SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
        พระพุทธเจ้าทรงสังสอนผูประพฤติธรรม ให้รู้จกอนุรักษ์ชีวิตของสัตว์อื่นๆ แม้กระทังทรงเตือน
                        ่     ้                  ั                                   ่
การใช้เลศเล่ห์ ที่จะไปทาร้ายสัตว์ให้ตาย ไม่ว่าจะเป็ นสัตว์บกหรื อสัตว์น้ าก็ตาม ไม่ว่าจะเอามากินเป็ น
อาหาร หรื อเอามาทาเป็ นเครื่ องใช้อะไรก็ตาม พระองค์ทรงตาหนิติเตียนผูกระทาเช่นนั้นดังนั้นจึงควร
                                                                    ้
เลิกใช้ช้นเชิงหลอกตัวเอง และลวงคนอื่นเสี ยทีว่า "สัตว์เกิดมาเพื่อให้คนกิน เพื่อให้คนใช้ แล้วก็เพื่อเป็ น
         ั
ทาสของคน" เพราะโดยแท้จริ งแล้ว สัตว์โลกทุกชนิดล้วนเกิดมาอย่างอิสรเสรี ไม่มีใคร เป็ นเจ้าของชีวิต
ของใคร และไม่มีใครเป็ นทาสชีวิตของใครเลย สัตว์ท้งหลายมีสิทธ์ เป็ นเจ้าของชีวิต ของตนผูเ้ ดียว
                                                ั
เท่านั้น เพราะต่างก็รักชีวิตของตนด้วยกันทั้งสิ้ น จึงไม่ควรเบียดเบียนทาร้ายสัตว์อื่น

        ศีลข้อที่หนึ่ง ละการฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ วางโทษภัย วางของมีคม แล้วมีความละอาย
                                                                  ่ ั
ต่อการทาบาป มีความเอ็นดู มีความกรุ ณา หวังประโยชน์แก่สตว์ท้งปวงอยูนบตั้งแต่ในสมัยพุทธกาล
                                                      ั ั
นานมา พระพุทธองค์ทรงวางนโยบายอนุรักษ์ชีวิตสัตว์โลกเอาไว้แล้ว โดยการกาหนดปฏิบติที่เรี ยกว่า
                                                                            ั
"ศีล" ให้แก่ชาวโลกดังนั้นจะเห็นได้ว่า หากผูคนพยายามรักษาศีลข้อที่หนึ่งนี้เพิ่มมากขึ้น ปัญหาการสูญ
                                           ้
พันธุ์ของสัตว์ป่าต่างๆจะลดลง ในป่ าจะมีสตว์อาศัยอยู่ และสัตว์ท้งหลายก็จะมีป่าให้อยู่ สัตว์กบป่ าไม้
                                        ั                      ั                           ั
เป็ นสื่ อสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน ไม่ใช่ไปทาสัตว์ป่าให้กลายเป็ นสัตว์บาน นามาบังคับใส่กรงขังไว้ แล้ว
                                                                      ้
ทาลายป่ าราบเรี ยบ สร้างเป็ นตึกสูง เป็ นห้องแถวอย่าทาให้สตว์ป่าไร้ป่าอยู่ ซึ่ งผิดธรรมชาติของมัน อย่า
                                                          ั
ทาให้ป่าต้องร้างสัตว์อยู่ ซึ่ งผิดธรรมชาติของป่ า และอย่าทาให้วงจรชีวิตของธรรมชาติ ที่สตว์กบป่ าต้อง
                                                                                       ั ั
พึ่งพาอาศัยกัน นั้น ต้องถูกทาลายสมดุล ในตัว ของมันเองไป อันเนื่องมาจากการฆ่าแกงทาร้ายสัตว์ การ
ข่มเหงบังคับสัตว์อย่างทารุ ณ ด้วยฝี มือของมนุษย์โปรดช่วยกันเอ็นดู ให้ความเมตตากรุ ณา และให้
ประโยชน์แก่สตว์ท้งปวงบ้างเถิด อย่ารังแกกันเกินไปนักเลย
            ั ั

        พระพุทธเจ้าทรงสังสอนผูประพฤติธรรม ให้รู้จกอนุรักษ์ชีวิตของสัตว์อื่นๆ แม้กระทังทรงเตือน
                        ่     ้                  ั                                   ่
การใช้เลศเล่ห์ ที่จะไปทาร้ายสัตว์ให้ตาย ไม่ว่าจะเป็ นสัตว์บกหรื อสัตว์น้ าก็ตาม ไม่ว่าจะเอามากินเป็ น
อาหาร หรื อเอามาทาเป็ นเครื่ องใช้อะไรก็ตาม พระองค์ทรงตาหนิติเตียนผูกระทาเช่นนั้นดังนั้นจึงควร
                                                                    ้
เลิกใช้ช้นเชิงหลอกตัวเอง และลวงคนอื่นเสี ยทีว่า "สัตว์เกิดมาเพื่อให้คนกิน เพื่อให้คนใช้ แล้วก็เพื่อเป็ น
         ั


22/07/55 21:36:17 น. Credit by S.Nimtim
ทาสของคน" เพราะโดยแท้จริ งแล้ว สัตว์โลกทุกชนิดล้วนเกิดมาอย่างอิสรเสรี ไม่มีใคร เป็ นเจ้าของชีวิต
ของใคร และไม่มีใครเป็ นทาสชีวิตของใครเลย สัตว์ท้งหลายมีสิทธ์ เป็ นเจ้าของชีวิต ของตนผูเ้ ดียว
                                                ั
เท่านั้น เพราะต่างก็รักชีวิตของตนด้วยกันทั้งสิ้ น จึงไม่ควรเบียดเบียนทาร้ายสัตว์อื่น

        อนึ่ง ภิกษุใดแกล้ งพรากสัตว์ จากชีวิต หรือภิกษุใดรู้อยู่ บริโภคน้ามีตัวสัตว์ หรือภิกษุใดรู้อยู่ว่า
น้ามีตัวสัตว์ ก็รดน้านี้เอง หรือให้ คนอื่นรดน้านี้ ลงบนหญ้ าก็ตาม ดินก็ตาม ล้ วนเป็ นอาบัติปาจิตตีย์
(โทษระดับเบาที่ทาผิดในการละเมิดพระวินัย)

        พระองค์ทรงสอนให้ทาตนเป็ นผูมกน้อย ใช้สอยของกินของใช้อย่างประหยัด เท่าที่ มีความ
                                   ้ ั
จาเป็ น แก่ชีวิตเท่านั้น ซึ่ งที่สาคัญๆก็คือ ปัจจัย ๔ อันได้แก่ อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอาศัย และยารักษา
                                                                                            ่
โรค การร่ วมมือกันกินน้อยใช้นอยนี่เอง จะทาให้ทรัพยากรของโลกถูกใช้อย่างประหยัด สัตว์และพืช
                             ้
ตลอดจน แร่ ธาตุต่างๆ จะไม่ถูกใช้จ่ายไปอย่างฟุ่ มเฟื อย ทรัพยากรธรรมชาติจึงจะเหลืออยูมาก เพียงพอ
                                                                                    ่
หาใช้ได้ง่าย ไม่เกิดความขาดแคลน อันจะเป็ นที่มาของการแก่งแย่งกัน เป็ นที่มาของการล่าทรัพยากรใน
ต่างแดนเกิดขึ้น ดังที่นานาประเทศกาลังทากันอยู่ ซึ่งผลสุดท้ายก็คือ ความล่มจมของธรรมชาติทวโลก
                                                                                       ั่
แล้วธรรมชาติก็ตองเสี ยสมดุลอย่างย่อยยับ ดินแล้ง-น้ าเสี ย-ป่ าสูญ-อากาศเป็ นพิษ มลภาวะย่อมแผ่
               ้
กระจายออกไปทุกหนทุกแห่ง เพราะธรรมชาติท้งหมดล้วนสอดประสานกันเป็ นวงจรเดียว
                                       ั

        พระพุทธเจ้าทรงรู้แจ้งธรรมชาติ และกฎของธรรมชาติอย่างเป็ นระบบครบกระบวนการ จน
                                              ั
สามารถนามาใช้เป็ นเครื่ องมือในการดับทุกข์ให้กบพระองค์เองได้ ทรงอุทิศพระชนม์ชีพหลังการตรัส
รู้ เพื่อประกาศความสาคัญของธรรมชาติ กฎของธรรมชาติ และวิธีปฏิบติให้สอดคล้องกับกฎ
                                                             ั
ธรรมชาติ เพื่อที่จะได้ดารงชีวิตกับธรรมชาติอย่างมีสนติสุข พระองค์ได้ดาเนินพระชนม์ชีพใกล้ชิดกับ
                                                  ั
ธรรมชาติจริ ง ๆ แล้วไม่ต่ากว่า 51 ปี เต็ม ดังนั้น ธรรมะและวินยที่พระองค์แสดงจึงสะท้อนให้เห็นถึง
                                                             ั
ความรักที่พระองค์มีต่อสรรพสัตว์ และสรรพสิ่ งได้เป็ นอย่างดียิ่ง ความรักที่พระองค์มีต่อสรรพ
สัตว์ พบได้จากพระพุทธดารัสว่า ดูก่อนภิกษุท้งหลาย เมื่อปุถุชนกล่าวชมตถาคต พึงกล่าวชมอย่างนี้
                                           ั
ว่า “พระสมณโคดม ละการฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ วางทัณฑะ วางศาสตรา มีความละอาย มี
ความเอ็นดู มีความกรุ ณา หวังประโยชน์ เกื้อกูลแก่สตว์ท้งปวงอยู่ พระสมณโคดมเว้นจากการรับเนื้อ
                                                 ั ั


22/07/55 21:36:17 น. Credit by S.Nimtim
ดิบ… เว้นขาดจากการรับเนื้อแพะและแกะ… เว้นขาดจากการรับไก่และสุกร… เว้นขาดจากการรับช้าง
โค ม้า และลา” สิ่ งที่สามารถยืนยันได้อีกประการหนึ่งว่าพระพุทธเจ้านั้นทรงรักสรรพสัตว์น้ น กล่าวคือ
                                                                                       ั
พิจารณาได้จากวิถีชีวิตของพระองค์ในวันเยาว์ เราจะเห็นได้ว่า เมื่อพระองค์เสด็จออกไปเที่ยวเล่นนอก
บ้านกับเทวทัตต์ เจ้าชายเทวทัตต์ได้หงส์ตกลงมา เจ้าชายทั้งสองต่างก็วิ่งไปเก็บมัน แต่เจ้าชายสิ ทธัต
ถะนั้นวิ่งไปถึงหงส์ตวนั้นก่อน ภายหลังที่มองเห็นว่าหงส์เจ็บปวดจากถูกลูกศร พระองค์จึงได้ถอน
                    ั
ลูกศรออก และทรงยัดใบไม้ที่มีรสเย็นเข้าไปในบาดแผล เพื่อให้โลหิ ตหยุดไหล อีกทั้งทรงลูบอย่างเบา
ๆ เพื่อคลายความตื่นตระหนก และเจ็บปวดของหงส์ เจ้าชายเทวทัตต์รู้สึกขัดเคืองพระทัย และขอหงส์
คืน โดยอ้างถึงสิ ทธิในการที่ตนยิงหงส์ตก แต่เจ้าชายสิ ทธัตถะก็อางสิ ทธิว่า โดยแท้จริ งแล้วชีวิต ต้อง
                                                              ้
เป็ นของผูที่จะพยายามจะช่วยชีวิตมัน มิใช่เป็ นของผูที่คิดจะทาลายมัน ฉะนั้น ตกตัวนี้ควรเป็ นของ
          ้                                        ้
พระองค์ซ่ ึ งช่วยเหลือมัน เมื่อให้ที่ประชุมตัดสิ น ที่ประชุมก็ได้พิพากษาให้เจ้าชายสิ ทธัตถะเป็ นเจ้าของ
หงส์ โดยให้เหตุผลที่สอดคล้องกับเจ้าชายสิ ทธัตถะ เมื่อพระองค์รักษาหงส์จนหายสนิทแล้วก็ได้ทรง
                        ่
ปล่อยหงส์กลับไปยังที่อยูของมันตามเดิมนอกจากพระองค์จะไม่เบียดเบียนสรรพสัตว์แล้ว สรรพสิ่ง
พระองค์ก็ไม่ทรงเบียดเบียนเช่นกัน ดังที่พระองค์ได้ตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุท้งหลาย เมื่อปุถุชนจะกล่าว
                                                                       ั
ชมพระตถาคต พึงกล่าวชมอย่างนี้ว่า พระสมณโคดมเว้นขาดจากรับธัญญาหารดิบ เว้นขาดจากการ
พรากพืชและภูตคาม อย่างที่สมณพราหมณ์ผเู้ จริ ญฉันโภชนะที่เข้าให้ดวยศรัทธาแล้ว ยังประกอบการ
                                                                ้
พรากพืชคาม และภูตคามเป็ นปานนี้อยูเ่ นือง ๆ คือพืชเกิดแต่เหง้า เกิดจากลาต้น เกิดจากตา เกิดจาก
ยอด เกิดจากเมล็ด”

        จะเห็นได้ว่าพระพุทธเจ้านั้นทรงรักสรรพสัตว์และสรรพสิ่ ง อันเป็ นที่มาของการไม่
ทาลาย หรื อมุ่งร้ายต่อธรรมชาติในลักษณะต่าง ๆ สรุ ปแล้วความรู้กบข้อปฏิบติ ที่จะช่วยคุมครองโลก
                                                              ั       ั             ้
ให้งดงาม คุมครองตนให้ไปสู่ดีน้ น ได้มีมาแต่โบราณกาล อีกทั้งยังมีอยูแล้วมากมาย แต่จนถึงทุกวันนี้
           ้                   ั                                   ่
โลกยิงเสี ยหายยับเยินลงไปทุกที เพราะความวิปริ ต แปรปรวน ของสภาพแวดล้อมทั้งหลายนั้น ล้วนเกิด
     ่
                                  ่
จากผลงานของมนุษย์แทบทั้งสิ้ น นี่ยอมแสดงถึง.... ความตกต่าทางใจ ของมนุษย์ทวีมากขึ้นเป็ นลาดับ
ดังนั้นตราบใดที่ยงแก้ไข "ความเลวในหัวใจมนุษย์" ให้เลิกขี้โลภเห็นแก่ตวไม่ได้ ตราบนั้นอย่าหวังเลย
                 ั                                                  ั
ว่า สภาวะสมดุลของธรรมชาติจะเกิดขึ้นได้ และตราบใดที่ "หัวใจของคนดี" ท้อถอยต่อการเสี ยสละ เลิก


22/07/55 21:36:17 น. Credit by S.Nimtim
ล้มการสร้างสรรค์โลก หยุดผงาดขึ้นยืนหยัดต้านภัยพาล ตราบนั้นก็อย่าหวังเลยว่า สังคมโลกนี้จะ
สวยงามสุขเย็นได้ เพราะโลกนี้ไร้แล้วซึ่ งที่พ่ ึงพิงรอเวลาแหลกสลายจะมาถึงเท่านั้นเอง โลกนี้จึงกาลัง
ต้องการคนดีที่ใจเด็ด กล้าทน สร้างกรรมดีสืบไปได้ตลอดตาย เพื่อกอบกูโลกให้น่าอยูยงยืนยาวนานถึง
                                                                 ้           ่ ั่
ที่สุด “หากจะมองในประเด็นดังกล่ าวเราจะพบว่ า แท้ ที่จริ งแล้ว สั ตว์ เล็ก ๆ ในดินนี่เองเป็ นผู้ช่วย
ให้ “ดินมีชีวิต” ขึนมา ดังนั้น การทาให้ ชีวิตสั ตว์ ในดินตายไป ก็คือการทาให้ ดินต้ องตายไป
                   ้
ด้ วย กลายเป็ น “ดินตาย” ที่ไร้ ประโยชน์ ไม่สามารถเพาะปลูกพืชได้ ”




22/07/55 21:36:17 น. Credit by S.Nimtim

More Related Content

What's hot

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยMpiizzysm
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาบทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาน้อง มัดไหม
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)niralai
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาThongsawan Seeha
 

What's hot (20)

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาบทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
 

Similar to พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า

บทที่123แก้ไข2
บทที่123แก้ไข2บทที่123แก้ไข2
บทที่123แก้ไข2Donnapha Bor-sap
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปดTongsamut vorasan
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศSaran Srimee
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Khaojaoba Apple
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)Om Muktar
 
ธาตุธรรม ๓ ฝ่าย
ธาตุธรรม ๓ ฝ่ายธาตุธรรม ๓ ฝ่าย
ธาตุธรรม ๓ ฝ่ายRose Banioki
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออมzeenwine
 

Similar to พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า (20)

บทที่123แก้ไข2
บทที่123แก้ไข2บทที่123แก้ไข2
บทที่123แก้ไข2
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ทสิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
 
20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf
 
20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)
 
ธาตุธรรม ๓ ฝ่าย
ธาตุธรรม ๓ ฝ่ายธาตุธรรม ๓ ฝ่าย
ธาตุธรรม ๓ ฝ่าย
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
 

More from Kasetsart University

ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ PresentKasetsart University
 
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KUสรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KUKasetsart University
 
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวการทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวKasetsart University
 
Hw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateHw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateKasetsart University
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...Kasetsart University
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบKasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisKasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisKasetsart University
 
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimHomework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimKasetsart University
 

More from Kasetsart University (20)

ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
 
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KUสรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
 
Report stell2
Report stell2Report stell2
Report stell2
 
Soil triaxial data Group 1-3
Soil triaxial data Group 1-3 Soil triaxial data Group 1-3
Soil triaxial data Group 1-3
 
Triaxcial test
Triaxcial testTriaxcial test
Triaxcial test
 
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวการทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
 
Calender2555
Calender2555Calender2555
Calender2555
 
Hw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateHw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing update
 
Applied hydrology
Applied hydrologyApplied hydrology
Applied hydrology
 
Applied hydrology nsn
Applied hydrology nsnApplied hydrology nsn
Applied hydrology nsn
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
 
Wave 1
Wave 1Wave 1
Wave 1
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
Compaction test
Compaction testCompaction test
Compaction test
 
Compaction test data sheet
Compaction test data sheetCompaction test data sheet
Compaction test data sheet
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimHomework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
 
Grain size analysis By S.Nimtim
Grain size analysis By S.NimtimGrain size analysis By S.Nimtim
Grain size analysis By S.Nimtim
 
Compaction Test By S.Nimtim
Compaction Test By S.NimtimCompaction Test By S.Nimtim
Compaction Test By S.Nimtim
 

พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า

  • 1. พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า พระพุทธเจ้าทรงสังสอนผูประพฤติธรรม ให้รู้จกอนุรักษ์ชีวิตของสัตว์อื่นๆ แม้กระทังทรงเตือน ่ ้ ั ่ การใช้เลศเล่ห์ ที่จะไปทาร้ายสัตว์ให้ตาย ไม่ว่าจะเป็ นสัตว์บกหรื อสัตว์น้ าก็ตาม ไม่ว่าจะเอามากินเป็ น อาหาร หรื อเอามาทาเป็ นเครื่ องใช้อะไรก็ตาม พระองค์ทรงตาหนิติเตียนผูกระทาเช่นนั้นดังนั้นจึงควร ้ เลิกใช้ช้นเชิงหลอกตัวเอง และลวงคนอื่นเสี ยทีว่า "สัตว์เกิดมาเพื่อให้คนกิน เพื่อให้คนใช้ แล้วก็เพื่อเป็ น ั ทาสของคน" เพราะโดยแท้จริ งแล้ว สัตว์โลกทุกชนิดล้วนเกิดมาอย่างอิสรเสรี ไม่มีใคร เป็ นเจ้าของชีวิต ของใคร และไม่มีใครเป็ นทาสชีวิตของใครเลย สัตว์ท้งหลายมีสิทธ์ เป็ นเจ้าของชีวิต ของตนผูเ้ ดียว ั เท่านั้น เพราะต่างก็รักชีวิตของตนด้วยกันทั้งสิ้ น จึงไม่ควรเบียดเบียนทาร้ายสัตว์อื่น ศีลข้อที่หนึ่ง ละการฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ วางโทษภัย วางของมีคม แล้วมีความละอาย ่ ั ต่อการทาบาป มีความเอ็นดู มีความกรุ ณา หวังประโยชน์แก่สตว์ท้งปวงอยูนบตั้งแต่ในสมัยพุทธกาล ั ั นานมา พระพุทธองค์ทรงวางนโยบายอนุรักษ์ชีวิตสัตว์โลกเอาไว้แล้ว โดยการกาหนดปฏิบติที่เรี ยกว่า ั "ศีล" ให้แก่ชาวโลกดังนั้นจะเห็นได้ว่า หากผูคนพยายามรักษาศีลข้อที่หนึ่งนี้เพิ่มมากขึ้น ปัญหาการสูญ ้ พันธุ์ของสัตว์ป่าต่างๆจะลดลง ในป่ าจะมีสตว์อาศัยอยู่ และสัตว์ท้งหลายก็จะมีป่าให้อยู่ สัตว์กบป่ าไม้ ั ั ั เป็ นสื่ อสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน ไม่ใช่ไปทาสัตว์ป่าให้กลายเป็ นสัตว์บาน นามาบังคับใส่กรงขังไว้ แล้ว ้ ทาลายป่ าราบเรี ยบ สร้างเป็ นตึกสูง เป็ นห้องแถวอย่าทาให้สตว์ป่าไร้ป่าอยู่ ซึ่ งผิดธรรมชาติของมัน อย่า ั ทาให้ป่าต้องร้างสัตว์อยู่ ซึ่ งผิดธรรมชาติของป่ า และอย่าทาให้วงจรชีวิตของธรรมชาติ ที่สตว์กบป่ าต้อง ั ั พึ่งพาอาศัยกัน นั้น ต้องถูกทาลายสมดุล ในตัว ของมันเองไป อันเนื่องมาจากการฆ่าแกงทาร้ายสัตว์ การ ข่มเหงบังคับสัตว์อย่างทารุ ณ ด้วยฝี มือของมนุษย์โปรดช่วยกันเอ็นดู ให้ความเมตตากรุ ณา และให้ ประโยชน์แก่สตว์ท้งปวงบ้างเถิด อย่ารังแกกันเกินไปนักเลย ั ั พระพุทธเจ้าทรงสังสอนผูประพฤติธรรม ให้รู้จกอนุรักษ์ชีวิตของสัตว์อื่นๆ แม้กระทังทรงเตือน ่ ้ ั ่ การใช้เลศเล่ห์ ที่จะไปทาร้ายสัตว์ให้ตาย ไม่ว่าจะเป็ นสัตว์บกหรื อสัตว์น้ าก็ตาม ไม่ว่าจะเอามากินเป็ น อาหาร หรื อเอามาทาเป็ นเครื่ องใช้อะไรก็ตาม พระองค์ทรงตาหนิติเตียนผูกระทาเช่นนั้นดังนั้นจึงควร ้ เลิกใช้ช้นเชิงหลอกตัวเอง และลวงคนอื่นเสี ยทีว่า "สัตว์เกิดมาเพื่อให้คนกิน เพื่อให้คนใช้ แล้วก็เพื่อเป็ น ั 22/07/55 21:36:17 น. Credit by S.Nimtim
  • 2. ทาสของคน" เพราะโดยแท้จริ งแล้ว สัตว์โลกทุกชนิดล้วนเกิดมาอย่างอิสรเสรี ไม่มีใคร เป็ นเจ้าของชีวิต ของใคร และไม่มีใครเป็ นทาสชีวิตของใครเลย สัตว์ท้งหลายมีสิทธ์ เป็ นเจ้าของชีวิต ของตนผูเ้ ดียว ั เท่านั้น เพราะต่างก็รักชีวิตของตนด้วยกันทั้งสิ้ น จึงไม่ควรเบียดเบียนทาร้ายสัตว์อื่น อนึ่ง ภิกษุใดแกล้ งพรากสัตว์ จากชีวิต หรือภิกษุใดรู้อยู่ บริโภคน้ามีตัวสัตว์ หรือภิกษุใดรู้อยู่ว่า น้ามีตัวสัตว์ ก็รดน้านี้เอง หรือให้ คนอื่นรดน้านี้ ลงบนหญ้ าก็ตาม ดินก็ตาม ล้ วนเป็ นอาบัติปาจิตตีย์ (โทษระดับเบาที่ทาผิดในการละเมิดพระวินัย) พระองค์ทรงสอนให้ทาตนเป็ นผูมกน้อย ใช้สอยของกินของใช้อย่างประหยัด เท่าที่ มีความ ้ ั จาเป็ น แก่ชีวิตเท่านั้น ซึ่ งที่สาคัญๆก็คือ ปัจจัย ๔ อันได้แก่ อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอาศัย และยารักษา ่ โรค การร่ วมมือกันกินน้อยใช้นอยนี่เอง จะทาให้ทรัพยากรของโลกถูกใช้อย่างประหยัด สัตว์และพืช ้ ตลอดจน แร่ ธาตุต่างๆ จะไม่ถูกใช้จ่ายไปอย่างฟุ่ มเฟื อย ทรัพยากรธรรมชาติจึงจะเหลืออยูมาก เพียงพอ ่ หาใช้ได้ง่าย ไม่เกิดความขาดแคลน อันจะเป็ นที่มาของการแก่งแย่งกัน เป็ นที่มาของการล่าทรัพยากรใน ต่างแดนเกิดขึ้น ดังที่นานาประเทศกาลังทากันอยู่ ซึ่งผลสุดท้ายก็คือ ความล่มจมของธรรมชาติทวโลก ั่ แล้วธรรมชาติก็ตองเสี ยสมดุลอย่างย่อยยับ ดินแล้ง-น้ าเสี ย-ป่ าสูญ-อากาศเป็ นพิษ มลภาวะย่อมแผ่ ้ กระจายออกไปทุกหนทุกแห่ง เพราะธรรมชาติท้งหมดล้วนสอดประสานกันเป็ นวงจรเดียว ั พระพุทธเจ้าทรงรู้แจ้งธรรมชาติ และกฎของธรรมชาติอย่างเป็ นระบบครบกระบวนการ จน ั สามารถนามาใช้เป็ นเครื่ องมือในการดับทุกข์ให้กบพระองค์เองได้ ทรงอุทิศพระชนม์ชีพหลังการตรัส รู้ เพื่อประกาศความสาคัญของธรรมชาติ กฎของธรรมชาติ และวิธีปฏิบติให้สอดคล้องกับกฎ ั ธรรมชาติ เพื่อที่จะได้ดารงชีวิตกับธรรมชาติอย่างมีสนติสุข พระองค์ได้ดาเนินพระชนม์ชีพใกล้ชิดกับ ั ธรรมชาติจริ ง ๆ แล้วไม่ต่ากว่า 51 ปี เต็ม ดังนั้น ธรรมะและวินยที่พระองค์แสดงจึงสะท้อนให้เห็นถึง ั ความรักที่พระองค์มีต่อสรรพสัตว์ และสรรพสิ่ งได้เป็ นอย่างดียิ่ง ความรักที่พระองค์มีต่อสรรพ สัตว์ พบได้จากพระพุทธดารัสว่า ดูก่อนภิกษุท้งหลาย เมื่อปุถุชนกล่าวชมตถาคต พึงกล่าวชมอย่างนี้ ั ว่า “พระสมณโคดม ละการฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ วางทัณฑะ วางศาสตรา มีความละอาย มี ความเอ็นดู มีความกรุ ณา หวังประโยชน์ เกื้อกูลแก่สตว์ท้งปวงอยู่ พระสมณโคดมเว้นจากการรับเนื้อ ั ั 22/07/55 21:36:17 น. Credit by S.Nimtim
  • 3. ดิบ… เว้นขาดจากการรับเนื้อแพะและแกะ… เว้นขาดจากการรับไก่และสุกร… เว้นขาดจากการรับช้าง โค ม้า และลา” สิ่ งที่สามารถยืนยันได้อีกประการหนึ่งว่าพระพุทธเจ้านั้นทรงรักสรรพสัตว์น้ น กล่าวคือ ั พิจารณาได้จากวิถีชีวิตของพระองค์ในวันเยาว์ เราจะเห็นได้ว่า เมื่อพระองค์เสด็จออกไปเที่ยวเล่นนอก บ้านกับเทวทัตต์ เจ้าชายเทวทัตต์ได้หงส์ตกลงมา เจ้าชายทั้งสองต่างก็วิ่งไปเก็บมัน แต่เจ้าชายสิ ทธัต ถะนั้นวิ่งไปถึงหงส์ตวนั้นก่อน ภายหลังที่มองเห็นว่าหงส์เจ็บปวดจากถูกลูกศร พระองค์จึงได้ถอน ั ลูกศรออก และทรงยัดใบไม้ที่มีรสเย็นเข้าไปในบาดแผล เพื่อให้โลหิ ตหยุดไหล อีกทั้งทรงลูบอย่างเบา ๆ เพื่อคลายความตื่นตระหนก และเจ็บปวดของหงส์ เจ้าชายเทวทัตต์รู้สึกขัดเคืองพระทัย และขอหงส์ คืน โดยอ้างถึงสิ ทธิในการที่ตนยิงหงส์ตก แต่เจ้าชายสิ ทธัตถะก็อางสิ ทธิว่า โดยแท้จริ งแล้วชีวิต ต้อง ้ เป็ นของผูที่จะพยายามจะช่วยชีวิตมัน มิใช่เป็ นของผูที่คิดจะทาลายมัน ฉะนั้น ตกตัวนี้ควรเป็ นของ ้ ้ พระองค์ซ่ ึ งช่วยเหลือมัน เมื่อให้ที่ประชุมตัดสิ น ที่ประชุมก็ได้พิพากษาให้เจ้าชายสิ ทธัตถะเป็ นเจ้าของ หงส์ โดยให้เหตุผลที่สอดคล้องกับเจ้าชายสิ ทธัตถะ เมื่อพระองค์รักษาหงส์จนหายสนิทแล้วก็ได้ทรง ่ ปล่อยหงส์กลับไปยังที่อยูของมันตามเดิมนอกจากพระองค์จะไม่เบียดเบียนสรรพสัตว์แล้ว สรรพสิ่ง พระองค์ก็ไม่ทรงเบียดเบียนเช่นกัน ดังที่พระองค์ได้ตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุท้งหลาย เมื่อปุถุชนจะกล่าว ั ชมพระตถาคต พึงกล่าวชมอย่างนี้ว่า พระสมณโคดมเว้นขาดจากรับธัญญาหารดิบ เว้นขาดจากการ พรากพืชและภูตคาม อย่างที่สมณพราหมณ์ผเู้ จริ ญฉันโภชนะที่เข้าให้ดวยศรัทธาแล้ว ยังประกอบการ ้ พรากพืชคาม และภูตคามเป็ นปานนี้อยูเ่ นือง ๆ คือพืชเกิดแต่เหง้า เกิดจากลาต้น เกิดจากตา เกิดจาก ยอด เกิดจากเมล็ด” จะเห็นได้ว่าพระพุทธเจ้านั้นทรงรักสรรพสัตว์และสรรพสิ่ ง อันเป็ นที่มาของการไม่ ทาลาย หรื อมุ่งร้ายต่อธรรมชาติในลักษณะต่าง ๆ สรุ ปแล้วความรู้กบข้อปฏิบติ ที่จะช่วยคุมครองโลก ั ั ้ ให้งดงาม คุมครองตนให้ไปสู่ดีน้ น ได้มีมาแต่โบราณกาล อีกทั้งยังมีอยูแล้วมากมาย แต่จนถึงทุกวันนี้ ้ ั ่ โลกยิงเสี ยหายยับเยินลงไปทุกที เพราะความวิปริ ต แปรปรวน ของสภาพแวดล้อมทั้งหลายนั้น ล้วนเกิด ่ ่ จากผลงานของมนุษย์แทบทั้งสิ้ น นี่ยอมแสดงถึง.... ความตกต่าทางใจ ของมนุษย์ทวีมากขึ้นเป็ นลาดับ ดังนั้นตราบใดที่ยงแก้ไข "ความเลวในหัวใจมนุษย์" ให้เลิกขี้โลภเห็นแก่ตวไม่ได้ ตราบนั้นอย่าหวังเลย ั ั ว่า สภาวะสมดุลของธรรมชาติจะเกิดขึ้นได้ และตราบใดที่ "หัวใจของคนดี" ท้อถอยต่อการเสี ยสละ เลิก 22/07/55 21:36:17 น. Credit by S.Nimtim
  • 4. ล้มการสร้างสรรค์โลก หยุดผงาดขึ้นยืนหยัดต้านภัยพาล ตราบนั้นก็อย่าหวังเลยว่า สังคมโลกนี้จะ สวยงามสุขเย็นได้ เพราะโลกนี้ไร้แล้วซึ่ งที่พ่ ึงพิงรอเวลาแหลกสลายจะมาถึงเท่านั้นเอง โลกนี้จึงกาลัง ต้องการคนดีที่ใจเด็ด กล้าทน สร้างกรรมดีสืบไปได้ตลอดตาย เพื่อกอบกูโลกให้น่าอยูยงยืนยาวนานถึง ้ ่ ั่ ที่สุด “หากจะมองในประเด็นดังกล่ าวเราจะพบว่ า แท้ ที่จริ งแล้ว สั ตว์ เล็ก ๆ ในดินนี่เองเป็ นผู้ช่วย ให้ “ดินมีชีวิต” ขึนมา ดังนั้น การทาให้ ชีวิตสั ตว์ ในดินตายไป ก็คือการทาให้ ดินต้ องตายไป ้ ด้ วย กลายเป็ น “ดินตาย” ที่ไร้ ประโยชน์ ไม่สามารถเพาะปลูกพืชได้ ” 22/07/55 21:36:17 น. Credit by S.Nimtim