SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1

รายวิชา ฟสิกส 3                                             ประกอบหนวยการเรียนรู
ระดับชั้น มัธยมศึกษาป$ที่ 5
                                            ใบความรู 1      เรื่อง กลศาสตรของไหล
                           หัวขอเรื่อง ความหนาแนน และความดันในของไหล

   ความดันและแรงดัน ( Pressure and Force )
           แรงดัน ( Force ) คือ แรงทั้งหมดที่กดลงบนพื้นที่ถูกกระทํา                       v
                                                                                          F
           ความดัน ( Pressure ) คือ แรงดันที่กระทําตอพื้นที่ 1 ตารางหนวย                  A
                                           v
          สมมุติบนพื้นที่ A ตร.ม. มีแรงดัน F นิวตัน      v
                                                  v         F
           ∴ ความดัน ที่เกิดขึ้นบนพื้นที่นี้คือ   P =
                             v                              A
           กําหนดให          P       คือ ความดัน มีหนวยเป)น นิวตันตอตารางเมตร ( N/m2 )
                             v
                             F       คือ แรงที่กระทําตั้งฉากกับพื้นที่ มีหนวยเป)น นิวตัน ( N )
                            A        คือ พื้นที่ ที่รับแรงกระทํา มีหนวยเป)น ตารางเมตร ( m2 )
            ระบบ SI         1    ปาสคาล ( Pascal ) =             1 นิวตันตอตารางเมตร ( N/m2 )
   ทางอุตุนิยมวิทยา         1    บาร ( Bar )             =       105 ปาสคาล
                            1    บรรยากาศ ( Atmosphere )                 =     1       บาร?
                                                                           5
                            1    บรรยากาศ ( Atmosphere ) = 1.01x10 นิวตันตอตารางเมตร


   ตัวอยางที่ 1 จากรูป A, B และ C เป)นแทงไมGกวGาง 10 ซม. ยาว 30 ซม. หนา 5 ซม. เทากัน
   อยากทราบวา แรงดัน และความดัน ของแทงไมGทั้ง 3 รูปจะเป)นอยางไร


             A                             B                            C

   ตอบ แรงดั นของทั้ งไมG มีคาเทากั น เพราะ เป) น ไมGช นิ ด เดี ย วกั น ความหนาแนนเทากั น ปริ มาตร
   เทากัน ยอมมีมวลเทากัน ผลทําใหGมีน้ําหนักเทากัน จึง เกิดแรงดันเทากัน ( F = mg = ρVg ) v
                                                                                 v            F
           ความดันเกิดขึ้นกันแทงไมG C มากที่สุด รองลงมาคือ A และ B ตามลําดับ ( P      =         )
                                                                                              A
2

ตัวอยางที่ 2 ขวดมวล 0.6 กิโลกรัม ภายในบรรจุน้ํามวล 2 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นโตRะ ถGาขวดนี้สูง
60 เซนติเมตร และมีพื้นที่หนGาตัดที่กGนขวด 130 ตารางเซนติเมตร ความดันที่ขวดกระทําตอพื้นโตRะ
เป)นกี่ นิวตันตอตารางเมตร ( ความหนาแนนของน้ําเทากับ 103 กิโลกรัมตอลูกบาศก?เมตร )
                                         v
                           v                  F
         วิธีทํา           P         =
                                              A
                           v                     26
                           P        =
                                              130x10 - 4
                           v
                           P      =      2x103 N/m2
         ตอบ       ความดันที่ขวดกระทําตอพื้นโตRะเป)น 2x103 นิวตันตอตารางเมตร

ความดันของของเหลว
       ของเหลวเป) น สถานะหนึ่ ง ของสสาร ดั ง นั้ น จึ ง มี ม วลและเกิ ด น้ํ า หนั ก ขึ้ น บริ เ วณใดที่ ถู ก
ของเหลวทับอยู จะถูกกดดGวยแรงที่เทากับน้ําหนักของของเหลวนั้น


                       v
                       F       h
       v               X       v
       F                       F
   รู ป ก.         v                                                                          h
                   F


       พิจารณาจากรูป ก. ณ ตําแหนง X
เป)นตําแหนงใดๆ ที่อยูในของเหลว ที่ระดับ
ความลึก h จะถูก แรงดันของของเหลวนี้             X                      A
กระทํ า ทุ ก ทิ ศ ทุ ก ทางในทิ ศ ตั้ ง ฉากกั บ
ผิวสัมผัสเสมอ
       เมื่อ พิจารณาที่ตําแหนง X ดGวยรูป ข.                       รู ป ข.
ที่ ข ยายใหญขึ้ น จะแสดงใหG เ ห็ น วา ณ
ตําแหนง X จะมีลําของเหลวพื้นที่หนGาตัด A ตารางเมตร สูง h เมตร ดังนั้น ณ ตําแหนง X จะเกิด
ความดัน เนื่องจากของเหลวนี้กดทับ ดังนี้

         ∴         น้ําหนักที่กดทับที่ตําแหนง X คือ mg = ρVg = ρAhg
                                                           v
                                                    v      F      ρAhg
                   ความดันของเหลวที่ระดับ h คือ P =           =                            = ρgh
                                                                    A             A
                                                         v
                                                         P   = ρgh
3


                v
กําหนดให        P       คือ   ความดันของของเหลว มีหนวยเป)น นิวตันตอตารางเมตร ( N/m2 )
                ρ       คือ   ความหนาแนนของของเหลว มีหนวยเป)น กิโลกรัมตอลูกบาศก?เมตร
                g       คือ   ความเรงจากแรงดึงด฿ดของโลก มีหนวยเป)น เมตรตอ(วินาที)2 (m/s2)
                h       คือ   ระดับความลึกของของเหลว มีหนวยเป)น เมตร ( m )

ลักษณะสําคัญของความดันของของเหลว
          1. ณ ตําแหนงใดๆ ในของเหลว แรงดันของของเหลวมีทุกทิศทางรอบตําแหนงนั้นๆ
          2. ของเหลวที่อยูติดกับภาชนะจะสงแรงดันออกในทิศตั้งฉากกับผิวสัมผัส
          3. ภายใตGสภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ตําแหนงใดๆ ขึ้นกับความลึก
ของตําแหนงนั้น วัดจากผิวของเหลว ( h ) และความหนาแนนของของเหลว ( ρ )
                      v
             ตามสมการ P = ρgh และเทากันทุกทิศทุกทาง
          4. ความดันของของเหลวภายใตGแรงดึงดูดของโลกจะขึ้นกับระดับลึกวัดจากผิวของเหลวโดยไม
ขึ้นอยูกับรูปรางของภาชนะเลย

ความดันเกจ ( PW )
       ความดันเกจ คือ ความดันที่เกิดขึ้นเนื่องจากน้ําหนักของของเหลวนั้น ใชGสัญลักษณ? PW
                      PW =               ρgh

ตัวอยางที่ 3 พิจารณาภาชนะบรรจุน้ํา 3 ใบ ปริมาตรไมเทากัน ถGาความสูงของระดับน้ําในภาชนะ
ทั้งสามใบมีคาเทากัน อยากทราบวา ความหนาแนนของน้ํา มวลของน้ํา น้ําหนักของน้ํา และความ
ดันที่กGนภาชนะ จะเป)นอยางไร




                        รู ป ก.                   รู ป ข.                   รู ป ค.


ตอบ ความหนาแนนของน้ํา ในภาชนะทั้งสามรูป มีคาเทากัน
 ( ρ เทากับ 103 กิโลกรัมตอลูกบาศก?เมตร )
มวลของน้ําในภาชนะทั้งสามรูปไมเทากัน เพราะ ปริมาตรน้ําในภาชนะทั้งสามรูปไมเทากัน(m = ρV)
น้ําหนักของน้ําในภาชนะทั้งสามไมเทากัน เพราะ มวลของน้ําในภาชนะทั้งสามรูปไมเทากัน (W = mg)
                                                                  v
ความดันที่กGนภาชนะทั้งสาม มีคาเทากัน เพราะ มีระดับความลึกเทากัน ( P = ρgh )
4

ตัวอยางที่ 4 ในถังใบหนึ่งมีน้ําและน้ํามัน โดยน้ํามันอยูเหนือน้ํา เป)นชั้นสูง 10 เซนติเมตร และชั้น
น้ําอยูขGางลาง 5 เซนติเมตร จงหาความดันที่กGนถังเนื่องจากของเหลวนี้ เมื่อ ความหนาแนนของน้ํา
เทากับ 1x103 kg/m3 และ ความหนาแนนของน้ํามัน เทากับ 0.8x103 kg/m3
                  v
วิธีทํา           P = ρน้ํามันgh + ρน้ําgh
                  v
                  P = ( 0.8x103x 10 x 10x10 – 2 ) + ( 1x103x 10 x 5x10 – 2 )
                  v
                  P = 0.8x103+ 0.5x103
                  v
                  P = 1.3x103           N/m2


ความดันบรรยากาศ ( Atmosphere pressure )
        ทอริเชลลิ ( Torricelli ) ใชGหลอดแกGว บรรจุปรอทเต็มแลGวคว่ําลงในอางปรอท น้ําหนักของ
ปรอทจะดึงตัวเองลงมาทําใหGสวนบนหลอดเป)นที่วาง แตยังคงมีลําปรอทคGางในหลอดไดGเพราะ มีอากาศ
ดันดGวยความดัน Pa แสดงวา ความดันของอากาศเทากับความดันเนื่องจากน้ําหนักของปรอท สูง h

                                      ∴         Pบรรยากาศ               =      Pxivm
                                                Pบรรยากาศ               =      ρปรอทgh
   Pบรรยากาศ           h                จากการทดลอง เมื่อคว่ําปรอทในหลอดแกGวจะมีความสูงจาก
                              ผิวปรอทในอางเทากับ 76 เซนติเตร ความหนาแนนของปรอทเทากับ
                              13.6x103 kg/m3
                              ( เมื่อ คา g = 9.8 m/s2 ) จะไดG
                                        Pa      =        13.6x103x9.8x0.76
                                         Pa               =               1.01x105
N/m2


การบอกความดันของบรรยากาศ บอกไดG 3 วิธี
      1. บอกเป)นหนวยความดัน เชน วันนี้อากาศมีความดัน 1.01x105 N/m2
      2. บอกเป)นความสูงของปรอท เชนวันนี้อากาศมีความดันของปรอทสูง 76 ซม.หรือ 760มม.
ของปรอท
      3. บอกเป)นความสูงของน้ํา เชน วันนี้อากาศมีความดันเทากับน้ําสูง 10.3 ม.

ตัวอยางที่ 5 จงหาความดันที่ระดับความลึกจากผิวน้ํา 5 เมตร เมื่อ ความหนาแนนของน้ํา เทากับ
1x103 kg/m3 และ ความดันบรรยากาศเทากับ 1.01x105 N/m2
                    v
วิธีทํา             P = Pa + ρน้ําgh
                    v
                    P = (1.01x105)+(1x103 x10 x 5 )
                    v
                    P = 1.51x105 N/m2
5

ตัวอยางที่ 6 คว่ําหลอดแกGวบรรจุปรอท ลงในอางปรอท ในขณะที่ความดันบรรยากาศมีคาเทากับ 76
ซม.ของปรอท ดังรูป ความดันภายในหลอดแกGวที่ X มีคากี่ มม.ของปรอท
                                  วิธีทํา Pที่ X = 76 + 4 ซม.ของปรอท
                  4 ซม.ของปรอท                   = 80 ซม.ของปรอท
            X
                                                 = 800 มม.ของปรอท
  Pบรรยากาศ         h             ตอบ ความดันภายในหลอดแกGวที่ X มีคา 800 มิลลิเมตร
                                  ของปรอท




แรงดันที่เขื่อนกั้นน้ํา
                                        แรงดัน = ความดันเฉลี่ย x พื้นที่ที่ถูกกระทํา
                          l            v
                                       F       =
                                                         (Pบน + Pล่าง ) x A
                                                                2
                                       v                 (0 + ρgH )
                                       F       =                       (lH)
            Pบน                                                2
                                       v                 1
      F                       H        F       =           ρg l H2
                                                         2
            Pล่าง



                                                กรณีที่แรงดันที่เขื่อนกันน้ําทั้งสองดGาน จะไดG
                                       แรงดันที่กระทําตอเขื่อนดังนี้ จากรูป
                                                v
                                                F        = F1 – F2
                                                v              1                 1
                                                F       = ( ρg l H2 )1 – ( ρg l H2 )2
     F1                                                        2                 2
                                  F2
6

ตัวอยางที่7 ประตูน้ําแหงหนึ่งกวGาง 10 เมตร มีระดับน้ําในประตูสูง 12 เมตร นอกประตูสูง 4
เมตร จงหาแรงที่เกิดกับประตูน้ําเทากับเทาไร




   F1
                    F2


        v         1           1
วิธีทํา F     = ( ρg l H2 )1 – ( ρg l H2 )2
                  2           2
        v        1                     1
        F     = ( x103x10x10x122 )1 – ( x103x10x10x42)2
        v        2                     2
        F     = 6.4 x 106 นิวตัน ( N )

More Related Content

What's hot

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Wijitta DevilTeacher
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
jirupi
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
Wijitta DevilTeacher
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
Aon Narinchoti
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
Wijitta DevilTeacher
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
krukrajeab
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
tewin2553
 

What's hot (20)

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 

Viewers also liked

ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07
witthawat silad
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
Wijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (20)

ใบงาน 07
ใบงาน  07ใบงาน  07
ใบงาน 07
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
ใบความรู้.07
ใบความรู้.07ใบความรู้.07
ใบความรู้.07
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
Know6
Know6Know6
Know6
 
ใบความรู้ 4
ใบความรู้ 4ใบความรู้ 4
ใบความรู้ 4
 
Ass6
Ass6Ass6
Ass6
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07
 
สะพานแขวน Vs สะพานขึง
สะพานแขวน Vs สะพานขึงสะพานแขวน Vs สะพานขึง
สะพานแขวน Vs สะพานขึง
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1

ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
luanrit
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
tewin2553
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
thanakit553
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
krupornpana55
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
Icxise RevenClaw
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 (20)

00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
Sci30203-Pressure
Sci30203-PressureSci30203-Pressure
Sci30203-Pressure
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
Fluids
FluidsFluids
Fluids
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
P09
P09P09
P09
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
Week5[1]
Week5[1]Week5[1]
Week5[1]
 
Sc1362
Sc1362Sc1362
Sc1362
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ใบความรู้ 2
ใบความรู้ 2ใบความรู้ 2
ใบความรู้ 2
 
9 1
9 19 1
9 1
 
Problem1363
Problem1363Problem1363
Problem1363
 
Brands physics
Brands physicsBrands physics
Brands physics
 

More from Wijitta DevilTeacher

10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 

More from Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
 

ใบความรู้ที่ 1

  • 1. 1 รายวิชา ฟสิกส 3 ประกอบหนวยการเรียนรู ระดับชั้น มัธยมศึกษาป$ที่ 5 ใบความรู 1 เรื่อง กลศาสตรของไหล หัวขอเรื่อง ความหนาแนน และความดันในของไหล ความดันและแรงดัน ( Pressure and Force ) แรงดัน ( Force ) คือ แรงทั้งหมดที่กดลงบนพื้นที่ถูกกระทํา v F ความดัน ( Pressure ) คือ แรงดันที่กระทําตอพื้นที่ 1 ตารางหนวย A v สมมุติบนพื้นที่ A ตร.ม. มีแรงดัน F นิวตัน v v F ∴ ความดัน ที่เกิดขึ้นบนพื้นที่นี้คือ P = v A กําหนดให P คือ ความดัน มีหนวยเป)น นิวตันตอตารางเมตร ( N/m2 ) v F คือ แรงที่กระทําตั้งฉากกับพื้นที่ มีหนวยเป)น นิวตัน ( N ) A คือ พื้นที่ ที่รับแรงกระทํา มีหนวยเป)น ตารางเมตร ( m2 ) ระบบ SI 1 ปาสคาล ( Pascal ) = 1 นิวตันตอตารางเมตร ( N/m2 ) ทางอุตุนิยมวิทยา 1 บาร ( Bar ) = 105 ปาสคาล 1 บรรยากาศ ( Atmosphere ) = 1 บาร? 5 1 บรรยากาศ ( Atmosphere ) = 1.01x10 นิวตันตอตารางเมตร ตัวอยางที่ 1 จากรูป A, B และ C เป)นแทงไมGกวGาง 10 ซม. ยาว 30 ซม. หนา 5 ซม. เทากัน อยากทราบวา แรงดัน และความดัน ของแทงไมGทั้ง 3 รูปจะเป)นอยางไร A B C ตอบ แรงดั นของทั้ งไมG มีคาเทากั น เพราะ เป) น ไมGช นิ ด เดี ย วกั น ความหนาแนนเทากั น ปริ มาตร เทากัน ยอมมีมวลเทากัน ผลทําใหGมีน้ําหนักเทากัน จึง เกิดแรงดันเทากัน ( F = mg = ρVg ) v v F ความดันเกิดขึ้นกันแทงไมG C มากที่สุด รองลงมาคือ A และ B ตามลําดับ ( P = ) A
  • 2. 2 ตัวอยางที่ 2 ขวดมวล 0.6 กิโลกรัม ภายในบรรจุน้ํามวล 2 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นโตRะ ถGาขวดนี้สูง 60 เซนติเมตร และมีพื้นที่หนGาตัดที่กGนขวด 130 ตารางเซนติเมตร ความดันที่ขวดกระทําตอพื้นโตRะ เป)นกี่ นิวตันตอตารางเมตร ( ความหนาแนนของน้ําเทากับ 103 กิโลกรัมตอลูกบาศก?เมตร ) v v F วิธีทํา P = A v 26 P = 130x10 - 4 v P = 2x103 N/m2 ตอบ ความดันที่ขวดกระทําตอพื้นโตRะเป)น 2x103 นิวตันตอตารางเมตร ความดันของของเหลว ของเหลวเป) น สถานะหนึ่ ง ของสสาร ดั ง นั้ น จึ ง มี ม วลและเกิ ด น้ํ า หนั ก ขึ้ น บริ เ วณใดที่ ถู ก ของเหลวทับอยู จะถูกกดดGวยแรงที่เทากับน้ําหนักของของเหลวนั้น v F h v X v F F รู ป ก. v h F พิจารณาจากรูป ก. ณ ตําแหนง X เป)นตําแหนงใดๆ ที่อยูในของเหลว ที่ระดับ ความลึก h จะถูก แรงดันของของเหลวนี้ X A กระทํ า ทุ ก ทิ ศ ทุ ก ทางในทิ ศ ตั้ ง ฉากกั บ ผิวสัมผัสเสมอ เมื่อ พิจารณาที่ตําแหนง X ดGวยรูป ข. รู ป ข. ที่ ข ยายใหญขึ้ น จะแสดงใหG เ ห็ น วา ณ ตําแหนง X จะมีลําของเหลวพื้นที่หนGาตัด A ตารางเมตร สูง h เมตร ดังนั้น ณ ตําแหนง X จะเกิด ความดัน เนื่องจากของเหลวนี้กดทับ ดังนี้ ∴ น้ําหนักที่กดทับที่ตําแหนง X คือ mg = ρVg = ρAhg v v F ρAhg ความดันของเหลวที่ระดับ h คือ P = = = ρgh A A v P = ρgh
  • 3. 3 v กําหนดให P คือ ความดันของของเหลว มีหนวยเป)น นิวตันตอตารางเมตร ( N/m2 ) ρ คือ ความหนาแนนของของเหลว มีหนวยเป)น กิโลกรัมตอลูกบาศก?เมตร g คือ ความเรงจากแรงดึงด฿ดของโลก มีหนวยเป)น เมตรตอ(วินาที)2 (m/s2) h คือ ระดับความลึกของของเหลว มีหนวยเป)น เมตร ( m ) ลักษณะสําคัญของความดันของของเหลว 1. ณ ตําแหนงใดๆ ในของเหลว แรงดันของของเหลวมีทุกทิศทางรอบตําแหนงนั้นๆ 2. ของเหลวที่อยูติดกับภาชนะจะสงแรงดันออกในทิศตั้งฉากกับผิวสัมผัส 3. ภายใตGสภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ตําแหนงใดๆ ขึ้นกับความลึก ของตําแหนงนั้น วัดจากผิวของเหลว ( h ) และความหนาแนนของของเหลว ( ρ ) v ตามสมการ P = ρgh และเทากันทุกทิศทุกทาง 4. ความดันของของเหลวภายใตGแรงดึงดูดของโลกจะขึ้นกับระดับลึกวัดจากผิวของเหลวโดยไม ขึ้นอยูกับรูปรางของภาชนะเลย ความดันเกจ ( PW ) ความดันเกจ คือ ความดันที่เกิดขึ้นเนื่องจากน้ําหนักของของเหลวนั้น ใชGสัญลักษณ? PW PW = ρgh ตัวอยางที่ 3 พิจารณาภาชนะบรรจุน้ํา 3 ใบ ปริมาตรไมเทากัน ถGาความสูงของระดับน้ําในภาชนะ ทั้งสามใบมีคาเทากัน อยากทราบวา ความหนาแนนของน้ํา มวลของน้ํา น้ําหนักของน้ํา และความ ดันที่กGนภาชนะ จะเป)นอยางไร รู ป ก. รู ป ข. รู ป ค. ตอบ ความหนาแนนของน้ํา ในภาชนะทั้งสามรูป มีคาเทากัน ( ρ เทากับ 103 กิโลกรัมตอลูกบาศก?เมตร ) มวลของน้ําในภาชนะทั้งสามรูปไมเทากัน เพราะ ปริมาตรน้ําในภาชนะทั้งสามรูปไมเทากัน(m = ρV) น้ําหนักของน้ําในภาชนะทั้งสามไมเทากัน เพราะ มวลของน้ําในภาชนะทั้งสามรูปไมเทากัน (W = mg) v ความดันที่กGนภาชนะทั้งสาม มีคาเทากัน เพราะ มีระดับความลึกเทากัน ( P = ρgh )
  • 4. 4 ตัวอยางที่ 4 ในถังใบหนึ่งมีน้ําและน้ํามัน โดยน้ํามันอยูเหนือน้ํา เป)นชั้นสูง 10 เซนติเมตร และชั้น น้ําอยูขGางลาง 5 เซนติเมตร จงหาความดันที่กGนถังเนื่องจากของเหลวนี้ เมื่อ ความหนาแนนของน้ํา เทากับ 1x103 kg/m3 และ ความหนาแนนของน้ํามัน เทากับ 0.8x103 kg/m3 v วิธีทํา P = ρน้ํามันgh + ρน้ําgh v P = ( 0.8x103x 10 x 10x10 – 2 ) + ( 1x103x 10 x 5x10 – 2 ) v P = 0.8x103+ 0.5x103 v P = 1.3x103 N/m2 ความดันบรรยากาศ ( Atmosphere pressure ) ทอริเชลลิ ( Torricelli ) ใชGหลอดแกGว บรรจุปรอทเต็มแลGวคว่ําลงในอางปรอท น้ําหนักของ ปรอทจะดึงตัวเองลงมาทําใหGสวนบนหลอดเป)นที่วาง แตยังคงมีลําปรอทคGางในหลอดไดGเพราะ มีอากาศ ดันดGวยความดัน Pa แสดงวา ความดันของอากาศเทากับความดันเนื่องจากน้ําหนักของปรอท สูง h ∴ Pบรรยากาศ = Pxivm Pบรรยากาศ = ρปรอทgh Pบรรยากาศ h จากการทดลอง เมื่อคว่ําปรอทในหลอดแกGวจะมีความสูงจาก ผิวปรอทในอางเทากับ 76 เซนติเตร ความหนาแนนของปรอทเทากับ 13.6x103 kg/m3 ( เมื่อ คา g = 9.8 m/s2 ) จะไดG Pa = 13.6x103x9.8x0.76 Pa = 1.01x105 N/m2 การบอกความดันของบรรยากาศ บอกไดG 3 วิธี 1. บอกเป)นหนวยความดัน เชน วันนี้อากาศมีความดัน 1.01x105 N/m2 2. บอกเป)นความสูงของปรอท เชนวันนี้อากาศมีความดันของปรอทสูง 76 ซม.หรือ 760มม. ของปรอท 3. บอกเป)นความสูงของน้ํา เชน วันนี้อากาศมีความดันเทากับน้ําสูง 10.3 ม. ตัวอยางที่ 5 จงหาความดันที่ระดับความลึกจากผิวน้ํา 5 เมตร เมื่อ ความหนาแนนของน้ํา เทากับ 1x103 kg/m3 และ ความดันบรรยากาศเทากับ 1.01x105 N/m2 v วิธีทํา P = Pa + ρน้ําgh v P = (1.01x105)+(1x103 x10 x 5 ) v P = 1.51x105 N/m2
  • 5. 5 ตัวอยางที่ 6 คว่ําหลอดแกGวบรรจุปรอท ลงในอางปรอท ในขณะที่ความดันบรรยากาศมีคาเทากับ 76 ซม.ของปรอท ดังรูป ความดันภายในหลอดแกGวที่ X มีคากี่ มม.ของปรอท วิธีทํา Pที่ X = 76 + 4 ซม.ของปรอท 4 ซม.ของปรอท = 80 ซม.ของปรอท X = 800 มม.ของปรอท Pบรรยากาศ h ตอบ ความดันภายในหลอดแกGวที่ X มีคา 800 มิลลิเมตร ของปรอท แรงดันที่เขื่อนกั้นน้ํา แรงดัน = ความดันเฉลี่ย x พื้นที่ที่ถูกกระทํา l v F = (Pบน + Pล่าง ) x A 2 v (0 + ρgH ) F = (lH) Pบน 2 v 1 F H F = ρg l H2 2 Pล่าง กรณีที่แรงดันที่เขื่อนกันน้ําทั้งสองดGาน จะไดG แรงดันที่กระทําตอเขื่อนดังนี้ จากรูป v F = F1 – F2 v 1 1 F = ( ρg l H2 )1 – ( ρg l H2 )2 F1 2 2 F2
  • 6. 6 ตัวอยางที่7 ประตูน้ําแหงหนึ่งกวGาง 10 เมตร มีระดับน้ําในประตูสูง 12 เมตร นอกประตูสูง 4 เมตร จงหาแรงที่เกิดกับประตูน้ําเทากับเทาไร F1 F2 v 1 1 วิธีทํา F = ( ρg l H2 )1 – ( ρg l H2 )2 2 2 v 1 1 F = ( x103x10x10x122 )1 – ( x103x10x10x42)2 v 2 2 F = 6.4 x 106 นิวตัน ( N )