็งปอด  สาเหตุ 1. บุหรี่ การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุที่สาคัญที่สุดของการเกิดโรคมะเร็งปอด ผู้สูบ บุหรี่มีโอกาสเป็นมะเร็งปอดมากกว่าผู้ไม่สูบ10เท่าผู้ที่ต้องสูดดมควันบุหรี่ของ ผู้อื่น เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งปอดด้วย ควันบุหรี่มสารประกอบมากกว่า ี 4,000 ชนิด และในจานวนนี้มีประมาณ 60 ชนิด ที่เป็นสารก่อมะเร็ง ตัวกระตุ้นและตัวส่งเสริมให้เกิดมะเร็งปอด ได้แก่ ทาร์ นิโคติน คาร์บอน มอนนอกไซด์ ไฮโดรเจนไซยานายด์ ฟีนอล แอมโมเนีย เบ็นซิน และ ฟอร์มาลดีฮายด์ เป็นต้น มะเร็งปอด พบมากในภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งนิยม สูบบุหรี่พื้นเมือง ขี้ โยหรือยามวน ซึ่งมีปริมาณทาร ์ และ สารก่อมะเร็ง อื่นๆ สูง
  • 3. 2. แอสเบสตอส เป็นแร่ที่ใช้ในอุตสาหกรรมหลายชนิด เช่น การก่อสร้าง โครงสร้างอาคาร ผ้าเบรค คลัช ฉนวนความร้อนอุตสาหกรรมสิ่งทอเหมืองแร่ผู้ที่เสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่ทางานใน สิ่งแวดล้อมที่มี แอสเบสตอสเป็นส่วน ประกอบระยะเวลาตั้งแต่สัมผัสฝุ่นแอสเบสตอสจนเป็น มะเร็งปอด อาจใช้ เวลา 15–35 ปีผู้ไม่สูบบุหรี่ แต่ทางานกับฝุ่นแร่แอสเบสตอส เสี่ยงต่อ มะเร็ง ปอดมากกว่าคนทั่ว ไป 5 เท่า ผู้สูบบุหรี่และทางานกับฝุ่นแร่แอสเบสตอสด้วย เสี่ยง ต่อมะเร็งปอดมากกว่า คนทั่วไปถึง 90 เท่า
  • 4. 3.เรดอน เป็นก๊าซกัมมันตรังสี ไม่มีสี ไม่มี กลิ่น ไม่มีรส เกิดจากการสลายตัว ของแร่ ยูเรเนียมในใยหิน ซึ่ง กระจายอยู่ในอากาศและน้าใต้ดิน ในที่ๆ อากาศ ไม่ถ่ายเท เช่น ในเหมืองใต้ดินอาจ มีปริมาณมากทาให้มี ความเสี่ยงต่อการ เกิดมะเร็งปอดได้ 4.มลภาวะในอากาศ ได้แก่ไอควันพิษจาก รถยนต์ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น
  • 5. อาการ  ระยะเริ่มแรกของโรค ไม่มีอาการใดใดที่บ่งชี้ได้ อย่างชัดเจนว่าเป็นมะเร็ง ปอด แต่อาจพบ อาการไอเรื้อรัง ลักษณะไอแห้งๆ นานกว่า ธรรมดา บางครั้ง มีเสมหะ หรือมีเลือดออก เป็นเพียงสายๆติดปนกับเสมหะ ออกมา น้าหนักลด เบื่ออาหาร ซีด อ่อนเพลีย ปอดอักเสบ มีไข้ เจ็บหน้าอก ซึ่ง อาจทาให้ผู้ป่วยไม่มาพบแพทย์ เพื่อรับการ รักษา ทาให้โอกาสที่จะรักษา หายลดน้อยลง
  • 6. อาการ  1. ไอแห้งๆ อยู่นานกว่าธรรมดา  2. ไอมีเสมหะ  3. ไอเป็นเลือด แต่เลือดมักออกปนมากับเสมหะ  4. ปอดอักเสบ มีไข้ เจ็บหน้าอก  5. น้าหนักลด เบื่ออาหาร ซีด อ่อนเพลีย  6. เสียงแหบ เพราะมะเร็งลุกลามไปยังประสาทบริเวณกล่องเสียง  7. บวมที่หน้า คอ แขน และอกส่วนบน เนื่องจากมีเลือดดาคั่ง  8. หายใจลาบาก และหอบเหนื่อย เนื่องจากก้อนมะเร็งโตขึ้น ทาให้เนื้อที่ปอดสาหรับ หายใจเหลือน้อยลงไม่เพียงพอกับ ความต้องการของร่างกาย  9. กลืนลาบาก เนื่องจากหลอดอาหารถูกกด  10. เจ็บปวด เนื่องจากมะเร็งลุกลามแพร่กระจายไปในกระดูก ผนังอก ฯลฯ  11. อัมพาด เนื่องจากมะเร็งแพร่กระจาย ไปยังสมองหรือไขสันหลัง
  • 7. การวินิจฉัย 1. ถ่ายภาพเอ็กซเรย์ปอด 2. ตรวจเสมหะที่ไอออกมาเพือหา ่ เซลล์มะเร็ง 3. ส่องกล้องตรวจดูภายในหลอดลม 4. ขลิบชิ้นเนื้อจากหลอดลมหรือต่อม น้าเหลือง บริเวณไหปลาร้า เพื่อการ วินิจฉัยทางพยาธิวิทย
  • 8. การรักษา เมื่อพบว่าเป็นโรคมะเร็งปอดแน่นอนแล้ว แพทย์จะเป็นผู้ตัดสินใจว่าผู้ป่วย ควรจะได้รับการรักษาแบบใดจึงจะเหมาะสม ที่สุด โดยพิจารณาถึงอายุ ภาวะ ความแข็งแรงของร่างกาย ระยะของโรค ชนิด ของมะเร็งและการยอมรับ ของผูป่วย ซึ่งการรักษาจะ ้ ประกอบด้วย 1. การผ่าตัด 2. รังสีรักษา 3. เคมีบาบัด 4. การรักษาแบบผสมผสานวิธีการดังกล่าว ข้างต้น 5. การรักษาแบบประคับประคอง
  • 9. การป้องกัน 1. เลิกสูบบุหรี่ 2. หลีกเลี่ยงการได้รับมลพิษใน สิ่งแวดล้อม 3. รับประทานผัก ผลไม้ให้มากขึ้น และ อาหารที่มี วิตามินซี วิตามินอี รวมทั้ง เซเลเนียม เช่น ข้าวซ้อมมือ ราข้าว และออกกาลังกายสม่าเสมอ อาจลด ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปอด 4. การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง การ ดื่มสุราอาจเพิ่มความเสี่ยง ต่อการเกิด โรคมะเร็งปอดได้
  • 10. จัดทาโดย นาย พินิจ ศรีไพรงาม ม.4/4 เลขที่ 16