SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
ตีความ และ นาเสนอ
         โดย
ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด
อ.พุทธทาส 1906 – 1993 (87 yrs.)



                            ประเด็ นหล ักๆ สาหร ับบ่ายว ันนี้


                            ิ่ ่
               1. นาเสนอ - สงทีผมได้เรียนรูจาก osho
                                           ้
                              ิ่ ่      ้  ี ิ
               2. ชวนคุย – นาสงทีได้มาใชในชวตอย่างไร



                                  osho เปนใคร?
                                         ็
Osho teaches meditation not as a practice but as a way of
life. He is a mystic who brings the timeless wisdom of the
  East to bear upon the urgent questions facing men and
    women today. He speaks of the search for harmony,
wholeness and love that lies at the core of all religious and
spiritual traditions, illuminating the essence of Christianity,
Hassidism, Buddhism, Sufism, Tantra, Tao, Yoga, and Zen.
To know oneself is to know all.
   And that is the only thing I
emphasize; no belief, no dogma,
no creed, no church, no religion.
  By a simple process of inner
observation you come to realize
yourself... Truth is within – seek
         not elsewhere.
                        - osho
พิมพ์ครังแรก มี.ค. 48
        ้
We are human
                                             intuition
                                            ปัญญาญาณ             3 จิตเหนื อสานึ ก
                                            เป็ นการ “เข้าถึง”   Superconscious
                                            เป็ นเรืองของจิตใจ
                                                    ่              Heart, Being
          We are no longer animal
        intellect ปรีชาญาณ
                          เป็ นการ “เข้าใจ” 2 จิตสานึ ก
                          ใช้สมองใช้ความคิด   Conscious
 We are animal                                Head, Mind
instinct
                      1     จิตใต้นึก
สัญชาตญาณ                 Unconscious
เป็ นการ “เข้ารหัส”
                          Body functions spontaneously
ฝังอยู่ใน DNA
“ข้าพเจ้าไม่ได้ต่อต้านสิ่งใดๆ
ข้าพเจ้าเพียงแค่ต่อสู้กบความไม่สอดผสาน
                       ั
อันเนื่ องมาจากการใช้สมองหรือความคิดของเรา
ข้าพเจ้าต้องการให้ท่าน
นาเอาสมอง (หัว) กลับไปไว้ในที่ที่มนควรอยู่
                                  ั
เราต้องหมันเตือนตัวเราเองอยู่เสมอว่า
             ่
จริงๆ แล้วสมอง (หัว) นันเป็ นคนรับใช้ของเรา
                         ้
มันไม่ใช่เจ้านายที่จะคอยมาบงการชีวิตเรา”
                                  - osho
“เสาวัดใจ”
 เรือง “ใจ” ไม่ใช่เรือง “Logic”
     ่               ่
เรือง “ให้” ไม่ต้องใช้ “เหตุผล”
   ่
ึ
            การศกษา และการเรียนรู ้

 การศึกษาไม่ได้เคารพในสิ่งที่แต่ละคนมี แต่บงคับให้ทุกๆ
                                              ั
  คนเป็ นไปตามรูปแบบที่กาหนด (p.211)
 คนแต่ละคนนันไม่สามารถนามาเปรียบเที ยบกันได้ (p.213)
                    ้
 การเรียนรูเป็ นเรืองของผูที่รจกถ่อมตน
              ้       ่    ้ ู้ ั
 การเรียนรูหมายถึงการพร้อมที่ จะลอกทิ้งของเก่า เพื่อรับ
                ้
  ของใหม่
 การเรียนรูแสดงถึงสภาวะที่ ไม่อวดดี ไม่มีอตตาตัวตน
                  ้                         ั
 สภาวะที่ ว่างจากความรูเท่านันที่ จะทาให้เราได้เรียนรู้
                         ้      ้
  อย่างแท้จริง (p.216)
Freedom
       อิสรภาพ
        “หลุด”
             ... แต่ ไม่ลองลอย
                         ่

          .... เปน .... อิสรภาพ
                  ็
 ทีมาพร้อมก ับ .... ความร ับผิดชอบ
   ่



Freedom ก ับ Responsibility
      ..... ต้องมาคูก ัน
                    ่

      Story: นกแก้วกับกรงทอง
      ถ้าอิสระ ก็ต้องรับผิดชอบตัวเอง .....
      คนส่วนใหญ่อาจไม่ต้องการอิสระ ...
่
อิสระ ไม่ใชแค่ “หลุด” จาก อะไรบางอย่าง
อิสระ จาก อะไรบางอย่าง ย ังไม่ใช่ ..........
             ..... อิสรภาพทีแท้จริง
                            ่


            freedom from
            อย่างเดียวไม่พอ
            ต้อง freedom for ด้วย
            ต ้องมีทัง 2 ด ้าน
                     ้

             .... เพราะ freedom for
             .... เปนการ free เพือจะ
                     ็           ่
             Create อะไรบางอย่าง
             ... เปนเรืองทีสร้างสรรค์
                   ็   ่   ่
ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นด้วยกับ "การปฏิ วติ" สิ่งที่ข้าพเจ้าสนับสนุนคือ
                                               ั
"การทวนกระแส" การปฏิวติเป็ นเรื่องที่เกี่ยวกับมวลชน การทวนกระแส
                             ั
เป็ นเรื่องของปัจเจกบุคคล ปัจเจกบุคคลเปลี่ยนแปลงตัวของเขาเอง เขา
ไม่สนใจเกี่ยวกับโครงสร้างในทางอานาจ เขาเพียงแต่จดการ       ั
เปลี่ยนแปลงชีวิตตนเอง ให้กาเนิดชีวิตใหม่ในตัวของเขาเอง สิ่งที่น่า
อัศจรรย์ใจที่สดเกี่ยวกับการทวนกระแสก็คือมันมีการทาลายไปพร้อมๆ
                ุ
กับการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ บางสิ่งจะต้องถูกทาลายเพื่อจะได้มีส่ิ งใหม่
เกิดขึน การสร้างสรรค์และทาลายมาด้วยกัน มันเสริมซึ่งกันและกัน มัน
      ้
ไม่ได้แยกออกจากกัน เมื่อใดก็ตามที่ท่านพยายามทาให้มนแยกออกจาก ั
กัน – แสดงว่าท่านกาลังจะทาอย่างการปฏิวติ และประวัติศาสตร์กจะซา
                                             ั                       ็ ้
รอย.... ข้าพเจ้าไม่ได้ต่อต้านสิ่งใดๆ หรือใครคนใดคนหนึ่ ง ข้าพเจ้าไม่
ต้องการให้ท่านเป็ นอิสระจากบางส่ิ งเท่านัน ข้าพเจ้าต้องการให้ท่านเป็ น
                                          ้
อิสระอย่างแท้จริง
“ปฏิว ัติ”…. Revolution
                       ต่อต้าน
                  ล้มล้าง (ร ัฐบาล)
                 ทาจนลืมต ัวตนทีแท้จริง
                                  ่
                                                  vs.

                                             Rebellion

                                            “ทวนกระแส”
                                          เห็นแก่นแท้ของต ัวเอง
                                                      ่
                                    ขบถก ับตนเอง ไม่ใชก ับคนอืน
                                                              ่



The real rebel is not a fighter ; he is a man of understanding.
ต้องอิสระจาก “อดีต”
 • จากความทรงจา
 • จากความรูเดิม
            ้

 อิสระจาก “อนาคต”
 • จากความต้องการ
 • ความคาดหว ัง

                      ๋
อิสรภาพ คือ ทีน ี่ เดียวนี้
              ่

        Here
         &
        Now
้     ่ ิ
                   เสนทางสูอสรภาพ
  Nietzche                                            Osho
ช่วงที่ 1 ถูกกาหนดโดยสังคม จารีต ประเพณี
   อูฐ                                    หนอนตัวอ่อน
         สะสม เก็บตุน                             ื่
                                                 เชอฟั ง
                 ึ
          ไม่รู ้สกตัว                          ยังอยูกบอดีต (ความทรงจา)
                                                       ่ ั
         พูดคาว่า “ใช”่                        Dependence
ช่วงที่ 2 ต่อต้าน ปฏิเสธ
    ิ
    สงโต                                           ื้
                                            หนอนผีเสอ (หนอนไหม)
         ต่อต ้าน พูดคาว่า “ไม่”               เดินได ้ ไปตามแนวราบ
                               ิ
          เป็ นนักปฏิวต ิ เป็ นศลปิ น
                      ั                         Reaction, Rebellion
         อิสระจาก “กรอบ”                       Independence
ช่วงที่ 3 Transformation
   เด็ก                                       ื้
                                            ผีเสอ
         ไร ้เดียงสา                           บินได ้ ไปคนละ plane
         สร ้างสรรค์                           Joy, Creativity
         อิสระอย่าง “แท ้จริง”                 Interdependence
• Dependence (พึงพา)
                           ่
           • Independence (ไม่พงพา)
                               ึ่
                                    ั
           • Interdependence (อิงอาศยก ัน)


คนสองคนไม่ควรจะเป็ นเอกเทศต่อกัน หรือเอาแต่พึ่งพาอีกฝ่ ายหนึ่ ง
  แต่ทงคู่ควรเลื่อนไหลไปด้วยกัน เสมือนว่ามีลมหายใจร่วมกัน
      ั้
         เป็ นวิญญาณเดียวกันที่อยู่ในสองร่าง
       หากเป็ นเช่นนี้ ....นี่ แหละความรักที่แท้จริง

                                  ้ ึ
               อ่อนไหว ไวต่อความรูสก
Action ...... O.K.

               Reaction ... N.G.

               เพราะทาไปโดยไม่รต ัว
                               ู้
               .....unconsciously



                React according to
                our conditionings.


จงเป็ นผูกระทา อย่ารอแค่ตอบสนอง
        ้
ท่านต้องไม่เป็ นของเล่นที่อยู่ในมือของผูอื่น
                                       ้
Individuals vs. Institution
             Collective
ถ้าปัจเจกพัฒนา ระบบทางสังคมจะด้อยค่าลง

         Society vs. Commune



           Love vs. Law
                           Rules

          ถ้าคนมีความรัก ความเมตตา
          กฎเกณฑ์ต่างๆ ก็จะด้อยค่าลง
รักใน “งาน”            รักใน “คน”             รักใน “สรรพสิ่ง”
   ...มนุษยชาติเป็ นส่วนหนึ่ งของทังหมด ที่พวกเราเรียกว่า
                                     ้
   “จักรวาล” ส่วนเสี้ยวนันถูกจากัดด้วยกาลและสถานที่ เรารับรู้
                              ้
   ตัวตน ความคิดและความรูสึก เป็ นดังบางสิ่งบางอย่างแยกตัว
                                ้
   ออกจากส่วนที่เหลือ - ซึ่งก็คือมายาการหนึ่ งของจิตสานึ ก
   นันเอง
        ่
   มายาการนี้ เป็ นดังที่คมขังซึ่งขีดวงจากัดเราไว้แต่เพียงความ
                          ุ
   ต้องการส่วนตัวและความพึงใจของผูคนรอบ  ้
   ข้างเพียงไม่กี่คน หน้ าที่ของเราคือ การปลด
   ปล่อยตัวเองออกจากพันธนาการนี้ ด้วยการ
   ขยายขอบเขตความรักความเมตตา ให้ครอบ
   คลุมไปถึงสรรพชีวิตทังปวงตลอดจนสรรพส่ิ ง
                            ้
   ทังหลายในธรรมชาติ....
      ้
เมือเรามองดูโลกรอบๆ ตัว เราพบว่ าเราไม่ ได้ ถูกโยน
       ่
เข้ ามาในความไร้ ระเบียบอย่ างสะเปะสะปะ แต่ เราเป็ น               ส่ วนหนึ่ง
 ของระเบียบอันยิงใหญ่ ...
                       ่
     ทุกๆ โมเลกุลของร่ างกายเรา ครั้งหนึ่งเคยเป็ นส่ วน           หนึ่งของ
 ร่ างกายอืนทีมีมาก่ อนหน้ านี้ ทั้งที่มีชีวตและไม่ มีชีวต และจะกลายเป็ น
             ่ ่                            ิ               ิ
 ส่ วนหนึ่งของร่ างกายอืนๆในอนาคตต่ อไป ในแง่ นร่างกายของเราจะไม่
                            ่                            ี้
 ตาย แต่ จะมีชีวตต่ อไป ครั้งแล้ วครั้งเล่ า ทั้งนีเ้ พราะชีวตจะดารงอยู่ต่อไป
                     ิ                                        ิ
 ...
         เราเป็ นส่ วนหนึ่งของจักรวาล เราอยู่ในจักรวาลเช่ นเดียวกับการอยู่
 บ้ าน ความรู้ สึกเป็ นส่ วนหนึ่งนีทาให้ ชีวตของเรามีความหมายอันลึกซึ้ง
                                   ้          ิ
                                                   - ฟริตจ๊อฟ คาปร้า
      (จากหนังสือ “โยงใยที่ซ่อนเร้น – The Hidden Connections” หน้ า 91)
Maturity   เจริญพ ัฒนา




            ถึงพร้อม
เริมด้วยคาถาม ...
   ่

       ท่านกาล ังใกล้ความตาย
                 หรือว่า
                       ้ ี ิ
          .... กาล ังใชชวต?

         ่
   คนสวนใหญ่ไม่ได้อยูก ับ “ปัจจุบ ัน”
                         ่
 เราใฝฝันถึงแต่ต ัวเราทีอยูใน “อนาคต”
       ่                ่ ่
โดยทีไม่รเลยว่า “เราเปนใคร” ในปัจจุบ ัน
     ่     ู้         ็
Growing old                    vs.           Growing up
 เติบโต แก่ต ัว                       เติบใหญ่ เจริญพ ัฒนา
                                                 มีวฒภาวะ
                                                    ุ ิ
 เกิดขึนทังในคนและสัตว์
       ้ ้
 เป็ นการเดินทางไปสู่ความตาย       เกิดขึนได้เฉพาะในคนเท่านัน
                                          ้                        ้
       (เดินไปในแนวราบ)      มีคนเพียง “น้ อยนิด” ที่ได้ใช้สิทธ์ ิ นี้
                             เป็ นการเดินทางห่างความตายไปเรื่อยๆ
                                        (เดินไปในแนวตัง)
                                                      ้




                                       Maturity = Innocence
สภาวะของการไม่รู ้
     Ignorance              vs.           Innocence
     อวิชชา                                ความไร้เดียงสา
• เป็ นแรงแห่งตัณหา                  • ไม่รู้ แต่ไม่ได้กระวนกระวายใจ
• ความทะยานอยาก                      • เป็ นสภาวะที่เพียบพร้อม
• ต้องการนัน ต้องการนี่
            ่                        • เต็มเปี่ ยม สมบูรณ์
• ปรารถนาอย่างไม่มีที่สิ้นสุด        • รุ่มรวย บริสทธ์ ิ
                                                     ุ



                                       Innocence vs. Ignorance
                                            ตะวันตกมัก “เข้าใจผิด” คิดว่า
                                              Maturity คือ “ไม่” ไร้เดียงสา
                                  ต้องผ่านประสบการณ์มามาก ต้องอายุมาก
การเจริญพัฒนา
                                                      ....เป็ นการเกิดใหม่
                                            เป็ นการเกิดของจิตวิญญาณ
                  ท่านได้เป็ นคนใหม่ ท่านได้กลับมาเป็ นเด็กอีกครัง       ้
ด้วยดวงตาที่สดใส ท่านเริ่มได้เห็นสิ่งที่เป็ นอยู่ด้วยใจที่เปี่ ยมไปด้วยรัก
                                         ท่านเริ่มประจักษ์ในการมีชีวิต
                      ด้วยความสงบเงียบ และด้วยความไร้เดียงสา
                มันได้พาท่าน ... ผ่านเข้าไปยังส่วนลึกสุดในตัวท่าน
คุณสมบ ัติของความเปนเด็ก 3 ข้อ
                         ็

• มีชีวิตอยู่กบสภาวะของความเป็ นทังหมด จดจ่ออยู่
              ั                   ้
กับสิ่งนันๆ
         ้
• อยู่ในสภาพของความไร้เดียงสา เรียนรู้ตลอดเวลา
ไม่จมอยู่กบอดีต
           ั
• มีความไว้เนื้ อเชื่อใจ (Trust)




                    Trust     vs. Doubt
Trust         vs.       Doubt
         เชื่อใจ                 สงสัย
วิทยาศาสตร์พฒนามาจากความสงสัย นี่ คือเหตุผลว่าทาไมการศึกษา
               ั
ทังหมดจึงเป็ นศาสตร์แห่งข้อสงสัย วิทยาศาสตร์เกิดจากข้อสงสัย
  ้
มันไม่สามารถพัฒนาได้หากปราศจากข้อสงสัย ความเลื่อมใสศรัทธา
มาจากความเชื่อใจ มันไม่สามารถเกิดขึนโดยปราศจากความเชื่อใจ จะ
                                     ้
เห็นว่าเป็ นความแตกต่างคนละทางเลย
วิทยาศาสตร์ vs. ศาสนา
ข้อสงสัยทางานไม่ได้ผลในเรื่องทางศาสนา ก็เหมือนกันกับที่ความ
               เชื่อใจทางานไม่ได้ในวิธีการค้นหาทางวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์เป็ นการค้นหาของที่อยู่ข้างนอก ส่วนศาสนาหมายถึง
การค้นหาที่อยู่ข้างใน วิทยาศาสตร์เป็ นศาสนาของวัตถุ แต่ศาสนา
                               เป็ นวิทยาศาสตร์ของการดารงอยู่




                                               ... ไม่มีความจาเป็ นใดๆ
                        ที่จะต้องใช้ความไว้วางใจในเรื่องที่เกี่ยวกับวัตถุ
                             และก็ไม่มีความจาเป็ นใดๆ ที่จะตังข้อสงสัย
                                                                ้
                                             เกี่ยวกับเรื่องภายในใจเรา
ิ่ ่
      1. The Known - สงทีเรารูจ ัก
                              ้
                        ิ่ ่
      2. The Unknown - สงทีเราย ังไม่รจ ัก
                                      ู้
             ....นี่ เป็ นมุมมองของโลกวิทยาศาสตร์
เป็ นโลกแห่งเหตุผล โลกของสิ่งที่เรียกว่า “ปรีชาญาณ (intellect)”
         สาหรับโลกแห่งจิตวิญญาณ จะมีส่วนที่ 3 ด้วย
                           ิ่ ่ ู ้
      3. The Unknowable - สงทีรจ ักไม่ได้
     ความลี้ลบเป็ นความงามของชีวิต ส่ิ งที่เราไม่อาจจะรูได้
              ั                                        ้
    มันทาให้ชีวิตของเรามีความหมาย มีความหวัง หลายครัง       ้
      มันช่วยสร้างแรงบันดาลใจ การเปิดเผยทุกสิ่งทุกอย่าง
   จะทาให้ชีวิตขาดความลุ่มลึก ทุกอย่างจะกลายเป็ นเรื่องพืนๆ
                                                          ้
                     ไม่มีอะไรน่ าตื่นเต้น
The Seven-Year Cycles of Life

   เจ็ดปี แรก (1-7) ………. เอาตัวเองเป็ นศูนย์กลาง
   เจ็ดปี ที่สอง (7-14) …… เริ่มสนใจสิ่งอื่น ชอบตังคาถาม ไม่สนใจเพศตรงข้าม
                                                        ้
   เจ็ดปี ที่สาม (14-21) …. สนใจเพศตรงข้าม มีพฒนาการทางเพศ มีความรัก
                                                      ั
   เจ็ดปี ที่สี่ (21-28) …….. มักใหญ่ใฝ่ สูง แข่งขัน ต้องการความสาเร็จ ผจญภัย
   เจ็ดปี ที่ห้า (28-35) …… มองเรื่องความมันคง หลักประกัน หันมาอยู่ในกรอบ
                                                 ่
   เจ็ดปี ที่หก (35-42) …… พลังชีวิตถึงจุดสูงสุด สังคมสาคัญ ยึดมันประเพณี
                                                                   ่
   เจ็ดปี ที่เจ็ด (42-49) ….. ความเสื่อมทางกาย โรคแห่งความสาเร็จ สนใจศาสนา
   เจ็ดปี ที่แปด (49-56) …. แสวงหาเต็มตัว เข้าสู่วยทอง   ั
   เจ็ดปี ที่เก้า (56-63) ….. ก้าวออกจากสังคม
   เจ็ดปี ที่สิบ (63-70) ….. พบความสมบูรณ์ในตัวเอง
Destination vs. Direction
                                                    ทีหมาย
                                                      ่            ทิศทาง




ข้าพเจ้าไม่ได้ให้ที่หมายกับท่าน ข้าพเจ้าให้ท่านได้แค่เพียงทิศทางเท่านัน้
ท่านจะต้องตื่นตัว ตื่นเต้นกับชีวิตและสิ่งที่ไม่รู้ จะต้องทาตัวให้รสึก
                                                                  ู้
ประหลาดใจอยู่ตลอดเวลา... ข้าพเจ้าจะไม่ให้แผนที่แก่ท่าน ข้าพเจ้าทา
ได้เพียงแค่จดไฟในหัวใจของท่าน ทาให้ท่านต้องการจะค้นหาเท่านัน
            ุ                                                        ้
“จงเปลี่ยนกองหินที่ขวางกัน (blocking rocks) ให้เป็ นขันบันได (stepping stones)”
                         ้                            ้




                                           การเดินทางเป็ นการสร้างเป้ าหมาย
                                 เป้ าหมายไม่ได้อยู่ที่จดสุดท้ายของการเดินทาง
                                                        ุ
                                         การเดินทางสร้างเป้ าหมายไปทีละก้าว
                    การเดินทางคือเป้ าหมาย การเดินทางและเป้ าหมายไม่ได้แยก
                              ออกจากกัน จุดหมายและเส้นทางไม่ใช่ของสองสิ่ง
                                              จุดหมายได้แผ่ขยายไปตลอดทาง
                          ในระหว่างการเดินทางล้วนมีจดหมายกระจายอยู่ในนัน
                                                          ุ                 ้
การเดินทางทังหมดเป็ นเรื่องที่ไม่ยาก มันอาจเป็ น
             ้
 เพียงก้าวแรกเท่านันที่ยากลาบาก ดังคาพูดที่ว่า
                   ้
     “ก้าวแรกนี้ แท้ที่จริงแล้ว มันก็คือ
           การเดินทางทังหมด้
              เลยทีเดียว”




                          ขออวยพรให้ทกท่านโชคดี
                                      ุ
                กับการเดินทางบนถนนแห่งชีวิตสายนี้
                                - ประพนธ์ ผาสุขยืด

More Related Content

What's hot

รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีTheeraphisith Candasaro
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมPadvee Academy
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)niralai
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อPadvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานPadvee Academy
 
กลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญากลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญาniralai
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนniralai
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1niralai
 
กลอนพระมหาทองสมุทร
กลอนพระมหาทองสมุทรกลอนพระมหาทองสมุทร
กลอนพระมหาทองสมุทรTongsamut vorasan
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3Onpa Akaradech
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardPadvee Academy
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดHappy Sara
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 

What's hot (20)

รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
 
กลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญากลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญา
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
 
กลอนพระมหาทองสมุทร
กลอนพระมหาทองสมุทรกลอนพระมหาทองสมุทร
กลอนพระมหาทองสมุทร
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
One Pointed Mind
One Pointed MindOne Pointed Mind
One Pointed Mind
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 

Viewers also liked

Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...Software Park Thailand
 
Software Industry in Tranformation Software Industry in Tranformation Facing ...
Software Industry in Tranformation Software Industry in Tranformation Facing ...Software Industry in Tranformation Software Industry in Tranformation Facing ...
Software Industry in Tranformation Software Industry in Tranformation Facing ...Software Park Thailand
 
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554Software Park Thailand
 
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"Software Park Thailand
 
Software Trends Towards AEC 2015
Software Trends Towards AEC 2015Software Trends Towards AEC 2015
Software Trends Towards AEC 2015Thanachart Numnonda
 
ข้อบังคับ สมาคมสถาปนิกเทคโนโลยีสารสนเทศประเทศไทย
ข้อบังคับ สมาคมสถาปนิกเทคโนโลยีสารสนเทศประเทศไทยข้อบังคับ สมาคมสถาปนิกเทคโนโลยีสารสนเทศประเทศไทย
ข้อบังคับ สมาคมสถาปนิกเทคโนโลยีสารสนเทศประเทศไทยThanachart Numnonda
 
Software Park Newsletter Vol. 3/2012 English Version”
Software Park Newsletter Vol. 3/2012 English Version” Software Park Newsletter Vol. 3/2012 English Version”
Software Park Newsletter Vol. 3/2012 English Version” Software Park Thailand
 

Viewers also liked (10)

Smart industry Vol. 20/2555
Smart industry Vol. 20/2555Smart industry Vol. 20/2555
Smart industry Vol. 20/2555
 
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...
 
Software Industry in Tranformation Software Industry in Tranformation Facing ...
Software Industry in Tranformation Software Industry in Tranformation Facing ...Software Industry in Tranformation Software Industry in Tranformation Facing ...
Software Industry in Tranformation Software Industry in Tranformation Facing ...
 
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554
 
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
Smart Industry Vol.17/2011 "Mobile office Anywhere Anytime"
 
Software Park Thailand 2/2011
Software Park Thailand 2/2011Software Park Thailand 2/2011
Software Park Thailand 2/2011
 
Software Trends Towards AEC 2015
Software Trends Towards AEC 2015Software Trends Towards AEC 2015
Software Trends Towards AEC 2015
 
ข้อบังคับ สมาคมสถาปนิกเทคโนโลยีสารสนเทศประเทศไทย
ข้อบังคับ สมาคมสถาปนิกเทคโนโลยีสารสนเทศประเทศไทยข้อบังคับ สมาคมสถาปนิกเทคโนโลยีสารสนเทศประเทศไทย
ข้อบังคับ สมาคมสถาปนิกเทคโนโลยีสารสนเทศประเทศไทย
 
Planning on Mobile Strategy
Planning on Mobile StrategyPlanning on Mobile Strategy
Planning on Mobile Strategy
 
Software Park Newsletter Vol. 3/2012 English Version”
Software Park Newsletter Vol. 3/2012 English Version” Software Park Newsletter Vol. 3/2012 English Version”
Software Park Newsletter Vol. 3/2012 English Version”
 

Similar to Osho Way

เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
Makeeasy - ชีวิตทำให้ง่าย ก็สุขได้ไม่ยาก
Makeeasy - ชีวิตทำให้ง่าย ก็สุขได้ไม่ยากMakeeasy - ชีวิตทำให้ง่าย ก็สุขได้ไม่ยาก
Makeeasy - ชีวิตทำให้ง่าย ก็สุขได้ไม่ยากPhairot Odthon
 
ปฏิวัติจิตสำนึก
ปฏิวัติจิตสำนึกปฏิวัติจิตสำนึก
ปฏิวัติจิตสำนึกPoramate Minsiri
 
การไม ตัดสินใจ
การไม ตัดสินใจการไม ตัดสินใจ
การไม ตัดสินใจTanapat Tanakulpaisal
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54dentyomaraj
 
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจบริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจNopporn Thepsithar
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
คิดต่าง สร้างใหม่
คิดต่าง  สร้างใหม่คิดต่าง  สร้างใหม่
คิดต่าง สร้างใหม่Chu Ching
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยAchara Sritavarit
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรniralai
 
เลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมองเลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมองPanda Jing
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนjirawat_r
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)Songsarid Ruecha
 

Similar to Osho Way (20)

เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
Makeeasy - ชีวิตทำให้ง่าย ก็สุขได้ไม่ยาก
Makeeasy - ชีวิตทำให้ง่าย ก็สุขได้ไม่ยากMakeeasy - ชีวิตทำให้ง่าย ก็สุขได้ไม่ยาก
Makeeasy - ชีวิตทำให้ง่าย ก็สุขได้ไม่ยาก
 
ปฏิวัติจิตสำนึก
ปฏิวัติจิตสำนึกปฏิวัติจิตสำนึก
ปฏิวัติจิตสำนึก
 
การไม ตัดสินใจ
การไม ตัดสินใจการไม ตัดสินใจ
การไม ตัดสินใจ
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
 
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจบริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
คิดต่าง สร้างใหม่
คิดต่าง  สร้างใหม่คิดต่าง  สร้างใหม่
คิดต่าง สร้างใหม่
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
 
Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma  Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
เลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมองเลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมอง
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
 

Osho Way

  • 1. ตีความ และ นาเสนอ โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด
  • 2. อ.พุทธทาส 1906 – 1993 (87 yrs.) ประเด็ นหล ักๆ สาหร ับบ่ายว ันนี้ ิ่ ่ 1. นาเสนอ - สงทีผมได้เรียนรูจาก osho ้ ิ่ ่ ้ ี ิ 2. ชวนคุย – นาสงทีได้มาใชในชวตอย่างไร osho เปนใคร? ็
  • 3. Osho teaches meditation not as a practice but as a way of life. He is a mystic who brings the timeless wisdom of the East to bear upon the urgent questions facing men and women today. He speaks of the search for harmony, wholeness and love that lies at the core of all religious and spiritual traditions, illuminating the essence of Christianity, Hassidism, Buddhism, Sufism, Tantra, Tao, Yoga, and Zen.
  • 4. To know oneself is to know all. And that is the only thing I emphasize; no belief, no dogma, no creed, no church, no religion. By a simple process of inner observation you come to realize yourself... Truth is within – seek not elsewhere. - osho
  • 6. We are human intuition ปัญญาญาณ 3 จิตเหนื อสานึ ก เป็ นการ “เข้าถึง” Superconscious เป็ นเรืองของจิตใจ ่ Heart, Being We are no longer animal intellect ปรีชาญาณ เป็ นการ “เข้าใจ” 2 จิตสานึ ก ใช้สมองใช้ความคิด Conscious We are animal Head, Mind instinct 1 จิตใต้นึก สัญชาตญาณ Unconscious เป็ นการ “เข้ารหัส” Body functions spontaneously ฝังอยู่ใน DNA
  • 7. “ข้าพเจ้าไม่ได้ต่อต้านสิ่งใดๆ ข้าพเจ้าเพียงแค่ต่อสู้กบความไม่สอดผสาน ั อันเนื่ องมาจากการใช้สมองหรือความคิดของเรา ข้าพเจ้าต้องการให้ท่าน นาเอาสมอง (หัว) กลับไปไว้ในที่ที่มนควรอยู่ ั เราต้องหมันเตือนตัวเราเองอยู่เสมอว่า ่ จริงๆ แล้วสมอง (หัว) นันเป็ นคนรับใช้ของเรา ้ มันไม่ใช่เจ้านายที่จะคอยมาบงการชีวิตเรา” - osho
  • 8. “เสาวัดใจ” เรือง “ใจ” ไม่ใช่เรือง “Logic” ่ ่ เรือง “ให้” ไม่ต้องใช้ “เหตุผล” ่
  • 9. การศกษา และการเรียนรู ้  การศึกษาไม่ได้เคารพในสิ่งที่แต่ละคนมี แต่บงคับให้ทุกๆ ั คนเป็ นไปตามรูปแบบที่กาหนด (p.211)  คนแต่ละคนนันไม่สามารถนามาเปรียบเที ยบกันได้ (p.213) ้  การเรียนรูเป็ นเรืองของผูที่รจกถ่อมตน ้ ่ ้ ู้ ั  การเรียนรูหมายถึงการพร้อมที่ จะลอกทิ้งของเก่า เพื่อรับ ้ ของใหม่  การเรียนรูแสดงถึงสภาวะที่ ไม่อวดดี ไม่มีอตตาตัวตน ้ ั  สภาวะที่ ว่างจากความรูเท่านันที่ จะทาให้เราได้เรียนรู้ ้ ้ อย่างแท้จริง (p.216)
  • 10. Freedom อิสรภาพ “หลุด” ... แต่ ไม่ลองลอย ่ .... เปน .... อิสรภาพ ็ ทีมาพร้อมก ับ .... ความร ับผิดชอบ ่ Freedom ก ับ Responsibility ..... ต้องมาคูก ัน ่ Story: นกแก้วกับกรงทอง ถ้าอิสระ ก็ต้องรับผิดชอบตัวเอง ..... คนส่วนใหญ่อาจไม่ต้องการอิสระ ...
  • 11. ่ อิสระ ไม่ใชแค่ “หลุด” จาก อะไรบางอย่าง อิสระ จาก อะไรบางอย่าง ย ังไม่ใช่ .......... ..... อิสรภาพทีแท้จริง ่ freedom from อย่างเดียวไม่พอ ต้อง freedom for ด้วย ต ้องมีทัง 2 ด ้าน ้ .... เพราะ freedom for .... เปนการ free เพือจะ ็ ่ Create อะไรบางอย่าง ... เปนเรืองทีสร้างสรรค์ ็ ่ ่
  • 12. ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นด้วยกับ "การปฏิ วติ" สิ่งที่ข้าพเจ้าสนับสนุนคือ ั "การทวนกระแส" การปฏิวติเป็ นเรื่องที่เกี่ยวกับมวลชน การทวนกระแส ั เป็ นเรื่องของปัจเจกบุคคล ปัจเจกบุคคลเปลี่ยนแปลงตัวของเขาเอง เขา ไม่สนใจเกี่ยวกับโครงสร้างในทางอานาจ เขาเพียงแต่จดการ ั เปลี่ยนแปลงชีวิตตนเอง ให้กาเนิดชีวิตใหม่ในตัวของเขาเอง สิ่งที่น่า อัศจรรย์ใจที่สดเกี่ยวกับการทวนกระแสก็คือมันมีการทาลายไปพร้อมๆ ุ กับการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ บางสิ่งจะต้องถูกทาลายเพื่อจะได้มีส่ิ งใหม่ เกิดขึน การสร้างสรรค์และทาลายมาด้วยกัน มันเสริมซึ่งกันและกัน มัน ้ ไม่ได้แยกออกจากกัน เมื่อใดก็ตามที่ท่านพยายามทาให้มนแยกออกจาก ั กัน – แสดงว่าท่านกาลังจะทาอย่างการปฏิวติ และประวัติศาสตร์กจะซา ั ็ ้ รอย.... ข้าพเจ้าไม่ได้ต่อต้านสิ่งใดๆ หรือใครคนใดคนหนึ่ ง ข้าพเจ้าไม่ ต้องการให้ท่านเป็ นอิสระจากบางส่ิ งเท่านัน ข้าพเจ้าต้องการให้ท่านเป็ น ้ อิสระอย่างแท้จริง
  • 13. “ปฏิว ัติ”…. Revolution ต่อต้าน ล้มล้าง (ร ัฐบาล) ทาจนลืมต ัวตนทีแท้จริง ่ vs. Rebellion “ทวนกระแส” เห็นแก่นแท้ของต ัวเอง ่ ขบถก ับตนเอง ไม่ใชก ับคนอืน ่ The real rebel is not a fighter ; he is a man of understanding.
  • 14. ต้องอิสระจาก “อดีต” • จากความทรงจา • จากความรูเดิม ้ อิสระจาก “อนาคต” • จากความต้องการ • ความคาดหว ัง ๋ อิสรภาพ คือ ทีน ี่ เดียวนี้ ่ Here & Now
  • 15. ่ ิ เสนทางสูอสรภาพ Nietzche Osho ช่วงที่ 1 ถูกกาหนดโดยสังคม จารีต ประเพณี  อูฐ  หนอนตัวอ่อน  สะสม เก็บตุน  ื่ เชอฟั ง  ึ ไม่รู ้สกตัว  ยังอยูกบอดีต (ความทรงจา) ่ ั  พูดคาว่า “ใช”่  Dependence ช่วงที่ 2 ต่อต้าน ปฏิเสธ  ิ สงโต  ื้ หนอนผีเสอ (หนอนไหม)  ต่อต ้าน พูดคาว่า “ไม่”  เดินได ้ ไปตามแนวราบ  ิ เป็ นนักปฏิวต ิ เป็ นศลปิ น ั  Reaction, Rebellion  อิสระจาก “กรอบ”  Independence ช่วงที่ 3 Transformation  เด็ก  ื้ ผีเสอ  ไร ้เดียงสา  บินได ้ ไปคนละ plane  สร ้างสรรค์  Joy, Creativity  อิสระอย่าง “แท ้จริง”  Interdependence
  • 16. • Dependence (พึงพา) ่ • Independence (ไม่พงพา) ึ่ ั • Interdependence (อิงอาศยก ัน) คนสองคนไม่ควรจะเป็ นเอกเทศต่อกัน หรือเอาแต่พึ่งพาอีกฝ่ ายหนึ่ ง แต่ทงคู่ควรเลื่อนไหลไปด้วยกัน เสมือนว่ามีลมหายใจร่วมกัน ั้ เป็ นวิญญาณเดียวกันที่อยู่ในสองร่าง หากเป็ นเช่นนี้ ....นี่ แหละความรักที่แท้จริง ้ ึ อ่อนไหว ไวต่อความรูสก
  • 17. Action ...... O.K. Reaction ... N.G. เพราะทาไปโดยไม่รต ัว ู้ .....unconsciously React according to our conditionings. จงเป็ นผูกระทา อย่ารอแค่ตอบสนอง ้ ท่านต้องไม่เป็ นของเล่นที่อยู่ในมือของผูอื่น ้
  • 18. Individuals vs. Institution Collective ถ้าปัจเจกพัฒนา ระบบทางสังคมจะด้อยค่าลง Society vs. Commune Love vs. Law Rules ถ้าคนมีความรัก ความเมตตา กฎเกณฑ์ต่างๆ ก็จะด้อยค่าลง
  • 19. รักใน “งาน” รักใน “คน” รักใน “สรรพสิ่ง” ...มนุษยชาติเป็ นส่วนหนึ่ งของทังหมด ที่พวกเราเรียกว่า ้ “จักรวาล” ส่วนเสี้ยวนันถูกจากัดด้วยกาลและสถานที่ เรารับรู้ ้ ตัวตน ความคิดและความรูสึก เป็ นดังบางสิ่งบางอย่างแยกตัว ้ ออกจากส่วนที่เหลือ - ซึ่งก็คือมายาการหนึ่ งของจิตสานึ ก นันเอง ่ มายาการนี้ เป็ นดังที่คมขังซึ่งขีดวงจากัดเราไว้แต่เพียงความ ุ ต้องการส่วนตัวและความพึงใจของผูคนรอบ ้ ข้างเพียงไม่กี่คน หน้ าที่ของเราคือ การปลด ปล่อยตัวเองออกจากพันธนาการนี้ ด้วยการ ขยายขอบเขตความรักความเมตตา ให้ครอบ คลุมไปถึงสรรพชีวิตทังปวงตลอดจนสรรพส่ิ ง ้ ทังหลายในธรรมชาติ.... ้
  • 20. เมือเรามองดูโลกรอบๆ ตัว เราพบว่ าเราไม่ ได้ ถูกโยน ่ เข้ ามาในความไร้ ระเบียบอย่ างสะเปะสะปะ แต่ เราเป็ น ส่ วนหนึ่ง ของระเบียบอันยิงใหญ่ ... ่ ทุกๆ โมเลกุลของร่ างกายเรา ครั้งหนึ่งเคยเป็ นส่ วน หนึ่งของ ร่ างกายอืนทีมีมาก่ อนหน้ านี้ ทั้งที่มีชีวตและไม่ มีชีวต และจะกลายเป็ น ่ ่ ิ ิ ส่ วนหนึ่งของร่ างกายอืนๆในอนาคตต่ อไป ในแง่ นร่างกายของเราจะไม่ ่ ี้ ตาย แต่ จะมีชีวตต่ อไป ครั้งแล้ วครั้งเล่ า ทั้งนีเ้ พราะชีวตจะดารงอยู่ต่อไป ิ ิ ... เราเป็ นส่ วนหนึ่งของจักรวาล เราอยู่ในจักรวาลเช่ นเดียวกับการอยู่ บ้ าน ความรู้ สึกเป็ นส่ วนหนึ่งนีทาให้ ชีวตของเรามีความหมายอันลึกซึ้ง ้ ิ - ฟริตจ๊อฟ คาปร้า (จากหนังสือ “โยงใยที่ซ่อนเร้น – The Hidden Connections” หน้ า 91)
  • 21. Maturity เจริญพ ัฒนา ถึงพร้อม
  • 22. เริมด้วยคาถาม ... ่ ท่านกาล ังใกล้ความตาย หรือว่า ้ ี ิ .... กาล ังใชชวต? ่ คนสวนใหญ่ไม่ได้อยูก ับ “ปัจจุบ ัน” ่ เราใฝฝันถึงแต่ต ัวเราทีอยูใน “อนาคต” ่ ่ ่ โดยทีไม่รเลยว่า “เราเปนใคร” ในปัจจุบ ัน ่ ู้ ็
  • 23. Growing old vs. Growing up เติบโต แก่ต ัว เติบใหญ่ เจริญพ ัฒนา มีวฒภาวะ ุ ิ เกิดขึนทังในคนและสัตว์ ้ ้ เป็ นการเดินทางไปสู่ความตาย เกิดขึนได้เฉพาะในคนเท่านัน ้ ้ (เดินไปในแนวราบ) มีคนเพียง “น้ อยนิด” ที่ได้ใช้สิทธ์ ิ นี้ เป็ นการเดินทางห่างความตายไปเรื่อยๆ (เดินไปในแนวตัง) ้ Maturity = Innocence
  • 24. สภาวะของการไม่รู ้ Ignorance vs. Innocence อวิชชา ความไร้เดียงสา • เป็ นแรงแห่งตัณหา • ไม่รู้ แต่ไม่ได้กระวนกระวายใจ • ความทะยานอยาก • เป็ นสภาวะที่เพียบพร้อม • ต้องการนัน ต้องการนี่ ่ • เต็มเปี่ ยม สมบูรณ์ • ปรารถนาอย่างไม่มีที่สิ้นสุด • รุ่มรวย บริสทธ์ ิ ุ Innocence vs. Ignorance ตะวันตกมัก “เข้าใจผิด” คิดว่า Maturity คือ “ไม่” ไร้เดียงสา ต้องผ่านประสบการณ์มามาก ต้องอายุมาก
  • 25. การเจริญพัฒนา ....เป็ นการเกิดใหม่ เป็ นการเกิดของจิตวิญญาณ ท่านได้เป็ นคนใหม่ ท่านได้กลับมาเป็ นเด็กอีกครัง ้ ด้วยดวงตาที่สดใส ท่านเริ่มได้เห็นสิ่งที่เป็ นอยู่ด้วยใจที่เปี่ ยมไปด้วยรัก ท่านเริ่มประจักษ์ในการมีชีวิต ด้วยความสงบเงียบ และด้วยความไร้เดียงสา มันได้พาท่าน ... ผ่านเข้าไปยังส่วนลึกสุดในตัวท่าน
  • 26. คุณสมบ ัติของความเปนเด็ก 3 ข้อ ็ • มีชีวิตอยู่กบสภาวะของความเป็ นทังหมด จดจ่ออยู่ ั ้ กับสิ่งนันๆ ้ • อยู่ในสภาพของความไร้เดียงสา เรียนรู้ตลอดเวลา ไม่จมอยู่กบอดีต ั • มีความไว้เนื้ อเชื่อใจ (Trust) Trust vs. Doubt
  • 27. Trust vs. Doubt เชื่อใจ สงสัย วิทยาศาสตร์พฒนามาจากความสงสัย นี่ คือเหตุผลว่าทาไมการศึกษา ั ทังหมดจึงเป็ นศาสตร์แห่งข้อสงสัย วิทยาศาสตร์เกิดจากข้อสงสัย ้ มันไม่สามารถพัฒนาได้หากปราศจากข้อสงสัย ความเลื่อมใสศรัทธา มาจากความเชื่อใจ มันไม่สามารถเกิดขึนโดยปราศจากความเชื่อใจ จะ ้ เห็นว่าเป็ นความแตกต่างคนละทางเลย
  • 28. วิทยาศาสตร์ vs. ศาสนา ข้อสงสัยทางานไม่ได้ผลในเรื่องทางศาสนา ก็เหมือนกันกับที่ความ เชื่อใจทางานไม่ได้ในวิธีการค้นหาทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็ นการค้นหาของที่อยู่ข้างนอก ส่วนศาสนาหมายถึง การค้นหาที่อยู่ข้างใน วิทยาศาสตร์เป็ นศาสนาของวัตถุ แต่ศาสนา เป็ นวิทยาศาสตร์ของการดารงอยู่ ... ไม่มีความจาเป็ นใดๆ ที่จะต้องใช้ความไว้วางใจในเรื่องที่เกี่ยวกับวัตถุ และก็ไม่มีความจาเป็ นใดๆ ที่จะตังข้อสงสัย ้ เกี่ยวกับเรื่องภายในใจเรา
  • 29. ิ่ ่ 1. The Known - สงทีเรารูจ ัก ้ ิ่ ่ 2. The Unknown - สงทีเราย ังไม่รจ ัก ู้ ....นี่ เป็ นมุมมองของโลกวิทยาศาสตร์ เป็ นโลกแห่งเหตุผล โลกของสิ่งที่เรียกว่า “ปรีชาญาณ (intellect)” สาหรับโลกแห่งจิตวิญญาณ จะมีส่วนที่ 3 ด้วย ิ่ ่ ู ้ 3. The Unknowable - สงทีรจ ักไม่ได้ ความลี้ลบเป็ นความงามของชีวิต ส่ิ งที่เราไม่อาจจะรูได้ ั ้ มันทาให้ชีวิตของเรามีความหมาย มีความหวัง หลายครัง ้ มันช่วยสร้างแรงบันดาลใจ การเปิดเผยทุกสิ่งทุกอย่าง จะทาให้ชีวิตขาดความลุ่มลึก ทุกอย่างจะกลายเป็ นเรื่องพืนๆ ้ ไม่มีอะไรน่ าตื่นเต้น
  • 30. The Seven-Year Cycles of Life  เจ็ดปี แรก (1-7) ………. เอาตัวเองเป็ นศูนย์กลาง  เจ็ดปี ที่สอง (7-14) …… เริ่มสนใจสิ่งอื่น ชอบตังคาถาม ไม่สนใจเพศตรงข้าม ้  เจ็ดปี ที่สาม (14-21) …. สนใจเพศตรงข้าม มีพฒนาการทางเพศ มีความรัก ั  เจ็ดปี ที่สี่ (21-28) …….. มักใหญ่ใฝ่ สูง แข่งขัน ต้องการความสาเร็จ ผจญภัย  เจ็ดปี ที่ห้า (28-35) …… มองเรื่องความมันคง หลักประกัน หันมาอยู่ในกรอบ ่  เจ็ดปี ที่หก (35-42) …… พลังชีวิตถึงจุดสูงสุด สังคมสาคัญ ยึดมันประเพณี ่  เจ็ดปี ที่เจ็ด (42-49) ….. ความเสื่อมทางกาย โรคแห่งความสาเร็จ สนใจศาสนา  เจ็ดปี ที่แปด (49-56) …. แสวงหาเต็มตัว เข้าสู่วยทอง ั  เจ็ดปี ที่เก้า (56-63) ….. ก้าวออกจากสังคม  เจ็ดปี ที่สิบ (63-70) ….. พบความสมบูรณ์ในตัวเอง
  • 31. Destination vs. Direction ทีหมาย ่ ทิศทาง ข้าพเจ้าไม่ได้ให้ที่หมายกับท่าน ข้าพเจ้าให้ท่านได้แค่เพียงทิศทางเท่านัน้ ท่านจะต้องตื่นตัว ตื่นเต้นกับชีวิตและสิ่งที่ไม่รู้ จะต้องทาตัวให้รสึก ู้ ประหลาดใจอยู่ตลอดเวลา... ข้าพเจ้าจะไม่ให้แผนที่แก่ท่าน ข้าพเจ้าทา ได้เพียงแค่จดไฟในหัวใจของท่าน ทาให้ท่านต้องการจะค้นหาเท่านัน ุ ้
  • 32. “จงเปลี่ยนกองหินที่ขวางกัน (blocking rocks) ให้เป็ นขันบันได (stepping stones)” ้ ้ การเดินทางเป็ นการสร้างเป้ าหมาย เป้ าหมายไม่ได้อยู่ที่จดสุดท้ายของการเดินทาง ุ การเดินทางสร้างเป้ าหมายไปทีละก้าว การเดินทางคือเป้ าหมาย การเดินทางและเป้ าหมายไม่ได้แยก ออกจากกัน จุดหมายและเส้นทางไม่ใช่ของสองสิ่ง จุดหมายได้แผ่ขยายไปตลอดทาง ในระหว่างการเดินทางล้วนมีจดหมายกระจายอยู่ในนัน ุ ้
  • 33. การเดินทางทังหมดเป็ นเรื่องที่ไม่ยาก มันอาจเป็ น ้ เพียงก้าวแรกเท่านันที่ยากลาบาก ดังคาพูดที่ว่า ้ “ก้าวแรกนี้ แท้ที่จริงแล้ว มันก็คือ การเดินทางทังหมด้ เลยทีเดียว” ขออวยพรให้ทกท่านโชคดี ุ กับการเดินทางบนถนนแห่งชีวิตสายนี้ - ประพนธ์ ผาสุขยืด