SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
CHAPTER 5
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
สถานการณ์ปัญหา(Problem – based Learning)
PlanDesign Build Test Evaluate
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได้มีโครงการ
ผ้าป่า ซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มีนโยบายให้ครูทุกระดับชั้นพัฒนาสื่อการ
สอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร้างเองได้ก็ให้บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการ
เรียนการสอน และเปิดช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการประเมินการใช้
คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือใน
การถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์
มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจา
เนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด
ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้
เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง
ภารกิจ
(Mission)
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
สถานการณ์ปัญหาที่ 1
Q: นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน
บ้านหนองใหญ่อย่างไร
A: ครูจะต้องพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในรูปแบบเครื่องมือทางปัญญาที่มีปฏิสัมพันธ์กับ
นักเรียน ครูจะต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมืออานวยความสะดวกในการสอนมิใช่ให้
คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมากกว่าครู กล่าวคือครูควรใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ 3
ชนิด ได้แก่
1) เครื่องมือค้นพบ(Discover Tools) คือเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึง
ความรู้หรือสารสนเทศที่ต้องการ เช่น Search Engines, Index, Map เป็นต้น
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
สถานการณ์ปัญหาที่ 1 (ต่อ)
2) เครื่องมือสร้างความรู้(Knowledge creating tools) คือเครื่องมือที่ช่วย
สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน เช่น Mind map, Flow chart เป็นต้น
3) เครื่องมือการสื่อสาร(Communication tools) คือเครื่องมือที่ใช้
สนับสนุนการแลกเปลี่ยนแนวคิดระหว่าผู้เรียนด้วยกันเองและระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
เช่น Chat, Online conference, E-mail เป็นต้น
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
สถานการณ์ปัญหาที่ 2
Q: บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร
A: คอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบันนี้ใช้เป็น เครื่องมือทางปัญญา คือ เป็นเครื่องมือที่ส่งเสริม
และบ่มเพาะความคิด แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
- เครื่องมือที่ช่วยพัฒนาความสามารถทางปัญญา อาศัยการรู้คิดและ
แลกเปลี่ยนระหว่างเครื่องมือและผู้เรียน
- เครื่องมือเชิงศาสตร์การสอน ส่งเสริมการคิดขึ้นสูง
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 (ต่อ)
แนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา
Hanafin (1999) เสนอเครื่องมือทางปัญญาสาหรับแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
อาศัยพื้นฐานมาจากทฤษฎีประมวลสารสนเทศและทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญาที่สาคัญ
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
จากแนวคิดข้างต้นสามารถสรุปการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
ทางปัญญาได้ 3 กลุ่ม คือ
1) เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) สนับสนุนการแสวงหาสารสนเทศ การค้นหา
ข้อมูล จากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา เป็นกระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ โดย
อาศัยประสบการณ์ตรง และหาวิธีแก้ปัญหา
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 (ต่อ)
2) เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge Creation tools) สนับสนุนการ
สร้างความรู้ของผู้เรียน เกิดในความจาระยะสั้น เป็นระยะที่ต้อง
ประมวลผลสารสนเทศต่างๆ เพื่อจัดระเบียบ สร้างความสัมพันธ์ ซึ่งผู้เรียน
ต้องดึงความรู้และประสบการณ์มาใช้
3) เครื่องมือการสื่อสาร สนับสนุนการสื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยนแนวคิดระ
หว่าผู้สอนและผู้เรียนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์โดยฐานคิดของ Vygotsky
เรื่องปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมมีผลต่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 (ต่อ)
สถานการณ์ปัญหาที่ 3
Q: ให้เสนอรูปแบบการใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้
ตามสาระการเรียนรู้ที่ นักศึกษารับผิดชอบ
A: ใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียนคือวิธีการแบบเปิด ( Open-ended
approach) ที่อาศัยความสามารถของผู้เรียนในการสร้างความเข้าใจของตนเอง
เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับคอมพิวเตอร์ วิธีการนี้ผู้สอนจะ
มอบหมายให้ผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาและวิธีการทางคณิตศาสตร์ให้เข้าใจแล้วสร้างสูตร
ลัดผ่านการเขียนโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
ผู้จัดทำ
นำยชินวัตร ชำวันดี 553050067-9
นำยธีรศักดิ์ นันทสำร 553050219-4

More Related Content

What's hot

นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5LALILA226
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 

What's hot (16)

Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5
 
Chap 5
Chap 5Chap 5
Chap 5
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 

Viewers also liked

นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3LALILA226
 
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้าLALILA226
 
นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8LALILA226
 
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Teerasak Nantasan
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2Nuttapoom Tossanut
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1Nuttapoom Tossanut
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาTeerasak Nantasan
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาParitat Pichitmal
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมsomdetpittayakom school
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังAj.Mallika Phongphaew
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 

Viewers also liked (16)

นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3
 
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
 
นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8
 
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรม
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 

Similar to Chapter 5 (computer for learning)

Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้N'Fern White-Choc
 
Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557pohn
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้sinarack
 
Chapter5 (1)
Chapter5 (1)Chapter5 (1)
Chapter5 (1)FerNews
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5beta_t
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamonSattakamon
 

Similar to Chapter 5 (computer for learning) (17)

Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 (1)
Chapter5 (1)Chapter5 (1)
Chapter5 (1)
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamon
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 

Chapter 5 (computer for learning)

  • 1. CHAPTER 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
  • 2. สถานการณ์ปัญหา(Problem – based Learning) PlanDesign Build Test Evaluate Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning ) โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได้มีโครงการ ผ้าป่า ซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มีนโยบายให้ครูทุกระดับชั้นพัฒนาสื่อการ สอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร้างเองได้ก็ให้บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการ เรียนการสอน และเปิดช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการประเมินการใช้ คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือใน การถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์ มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจา เนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้ เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง
  • 4. สถานการณ์ปัญหาที่ 1 Q: นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน บ้านหนองใหญ่อย่างไร A: ครูจะต้องพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในรูปแบบเครื่องมือทางปัญญาที่มีปฏิสัมพันธ์กับ นักเรียน ครูจะต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมืออานวยความสะดวกในการสอนมิใช่ให้ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมากกว่าครู กล่าวคือครูควรใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ 3 ชนิด ได้แก่ 1) เครื่องมือค้นพบ(Discover Tools) คือเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึง ความรู้หรือสารสนเทศที่ต้องการ เช่น Search Engines, Index, Map เป็นต้น Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
  • 5. สถานการณ์ปัญหาที่ 1 (ต่อ) 2) เครื่องมือสร้างความรู้(Knowledge creating tools) คือเครื่องมือที่ช่วย สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน เช่น Mind map, Flow chart เป็นต้น 3) เครื่องมือการสื่อสาร(Communication tools) คือเครื่องมือที่ใช้ สนับสนุนการแลกเปลี่ยนแนวคิดระหว่าผู้เรียนด้วยกันเองและระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน เช่น Chat, Online conference, E-mail เป็นต้น Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
  • 6. สถานการณ์ปัญหาที่ 2 Q: บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร A: คอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบันนี้ใช้เป็น เครื่องมือทางปัญญา คือ เป็นเครื่องมือที่ส่งเสริม และบ่มเพาะความคิด แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ - เครื่องมือที่ช่วยพัฒนาความสามารถทางปัญญา อาศัยการรู้คิดและ แลกเปลี่ยนระหว่างเครื่องมือและผู้เรียน - เครื่องมือเชิงศาสตร์การสอน ส่งเสริมการคิดขึ้นสูง Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
  • 7. สถานการณ์ปัญหาที่ 2 (ต่อ) แนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา Hanafin (1999) เสนอเครื่องมือทางปัญญาสาหรับแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ อาศัยพื้นฐานมาจากทฤษฎีประมวลสารสนเทศและทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญาที่สาคัญ Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
  • 8. จากแนวคิดข้างต้นสามารถสรุปการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ทางปัญญาได้ 3 กลุ่ม คือ 1) เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) สนับสนุนการแสวงหาสารสนเทศ การค้นหา ข้อมูล จากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา เป็นกระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ โดย อาศัยประสบการณ์ตรง และหาวิธีแก้ปัญหา Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning ) สถานการณ์ปัญหาที่ 2 (ต่อ)
  • 9. 2) เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge Creation tools) สนับสนุนการ สร้างความรู้ของผู้เรียน เกิดในความจาระยะสั้น เป็นระยะที่ต้อง ประมวลผลสารสนเทศต่างๆ เพื่อจัดระเบียบ สร้างความสัมพันธ์ ซึ่งผู้เรียน ต้องดึงความรู้และประสบการณ์มาใช้ 3) เครื่องมือการสื่อสาร สนับสนุนการสื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยนแนวคิดระ หว่าผู้สอนและผู้เรียนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์โดยฐานคิดของ Vygotsky เรื่องปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมมีผลต่อการเรียนรู้ Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning ) สถานการณ์ปัญหาที่ 2 (ต่อ)
  • 10. สถานการณ์ปัญหาที่ 3 Q: ให้เสนอรูปแบบการใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่ นักศึกษารับผิดชอบ A: ใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียนคือวิธีการแบบเปิด ( Open-ended approach) ที่อาศัยความสามารถของผู้เรียนในการสร้างความเข้าใจของตนเอง เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับคอมพิวเตอร์ วิธีการนี้ผู้สอนจะ มอบหมายให้ผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาและวิธีการทางคณิตศาสตร์ให้เข้าใจแล้วสร้างสูตร ลัดผ่านการเขียนโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning )
  • 11. Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (Computer for Learning ) ผู้จัดทำ นำยชินวัตร ชำวันดี 553050067-9 นำยธีรศักดิ์ นันทสำร 553050219-4