Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
่
                  อยูอย่างไรให้ชีวิตมีความสุ ข
                  ความสุ ขเป็ นสิ่ งทีทุกคนปรารถนา มนุษย์ ทกคนทีเ่ กิดมาต...
ศักดิ์ มีข้าทาสบริวารมากมาย แต่ กยงหาความสุ ขทีแท้ จริงไม่ เจอ การทีเ่ ราจะทาชีวต
                                        ...
เจ็บไม่ เบียดเบียน โดยปฏิบัติหลัก 4 W
                           -WORK = ทางานในสนุกเป็ นสุ ขกับการทางาน
                 ...
Advertisement
Loading in …3
×

Check these out next

1 of 5 Ad

More Related Content

Slideshows for you (20)

Similar to ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข (20)

Advertisement

More from niralai (20)

Recently uploaded (20)

Advertisement

ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข

  1. 1. ่ อยูอย่างไรให้ชีวิตมีความสุ ข ความสุ ขเป็ นสิ่ งทีทุกคนปรารถนา มนุษย์ ทกคนทีเ่ กิดมาต่ างก็ขวนขวาย ่ ุ เพือให้ ได้ มาซึ่งความสุ ข แต่ มนุษย์ ส่วนมากก็ยงไม่ เข้ าถึงความสุ ขทีแท้ จริง บางคน ่ ั ่ เข้ าใจว่ า วัตถุให้ ความสุ ข จึงพยายามดินรนขวนขวายเพือให้ ได้ มาซึ่งวัตถุ โดยคิดว่ า ้ ่ ถ้ าเขามีวตถุมาก ๆ เขาก็จะมีความสุ ขมาก ั แท้ จริงแล้ววัตถุน้ันให้ เพียงแค่ ความ สะดวกสบายเท่ านั้น หากใช่ ให้ ความสุ ขทีแท้ จริงไม่ เพราะยังปรากฏว่ ามีเศรษฐีบางคน ่ มีเงินรวยเป็ นร้ อยล้าน แต่ กยงต้ องฆ่ าตัวตายก็ยงมี ็ั ั การทีเ่ รามีเงินนั้นก็ทาให้ เราสะดวกในการจับจ่ ายใช้ สอย เรามีรถก็สะดวก ในการไปไหนมาไหน แต่ สิ่งทีจะให้ ความสุ ขกับเราทีแท้ จริงนั้นก็คอธรรมะ มีเมตตา มี ่ ่ ื ความสั นโดษ คือ พอใจในสิ่ งทีตัวเองมียนดีในสิ่ งทีตัวเองได้ เป็ นต้ น เหล่านีต่างหาก ่ ิ ่ ้ เป็ นทางนามาซึ่งความสุ ข ดังคาทีหลวงพ่อพุทธทาสท่ านกล่าวไว้ ว่า ่  ความสุ ขทีมนุษย์ ดินรนขวนขวายมาด้ วยอาศัยอานาจของตัณหา(ความยาก)หา ่ ใช่ เป็ นความสุ ขทีแท้ จริงไม่ ยิงเราอยากมากเท่ าไรมันก็ยงสุ ข (สุ ก) มากเท่ านั้น สุ ขในทีนี้ ่ ่ ิ่ ่ คือสุ ก ก.ไก่ สุ กไหม้ เผาลน หาใช่ เป็ นสุ ข ข.ไข่ ทีเ่ ป็ นสุ ขสงบเย็นไม่ ดังคากลอนหลวง พ่อพุทธทาสอีกบทหนึ่งทีกล่าวไว้ ว่า ่ “ความเอ๋ย ความสุ ข ใครใครทุก คนชอบ เจ้ าเฝ้ าวิงหา ่ แกก็สุข ฉันก็สุข ทุกกเวลา แต่ ดูหน้ า ตาแห้ ง ยังแคลงใจ ถ้ าเราเผา ตัวตัณหา ก็น่าสุ ข ถ้ ามันเผา เราก็สุกหรือเกรียมไหม้ เขาว่ าสุ ข สุ ขเน้ อ อย่ าเห่ อไป มันสุ กไหม้ หรือสุ ขเย็น กันแน่ เอย.” คนบางคนมีอะไรมากมายทางวัตถุ ไม่ ว่าจะรวยล้นฟา มียศถาบรรดา ้
  2. 2. ศักดิ์ มีข้าทาสบริวารมากมาย แต่ กยงหาความสุ ขทีแท้ จริงไม่ เจอ การทีเ่ ราจะทาชีวต ็ั ่ ิ ของเราให้ มความสุ ขได้ น้ัน พระพุทธองค์ ทรงวางแนวทางไว้ ให้ เรามากมาย เป็ นวิธีทาง ี ธรรม ทั้งความสุ ขทีเ่ ป็ นโลกียะ และความสุ ขทีเ่ ป็ นโลกุตระ จึงใคร่ ขอเสนอแนวทางที่ พระพุทธองค์ ได้ ทรงวางไว้ ซึ่งท่ านผู้รู้ ได้ สรุปเป็ น 6 ทาง ดังนี้ * ทาดีมสุข ด้ วยการประพฤติคุณธรรมดังต่ อไปนี้ ี 1.ละชั่ว เว้ นจากอกุศลกรรมบททั้งหลาย 2.ประพฤติชอบ ประพฤติในกุศลกรรมบท 10 3.ประกอบดี ด้ วยการประพฤติบุญกริยาวัตถุ 3 คือ ทาทาน รักษาศีล เจริญภาวนา 4.มีระเบียบวินัย โดยมีศีลห้ าเป็ นการจัดระเบียบวินัยให้ กบชีวตของตนเอง ั ิ นี่คอทางนามาซึ่งความสุ ขประการที่ 1 ื * มังมีศรีสุข ด้ วยการประพฤติคุณธรรมทีเ่ รียกว่ าหัวใจเศรษฐี 4 ่ 1.ขยันหา (อุฎฐานสั มปทา) รู้ จักขยันทาหากินด้ วยอาชีพสุ จริต 2.รักษาดี (อารักขสั มปทา) รู้ จักรักษาทรัพย์ ทหามาได้ ี่ 3.มีกลยาณมิตร (กัลยาณมิตตา)รู้ จักคบมิตรทีดีไม่ คบมิตรชั่ว เพราะ มิตร ั ่ ดีย่อมชักนาพาไปแต่ ในทางทีดี ่ 4.เลียงชีวเี หมาะสม (สมชีวตา) รู้ จักดาเนินชีวตให้ ถูกต้ องเหมาะสม ตาม ้ ิ ิ สมควรแก่ฐานะของตนเอง ใช้ จ่ายอย่ างประหยัด ไม่ ฟุ่มเฟื อย นี่คอทางนามาซึ่งความสุ ขประการที่ 2 ื * สมบูรณ์ พูนสุ ข 1.ไม่ มหนีสิน จะต้ องไม่ ก่อหนีสินให้ กบตนเอง เพราะการกู้หนียมสิ นเป็ น ี ้ ้ ั ้ื ทุกข์ ในโลก ดังพุทธภาษิตทีตรัสว่ า “อิณาทาน ทุกข โลเก - การกู้หนี้ ่ ยืมสิ นเป็ นทุกข์ ในโลก” 2.เหลือกินเหลือใช้ รู้ จักแบ่ งบันทรัพย์ ไว้ ให้ เป็ นสั ดส่ วนดังนี้ -เก็บออมไว้ -ใช้ หนีเ้ ก่า(เลียงพ่อแม่ )-ให้ เขากู้(เลียงลูก)ใส่ ปากงูเห่ า(เลียงดูสามี-ภรรยา) ้ ้ ้ -ฝังดินเอาไว้ (ทาบุญในพระศาสนา) 3.ไร้ โรคโศกภัย รู้ จักรักษาสุ ขภาพอนามัยของร่ างกาย จะทาให้ โรคภัยไข้
  3. 3. เจ็บไม่ เบียดเบียน โดยปฏิบัติหลัก 4 W -WORK = ทางานในสนุกเป็ นสุ ขกับการทางาน -WALK = ออกกาลังกายด้ วยการเดินหรือวิง ่ -DON’T WORY = ไม่ วตกกังวลใจิ -WAIT CONTROL = ควบคุมนาหนัก ควบคุมอาหาร ้ 4.จิตใจเยือกเย็น เป็ นคนใจเย็นแผ่ เมตตาเจริญภาวนาอยู่เป็ นนิจ นี่คอทางนามาซึ่งความสุ ขประการที่ 3 ื * อยู่ดีมสุข การทีเ่ ราเข้ าไปเกียวข้ องกับใครในสั งคมจะต้ องประกอบด้ วย ี ่ คุณธรรมทีเ่ รียกว่ าสั งคหวัตถุ 4 อันเป็ นหลักมนุษย์ สัมพันธ์ ดังนี้ 1.โอบอ้อมอารี (ทาน) รู้ จักแบ่ งปันเสี ยสละซึ่งกันและกัน ไม่ เห็นแก่ตัว 2.วจีไพเราะ (ปิ ยะวาจา) รู้ จักใช้ วาจาทีเ่ ป็ นสุ ภาษิต คือ -พูดแต่ เรื่อจริง - ไพเราะ -เหมาะกาล -ประสานสามัคคี -มีประโยชน์ -ประกอบด้ วยเมตตา 3.สงเคราะห์ ทุกคน (อัตถจริยา) รู้ จักช่ วยเหลือทุกคนไม่ แบ่ งชั้นวรรณะ 4.วางคนพอดี (สมานัตตา) รู้ จักวางตนให้ ถูกต้ องตามฐานะ ให้ เกียรติ เคารพซึ่งกันและกันตามฐานะ นี่คอทางนามาซึ่งความสุ ขประการที่ 4 ื * อยู่เย็นเป็ นสุ ข ด้ วยการประพฤติคุณธรรมดังนี้ 1.รักกัน(เมตตา) มีเมตตาต่ อเพือนมนุษย์ ่ 2.ช่ วยเหลือกัน(เวยยาวัจจมัย) บาเพ็ญตนให้ เป็ นประโยชน์ ต่อผู้อน มี ื่ ความกรุณาสงสารเข้ าไปช่ วยเหลือต่ อผู้อน เมือเห็นผู้อนต้ องตกทุกได้ ยาก ื่ ่ ื่ 3.ไม่ ริษยากัน(มุทตา) ไม่ ริยาแก่กนและกัน มีจิตมุทตาพลอยยินดีเมือ ิ ั ิ ่ เห็นผู้อนได้ ดี ื่ 4.ไม่ ทาลายกัน (อวิหิงสา) ไม่ เบียดเบียนทาลายล้างกัน อันนามาซึ่งความ ทุกข์ ความเดือดร้ อน นี่คอทางนามาซึ่งความสุ ขประการที่ 5 ื * สงบเย็นเป็ นสุ ข ด้ วยการประพฤติตามพุทธภาษิตทีว่า “นตฺถิ สนฺติ ปร สุ ข” ่ สุ ขอืนยิงกว่ าสงบไม่ มี ความสงบในทีนีแบ่ งออกได้ เป็ น 4 ชั้น คือ ่ ่ ่ ้
  4. 4. 1. สงบจน จนทรัพย์ ไม่ มเี งินใช้ จนตรอกไม่ มทางไป จนใจไม่ มทางคิด จนแต้ ม ี ี ไม่ มทางเดิน จนมุมไม่ มทางหนี มีพทธภาษิตกล่าวไว้ ว่า “ทลิทฺทย ทุกข ี ี ุ ิ โลเก - ความจนเป็ นทุกข์ ในโลก” พึงหลีกหนีความจนด้ วยความขยันอย่ างฉลาด ปราศจากอบายมุข สนุกกับการทางาน รู้ จักประมาณในการกินการใช้ ความจนมี 2 -จนเพราะไม่ มี แก้ด้วยการทาให้ มี -จนเพราะไม่ พอ แก้ด้วยการทาใจไม่ ให้ รั่ว รู้ จักสั นโดษ พอใจในสิ่ งทีตัว ่ เองมี ยินดีในสิ่ งทีตัวเองได้ ่ 2. สงบใจ ด้ วยการทากัมมัฏฐาน * สมถกัมมัฏฐาน อุบายทาใจให้ สงบด้ วยสมาธิ * วิปัสสนากัมมัฏฐาน อุบายยังปัญญาให้ สว่ าง เกิดการรู้ แจ้ งเห็นจริงในสิ่ ง ทั้งปวงทีเ่ ป็ นจริงด้ วยปัญญา 3. สงบเวรภัย ด้ วยการไม่ เบียดเบียนกัน ดังพุทธภาษิตทีว่า “อพฺยาปชฺ ฌ สุ ข ่ โลเก - ความไม่ เบียดเบียนกันเป็ นสุ ขในโลก” และ “น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจน - ในทีไหนๆ ในโลกนี้ เวรย่ อมระงับด้ วยการจองเวรไม่ มี ่ 4. สงบกิเลส คือ ราคะ โทสะ โมหะ อันเป็ นต้ นเหตุแห่ งความทุกข์ ด้ วยอาศัย ศีล สมาธิ ปัญญา ดังพุทธภาษิตทีว่า “สพฺพตฺถ ทุกฺขสฺ ส สุ ข ปาน - ละเหตุ ่ แห่ งทุกข์ ได้ ย่ อมเป็ นสุ ขในทีท้งปวง” เมือละราคะ โทสะ โมหะได้ จิตก็จะสงบ ่ ั ่ เย็นเป็ นนิพพานอันเป็ นความสุ ขสู งสุ ด ดังพุทธภาษิตทีว่า “นิพฺพาน ปรม สุ ข ่ - นิพพานเป็ นสุ ขอย่ างยิง” ่ นี่คอทางนามาซึ่งความสุ ขประการที่ 6 ื หากมนุษย์ เราปฏิบัติตามหลักธรรมทีพระพุทธองค์ ทรงวางไว้ ทั้ง 6 ทาง ่ ดังกล่าวมาแล้ว มนุษย์ กจะพบกับความสุ ขทีแท้ จริงในชีวต ็ ่ ิ
  5. 5. สรุ ปแนวทางสร้ างความสุ ขให้ แก่ ชีวต ิ  ทาดีมสุข ี -ละชั่ว ประพฤติชอบ ประกอบดี มีระเบียบวินัย  มังมีศรีสุข ่ -ขยันหา รักษาดี มีกลยาณมิตร เลียงชีวตเหมาะสม ั ้ ิ  สมบูรณ์ พูนสุ ข -ไม่ มหนีสิน เหลือกินเหลือใช้ ไร้ โรคโศกภัย จิตใจเยือกเย็น ี ้  อยู่ดีมสุข ี -โอบอ้อมอารี วจีไพเราะ สงเคราะห์ ทุกตน วางตนพอดี  อยู่เย็นเป็ นสุ ข -รักกัน ช่ วยเหลือกัน ไม่ ริษยากัน ไม่ ทาลายกัน  สงบเย็นเป็ นสุ ข -สงบจน -สงบใจ -สงบเวรภัย -สงบกิเลส

×