SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
บทที่ 1 ความหมายและ
องค์ประกอบของ “ปัญญาชน”
 “ปัญญาชน” คืออะไร?
 “ปัญญาชน” มีลักษณะอย่างไร?
 รู้ได้อย่างไรว่าใครเป็น “ปัญญาชน” ใคร “ไม่ใช่”?
 เราเป็น “ปัญญาชน” หรือเปล่า?
คาถามเกี่ยวกับ “ปัญญาชน”
“ปัญญาชน” มาจากภาษาอังกฤษว่า intellectual
(n) ผู้มีปัญญาสูง ผู้ทางานเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องใช้ปัญญา ผู้ที่มีเหตุผล
สูง ผู้ที่ใช้สติปัญญา (แทนการใช้อารมณ์) (พจนานุกรม, 2541)
หรือ แปลว่า “ผู้มีความรู้ ความฉลาด อันเกิดจากการเรียนมาก”
1.1 “ปัญญาชน”: ความหมายและข้อถกเถียง
 “ปัญญาชน” มีอยู่ในสังคมมานับพันปี สมัยก่อนเราใช้ชื่อเฉพาะอื่น
เช่น หมอผี ผู้อาวุโส พระ โหร นักปราชญ์ นักเขียน ศิลปิ น ฯลฯ และมอง
คนเหล่านี้ในฐานะ “ปัจเจกชน” มากกว่า “กลุ่มทางสังคม” (Social
Group) (วิทยากร เชียงกูล, 2530)
 “ปัญญาชน” เริ่มใช้กันในความหมาย “กลุ่มทางสังคม” ที่ทาหน้าที่
เฉพาะอย่าง ตามการพัฒนาของทุนนิยม เพื่อการแบ่งงานกันทาตามความ
ชานาญและกระบวนการผลิตที่ซับซ้อนมากขึ้น (วิทยากร, อ้างแล้ว)
รากฐานและพัฒนาการของ “ปัญญาชน”
ปัญญาชนไทย เริ่มจากการที่ปัญญาชนได้รับการศึกษาสมัยใหม่จาก
ตะวันตก ตั้งแต่รัชกาลที่ 4 และ 5 ที่พยายามจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ประเทศให้ทันสมัยอย่างตะวันตก (วิทยากร เชียงกูล, 2530)
การเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญคือ ปี 2475 เกิดจากปัญญาชนกลุ่มที่เป็ น
ผลผลิตของการขยายตัวทางการศึกษา และระบบข้าราชการเพื่อการปรับ
ประเทศให้ทันสมัย ปัญญาชนในยุคนี้ เช่น ข้าราชการ นักเขียน นักนสพ.
และมักมีพื้นฐานจากข้าราชการ พ่อค้า เกษตรกรฐานะดี ที่เห็น
ความสาคัญของการเรียนสูง
โดยทั่วไปคนมักเข้าใจว่า “ปัญญาชน” (intellectual) คือ ผู้ที่มี
การศึกษาสูง หรือเป็น “ผู้ที่ใช้แรงงานสมองมากกว่าแรงงานทางฝี มือ”
แต่จริง ๆ แล้วบุคคลที่มีการศึกษาสูงและประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการ
ใช้แรงงานหรือกาลังทางสมองโดยเฉพาะ ไม่จาเป็นเสมอไปว่าจะเป็ น
“ปัญญาชน” และระดับของการศึกษาไม่ใช่เครื่องวัดความเป็นปัญญาชน
(สุรพงษ์ ชัยนาม, 2553)
คนที่มีความรู้ อาจไม่ใช่ “ปัญญาชน”
Intellectual vs Intelligentsia (ส.ศิวลักษณ์, 2512;
วิทยากร เชียงกูล, 2530)
Intellectual (ราชบัณฑิตยสถานแปลว่า “นักพุทธปัญญา”) เรียก
กลุ่มคนที่ประกอบไปด้วยนักเขียน ศิลปิ น นักปรัชญา บางกลุ่มในฝรั่งเศส
ต่อมาคานี้ถูกใช้เรียกคนที่ทาหน้าที่ในการสร้างหล่อหลอม
แพร่กระจายความรู้และความคิด เช่น นักคิด นักเขียน ศิลปิ น ฯลฯ โดย
ไม่รวมถึงข้าราชการ นักวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Intelligentsia
(ราชบัณฑิตยสถานแปลว่า “นักปรีชา”) ใช้เรียกกลุ่มคนที่มีการศึกษาสูงที่
เฉพาะเจาะจงในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก (รัสเซีย เยอรมัน โปแลนด์)
กลุ่มคนดังกล่าวเป็ นพวกที่มีความคิดต้องการเปลี่ยนแปลงสังคม แบบถอน
รากถอนโคน แต่ต่อมาคานี้มีความหมายกว้างขึ้น คือ หมายถึงคนที่มี
การศึกษาสูงที่จะทางานใช้แรงงานสมอง ซึ่งเป็ นกลุ่มคนที่แตกต่างไปจากคนที่
มีการศึกษาต่า หรือทางานใช้แรงงานกายเป็ นส่วนใหญ่ (วิทยากร, 2530)
เป็ นภาษารัสเซีย ที่หมายถึงกลุ่มคนบางกลุ่มในรัสเซียที่มีโอกาสรับวัฒนธรรม
ตะวันตกจากการอ่าน คนเหล่านี้มีมโนธรรมละเอียดอ่อน มีความคิดว่าตน
ควรมีความรับผิดชอบจะต้องช่วยชนชาติเดียวกันที่ยังล้าหลังกว่าตนและ
ได้รับความสุขน้อยกว่าตน (ส.ศิวลักษณ์, 2512)
 ดังนั้น ปัญญาชน คือ นักคิด ผู้มีปัญญา มีกิจกรรมทางปัญญาที่สังคม
เห็นได้ และเป็ นผู้ใช้ปัญญาและวิจารณญาณอย่างอิสระ (ส.ศิวลักษณ์
, 2512)
 ปัญญาชน หมายถึง นักคิดที่ใช้สติปัญญาและวิจารณญาณอย่างมี
อิสระ และมีกิจกรรมทางปัญญาที่สังคมรับรู้ได้ โดยสื่อความคิดของ
พวกเขาผ่านการเขียนหรือการพูด (โสภา ชานะมูล, 2550)
ผู้ที่มีปริญญาหรือ “บัณฑิต” นักศึกษาขั้นมหาวิทยาลัยหรือเทียบเท่า
รวมถึงทหาร ตารวจ ที่ถูกมองว่าเป็นผู้มีความรู้ก็ไม่จาเป็นต้องเป็น
ปัญญาชนทุกคน และปัญญาชนก็ไม่จาเป็นต้องมี (ใบ) ปริญญา (ส.ศิว
ลักษณ์, 2512)
“อาจารย์มหาวิทยาลัยไทยส่วนมากนอกจากจะไม่ใช่นักคิดแล้ว ยังประกอบ
อาชีพนานองเดียวกับช่างฟิต หรือคนขับแท็กซี่ คือ เคยทามาอย่างไรก็ทาไป
อย่างนั้น เคยสอนอย่างไรก็สอนอย่างนั้น ปีแล้วปีเล่าไม่มีการสร้างสรรค์อะไร
ใหม่ ๆ ที่สาคัญคือ ไม่ได้ครุ่นคิดอยู่กับปัญหาต่าง ๆ อันเป็นเรื่องสังคม
วิทยากร หรือสติปัญญา ไม่มีผลงานหรือการแสดงออกใด ๆ ทางความคิดใน
ปัญหาเหล่านั้น มีความเป็นข้าราชการที่ว่านอนสอนง่าย ขาดมันสมอง และ
อิสรภาพในการใช้สมอง ฯลฯ” (ส.ศิวลักษณ์, 2512, 5 – 6)
“บัณฑิต”: ปัญญาชนหรือปริญญาชน
ภาพจาก www.google.com
ปริญญาชน
ศึกษาระดับอุดมศึกษา
ได้รับ “ใบปริญญาบัตร” – ใบเบิกทางแห่งความน่าเชื่อถือ โอกาสทางาน
รายได้สูง
การให้ “ปริญญา” ทาให้สามารถคัดเลือกคนได้ง่ายและรวดเร็ว (ดูจากผล
การเรียน/เกรด)
แต่การได้รับปริญญาก็ไม่ได้แปลว่า ปัญญาชนนั้นเป็ น “ผู้ใช้ปัญญา
ในการดาเนินชีวิต” ดังนั้นคนที่ไม่ได้ปริญญาเขาก็อาจไม่ได้เป็ น
ปัญญาชนหรืออาจเป็ นก็ได้
“ปริญญาชน” VS “ปัญญาชน” (เกรียงศักดิ์, 2541)
ปัญญาชน
เป็นคนที่มุ่งหาปัญญา และรู้จักใช้ปัญญา หรือประยุกต์ใช้ความรู้ให้ถูกคน
และถูกที่
เป็นใครก็ได้ ไม่จาเป็นต้องมีการศึกษาสูง ฐานะดี หรืออาชีพการงานดี
ปริญญาชนอาจเป็นปัญญาชนได้ง่ายกว่าคนที่ไม่ได้เป็ นปริญญาชน
สรุป.....
ปริญญาชน เป็น “สถานะ” / “ป้ ายยี่ห้อ”
ปัญญาชน เป็น “สภาวะ” / “สาระ”
ท่านอยากได้ “ป้ าย” หรืออยากได้ “สาระ”?
 นักสังคมวิทยาสมัยใหม่แบ่งปัญญาชนออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ (ส.ศิวลักษณ์,
2512, 7 – 9)
 1) ปัญญาชนหัวเก่า (Tradition-Oriented) คือ ปัญญาที่มีบทบาทในการ
รักษา สงวนไว้ซึ่งวัฒนธรรมของชาติและเผ่าพันธุ์ ขยายความและเป่ าประกาศ
คุณธรรมนั้นต่อไป
 2) ปัญญาชนหัวใหม่ (Change-Oriented) คือ พวกที่มุ่งเปลี่ยนแปลง
สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากของเก่าไปสู่ของใหม่ หรือ ความคิดใหม่ (ไม่ว่า
จะถูกหรือผิด) ชอบคิดและโฆษณาถึงความคิดใหม่ ๆ เป็ นนิจ ในทัศนะของ
ชาวตะวันตก “ปัญญาชน” คือ บุคคลที่มุ่งเปลี่ยนแปลงสังคม ชอบค้าน และท้าทาย
ความคิดและวิธีการเก่า ๆ
ลักษณะ/ประเภทของ “ปัญญาชน”
ในทางการเมืองการปกครอง ปัญญาชนแบ่งออกตามลักษณะ
แนวคิด อุดมการณ์เป็ น 3 กลุ่ม (วิทยากร, 2530, 27 – 33)
ปัญญาชนก้าวหน้า ปัญญาชนอนุรักษ์นิยม ปัญญาชนเสรีนิยม
1. ปัญญาชนก้าวหน้า
 ต้องการเปลี่ยนแปลงสังคมให้เป็ นประชาธิปไตย ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ
และสังคม มีแนวคิดที่ค่อนไปทางชาตินิยมแบบไม่ฝักใฝ่ ฝายใดและสังคม
นิยม
2. ปัญญาชนอนุรักษ์นิยม
ต้องการการพัฒนาเศรษฐกิจแบบตะวันตก แต่ยังคงรักษาโครงสร้างของ
สังคมการเมืองแบบที่คนกลุ่มน้อยได้เปรียบเอาไว้ มีแนวคิดอนุรักษ์นิยม
และทุนผูกขาด ซึ่งปัญญาชนกลุ่มนี้เป็ นกลุ่มใหญ่ที่สุด
3. ปัญญาชนเสรีนิยม
ต้องการปฏิรูปสังคมให้เป็นประชาธิปไตยก้าวหน้าแบบตะวันตก มีแนวคิด
แบบเสรีนิยมและทุนนิยมแบบปฏิรูป
พระพุทธเจ้าเป็ นปัญญาชนหรือไม่ และ (ถ้าเป็ น) เป็ นปัญญาชนแบบ
ไหน?
วัฒนธรรมส่วนใหญ่ของไทยได้รับอิทธิพลจากปัญญาชนสาคัญคือ
พระพุทธเจ้า ซึ่งสั่งสอนพุทธปรัชญา และคัดค้านระบบสังคมอินเดียและ
ศาสนาฮินดู พระองค์อาจจัดอยู่ในพวก “ปัญญาชนหัวใหม่” ของโลกยุค
สองพันห้าร้อยปี ที่แล้ว (ส.ศิวลักษณ์, 10)
สรุปองค์ประกอบของปัญญาชน พิจารณาจากอุดมการณ์ ปริมณฑลแห่ง
ความคิด (Realm of ideas) และวิถีปฏิบัติ (ส.ศิวลักษณ์,
2512; เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2541; สุรพงษ์ ชัยนาม,
2553)
1. รักการเรียนรู้และประยุกต์ความรู้ – หมั่นหาข้อมูลความรู้ตลอดเวลา
และนาความรู้นั้นมาประยุกต์ใช้
2. ใช้เหตุผลในการคิด รู้จักพิจารณาปัญหาหลัก และมองเห็นถึง
ความสัมพันธ์กับปัญหาอื่น
3. มีคุณธรรม ความดีงาม ความงาม ความรู้ (ด้านศิลปวัฒนธรรม และ
วิทยาการ)
สรุปลักษณะของ “ปัญญาชน”/ บุคคลที่พึงประสงค์
4. สนใจและมีบทบาทต่อการพัฒนาสังคมและบ้านเมือง เข้าไปมี
ส่วนร่วมทาให้สังคมเจริญก้าวหน้า
5. ดาเนินชีวิตอย่างมีเป้ าหมายภายใต้อุดมการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
(เพราะอุดมการณ์ของมนุษย์จะนาไปสู่ความเปลี่ยนแปลง) และนา
ความรู้ ความคิด ความเชี่ยวชาญ ไปปรับใช้ในกิจกรรม (การเมือง
หรือสังคม) เพื่อประโยชน์และความก้าวหน้าของส่วนรวม
6. มีอิสระทางความคิด และดาเนินตามความเชื่อมั่นที่ตนเองยึดถือ
(ต่างจาก “ผู้เชี่ยวชาญ” ในองค์กร/สถาบัน)
7. กล้าท้าทายความคิดและค่านิยมซึ่งเป็ นที่ยอมรับของสังคม
สรุปลักษณะของ “ปัญญาชน” (ต่อ)
บัณฑิต / Bandit: ศีลธรรมของ
ปัญญาชน
บัณฑิต
“ผู้ทรงความรู้ ผู้มีปัญญา นักปราชญ์ ผู้สาเร็จ
การศึกษาขั้นปริญญาตรี” (พจนานุกกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525)
Bandit
“โจร” (มีอาวุธ)
1.2 องค์ประกอบ: คุณธรรม จริยธรรม และ
กระบวนการพัฒนาปัญญาชน
 โจร + บัณฑิต
 “โจรบัณฑิต” เกี่ยวยังไงกับปัญญาชน?
“โจรบัณฑิต”
ร้ายกว่าโจรทั่วไป เพราะอาวุธที่ใช้เป็น “วิชาการ” “สติปัญญา” “เล่ห์
เหลี่ยม” ทาให้ไม่มีใครจับผิดได้ และใช้ปัญญาไปในทางที่ไม่ช่วยสังคม แต่
นาไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง สร้างความเดือดร้อนให้ผู้อื่น
เมื่อวันที่ 20 ก.พ. 2544 หมอวิสุทธิ์ (อดีตสูตินรี
แพทย์) วางแผนลวง พญ.ผัสพร บุญเกษมสันติ ไป
ทานอาหารที่ห้องอาหารโออิชิ โดยหมอวิสุทธิ์ใช้ยา
นอนหลับผสมอาหารและเครื่องดื่มให้ผู้ตายกินจน
ง่วงนอน มึนงง แล้วประคอง พญ.ผัสพรออกจาก
ร้านอาหาร
หมอวิสุทธิ์ได้หน่วงเหนี่ยวกักขัง พญ.ผัสพร
ไว้ที่บ้านพักก่อนจะใช้ของแข็งมีคมทาร้ายร่างกาย
จนเป็นเหตุให้ถึงแก่ความตาย และใช้มีดผ่าตัดแล่
ชิ ้นเนื ้อและอวัยวะต่าง ๆ ก่อนนาศพไปทาลาย
ขณะเดียวกันก็เปิ ดห้องพักที่โรงแรมแล้วได้ยักย้าย
ซ่อนเร้นศพ นาชิ้นเนื้อและอวัยวะต่าง ๆ ไปฝังในที่
ต่าง ๆ เพื่อซ่อนเร้นทาลายศพ ปิ ดบังการตายและ
เหตุแห่งการตาย
สรุปความบางส่วนจาก
ย้อนรอยคดี “นพ.วิสุทธิ์” ฆาตกรรมซ่อนเงื่อนฆ่าหั่นศพเมีย
(โดย ASTVผู้ จัดการออนไลน์, 4 สิงหาคม 2557)
21 ก.พ. 2544 หมอวิสุทธิ์ปลอมหนังสือ
ขอลางานของ พญ.ผัสพร เพื่อเบนความ
สนใจของคนใกล้ชิด แจ้งว่าผู้ตายไปปฏิบัติ
ธรรม และปลอมจดหมายถึงลูกชายและลูก
สาวเพื่อให้หลงเชื่อและเบนความสนใจ
ต่อมาภายหลัง 22 มี.ค. 2544
พนักงานสอบสวนค้นห้องพักพบคราบโลหิตที่
ผ้าม่านและชิ ้นเนื ้อในบ่อพักสิ่งปฏิกูล และ
ทราบว่าหมอวิสุทธิ์เปิ ดโรงแรมอีกแห่งหนึ่ง
และตรวจพบชิ้นเนื้อมนุษย์ในบ่อพักสิ่งปฏิกูล
(ชิ้นเนื้อบริเวณลาตัว ลาไส้ ต้นขาและแขน) ที่
ถูกแล่ด้วยของมีความลักษณะประณีต
เสียชีวิตมาประมาณ 3 – 4 สัปดาห์
ใกล้เคียงกับเวลาที่ผู้ตายหายตัวไป และเชื่อ
ว่าเป็นการฆาตกรรมอาพราง
จากหลักฐานกล้องวงจรปิ ดในร้านอาหาร และหลักฐานต่าง ๆ พร้อมพิรุธใน
จดหมายลางาน เพราะพญ.ผัสพร ไม่ชอบพิมพ์ดีดหรือใช้คอมพิวเตอร์ ทาให้
ในที่สุดจากพยานบุคคลและพยานแวดล้อม รวมถึงผลพิสูจน์ทางนิติ
วิทยาศาสตร์ ทาให้ศาลชั้นต้นตัดสินว่า นพ.วิสุทธิ์ เป็ นผู้ลงมือฆ่าหั่นศพ
ภรรยาตัวเองจริง และมีคาพิพากษาให้ประหารชีวิต โดยให้เหตุผลว่า
“จาเลยเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถสูง ย่อมจะใช้สติยั้งคิดในการ
แก้ปัญหาโดยไม่ใช้วิธีดังกล่าว และเมื่อจาเลยถูกจับกุมก็ยังไม่สานึกผิด ให้
การปฏิเสธต่อสู้คดีตลอดมา จึงไม่มีเหตุผลที่ศาลจะต้องปรานี เห็นควร
ลงโทษสถานหนัก พิพากษาประหารชีวิตจาเลยสถานเดียว”
กระบวนการพัฒนา “หนุ่มสาว” ให้เป็นปัญญาชน (เกรียงศักดิ์, 2541,
63 - 64)
ทาไมต้องเป็น “หนุ่มสาว”?
หนุ่มสาวสามารถรับการปลูกฝังได้ดี และยึดมั่นในอุดมการณ์เหนียวแน่น
หนุ่มสาวรวมกลุ่มกันทาตามอุดมการณ์ได้ง่ายเพราะยังไม่มีภาระทางสังคม
กระบวนการพัฒนาสู่ความเป็ นปัญญาชน
องค์ประกอบ 6 ด้าน แห่งการพัฒนาชีวิตนิสิตนักศึกษา (ปัญญาชน)
(เกรียงศักดิ์, 76 - ….)
องค์ประกอบที่ 1: การเรียน
เรียนอย่างมีเป้ าหมาย
เรียนตรงตามศักยภาพ
เรียนให้รู้ลึกซึ้ง
เรียนอย่างทุ่มเท
เรียนเพื่อช่วยสังคม
องค์ประกอบที่ 2: การเรียนรู้
2.1 รู้จักตนเอง รู้จักผู้อื่น รู้จักสังคม รู้จักโลก
รู้จักตนเอง – หาความหมายของชีวิต รู้จักคุณค่าของตนเอง นับถือตนเอง
รู้จุดอ่อน/แข็งของตัวเอง ต้องการพัฒนาตนเอง
รู้จักผู้อื่น – เห็นคุณค่าของมนุษย์ ให้เกียรติคนอื่น เคารพสิทธิมนุษยชน
และเสรีภาพ ไม่แบ่งชนชั้น
รู้จักสังคม – เรียนรู้สังคมของเรา เรียนรู้ท้องถิ่น เมือง เอกลักษณ์
สังคมไทย ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี การเปลี่ยนแปลงสังคมแต่
ละยุคสมัย
รู้จักโลก – รู้จักเพื่อนบ้าน และประเทศอื่น เข้าใจสถานการณ์โลก
องค์ประกอบที่ 2: การเรียนรู้ (ต่อ)
2.2 เรียนรู้ตลอดชีวิต – เรียนรู้เสมอตั้งแต่เกิดจนตาย
2.3 เรียนรู้เชิงสหวิทยาการ – ต้องเรียนรู้หลายสาขา
องค์ประกอบที่ 3: การพัฒนาทักษะ
ทักษะทางวิชาชีพ – ฝึกฝนในสาขาวิชาที่ตนเรียน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการคิด – ใช้เหตุผล วิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์
ทักษะการพูด – ชัดเจน ตรงประเด็น
ทักษะการอ่าน – จับประเด็น เลือกหนังสือ วิเคราะห์ พัฒนาประสิทธิภาพการ
อ่าน
ทักษะการเขียน – การใช้คา เรียงประโยค ให้เหตุผล
ทักษะการฟัง – ให้เกียรติคนพูด จับประเด็น
ทักษะทางสุนทรียะ – ศิลปะ ดนตรี บทกวี
องค์ประกอบที่ 4: การเข้าร่วมกิจกรรมสังคม
คือ เลือกกิจกรรมนอกหลักสูตร เช่น สมาชิกชมรมต่าง ๆ บนพื้นฐานความ
สนใจ เพราะกิจกรรมที่ทาขณะเรียนจะช่วยสร้างชีวิตในอนาคต
องค์ประกอบที่ 5: การคบเพื่อน
คานึงถึงเป้ าหมายในชีวิต ไม่ควรใช้เวลากับเพื่อนมากจนเสียการเรียน หรือ
ทาตามเพื่อนในทุกเรื่องโดยไม่สนใจความชอบหรือความถนัดของตนเอง
และควรมีเพื่อนเป็นกาลังใจช่วยกันนาไปในทางที่ดี
องค์ประกอบที่ 6: ครอบครัว
รับผิดชอบ ต่อครอบครัวให้ดีที่สุด ทาตามหน้าที่อย่างเต็มที่ในฐานะสมาชิก
ครอบครัว
กตัญญู
การใช้เวลา คือ แบ่งเวลาให้ครอบครัวอย่างสมดุล ติดต่อสื่อสารกันเสมอ
หาโอกาสทากิจกรรมร่วมกัน
งานกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน
ค้นคว้าหาประวัติของผู้ที่นักศึกษาคิดว่าเป็ น “ปัญญาชน” ใน
สังคมไทย มา 1 คน
อธิบายประวัติพอสังเขป
อธิบายว่าเพราะเหตุใดนักศึกษาจึงคิดว่าบุคคลผู้นั้นเป็ นปัญญาชน
อธิบายว่าบุคคลดังกล่าวเป็ นปัญญาชนประเภทใด เพราะเหตุใด
นาเสนอหน้าชั้นเรียน (มีภาพประกอบ) กลุ่มละ 5 – 7 นาที พร้อม
กับพิมพ์และเย็บมุมส่งในชั่วโมงถัดไป
งานกลุ่ม “ใครคือปัญญาชน”?

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยPrachyanun Nilsook
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณPadvee Academy
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdatenonny_taneo
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 

What's hot (20)

บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
 
หน้าต่างเด็กดี
หน้าต่างเด็กดีหน้าต่างเด็กดี
หน้าต่างเด็กดี
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
15 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 115 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 1
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 

Similar to Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน

การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายSomprasong friend Ka Nuamboonlue
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57เกมส์ 'เกมส์'
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านprincess Thirteenpai
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาEkarach Inthajan
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยPoramate Minsiri
 
บุคลิกภาพกัอาชีพ
บุคลิกภาพกัอาชีพบุคลิกภาพกัอาชีพ
บุคลิกภาพกัอาชีพrachanee temkaew
 

Similar to Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน (20)

การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
10
1010
10
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
ภาษากับการคิด
ภาษากับการคิดภาษากับการคิด
ภาษากับการคิด
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
 
World civ
World civ World civ
World civ
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
 
บุคลิกภาพกัอาชีพ
บุคลิกภาพกัอาชีพบุคลิกภาพกัอาชีพ
บุคลิกภาพกัอาชีพ
 

Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน

  • 2.  “ปัญญาชน” คืออะไร?  “ปัญญาชน” มีลักษณะอย่างไร?  รู้ได้อย่างไรว่าใครเป็น “ปัญญาชน” ใคร “ไม่ใช่”?  เราเป็น “ปัญญาชน” หรือเปล่า? คาถามเกี่ยวกับ “ปัญญาชน”
  • 3. “ปัญญาชน” มาจากภาษาอังกฤษว่า intellectual (n) ผู้มีปัญญาสูง ผู้ทางานเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องใช้ปัญญา ผู้ที่มีเหตุผล สูง ผู้ที่ใช้สติปัญญา (แทนการใช้อารมณ์) (พจนานุกรม, 2541) หรือ แปลว่า “ผู้มีความรู้ ความฉลาด อันเกิดจากการเรียนมาก” 1.1 “ปัญญาชน”: ความหมายและข้อถกเถียง
  • 4.  “ปัญญาชน” มีอยู่ในสังคมมานับพันปี สมัยก่อนเราใช้ชื่อเฉพาะอื่น เช่น หมอผี ผู้อาวุโส พระ โหร นักปราชญ์ นักเขียน ศิลปิ น ฯลฯ และมอง คนเหล่านี้ในฐานะ “ปัจเจกชน” มากกว่า “กลุ่มทางสังคม” (Social Group) (วิทยากร เชียงกูล, 2530)  “ปัญญาชน” เริ่มใช้กันในความหมาย “กลุ่มทางสังคม” ที่ทาหน้าที่ เฉพาะอย่าง ตามการพัฒนาของทุนนิยม เพื่อการแบ่งงานกันทาตามความ ชานาญและกระบวนการผลิตที่ซับซ้อนมากขึ้น (วิทยากร, อ้างแล้ว) รากฐานและพัฒนาการของ “ปัญญาชน”
  • 5. ปัญญาชนไทย เริ่มจากการที่ปัญญาชนได้รับการศึกษาสมัยใหม่จาก ตะวันตก ตั้งแต่รัชกาลที่ 4 และ 5 ที่พยายามจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ประเทศให้ทันสมัยอย่างตะวันตก (วิทยากร เชียงกูล, 2530) การเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญคือ ปี 2475 เกิดจากปัญญาชนกลุ่มที่เป็ น ผลผลิตของการขยายตัวทางการศึกษา และระบบข้าราชการเพื่อการปรับ ประเทศให้ทันสมัย ปัญญาชนในยุคนี้ เช่น ข้าราชการ นักเขียน นักนสพ. และมักมีพื้นฐานจากข้าราชการ พ่อค้า เกษตรกรฐานะดี ที่เห็น ความสาคัญของการเรียนสูง
  • 6. โดยทั่วไปคนมักเข้าใจว่า “ปัญญาชน” (intellectual) คือ ผู้ที่มี การศึกษาสูง หรือเป็น “ผู้ที่ใช้แรงงานสมองมากกว่าแรงงานทางฝี มือ” แต่จริง ๆ แล้วบุคคลที่มีการศึกษาสูงและประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการ ใช้แรงงานหรือกาลังทางสมองโดยเฉพาะ ไม่จาเป็นเสมอไปว่าจะเป็ น “ปัญญาชน” และระดับของการศึกษาไม่ใช่เครื่องวัดความเป็นปัญญาชน (สุรพงษ์ ชัยนาม, 2553) คนที่มีความรู้ อาจไม่ใช่ “ปัญญาชน”
  • 7. Intellectual vs Intelligentsia (ส.ศิวลักษณ์, 2512; วิทยากร เชียงกูล, 2530) Intellectual (ราชบัณฑิตยสถานแปลว่า “นักพุทธปัญญา”) เรียก กลุ่มคนที่ประกอบไปด้วยนักเขียน ศิลปิ น นักปรัชญา บางกลุ่มในฝรั่งเศส ต่อมาคานี้ถูกใช้เรียกคนที่ทาหน้าที่ในการสร้างหล่อหลอม แพร่กระจายความรู้และความคิด เช่น นักคิด นักเขียน ศิลปิ น ฯลฯ โดย ไม่รวมถึงข้าราชการ นักวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 8. Intelligentsia (ราชบัณฑิตยสถานแปลว่า “นักปรีชา”) ใช้เรียกกลุ่มคนที่มีการศึกษาสูงที่ เฉพาะเจาะจงในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก (รัสเซีย เยอรมัน โปแลนด์) กลุ่มคนดังกล่าวเป็ นพวกที่มีความคิดต้องการเปลี่ยนแปลงสังคม แบบถอน รากถอนโคน แต่ต่อมาคานี้มีความหมายกว้างขึ้น คือ หมายถึงคนที่มี การศึกษาสูงที่จะทางานใช้แรงงานสมอง ซึ่งเป็ นกลุ่มคนที่แตกต่างไปจากคนที่ มีการศึกษาต่า หรือทางานใช้แรงงานกายเป็ นส่วนใหญ่ (วิทยากร, 2530) เป็ นภาษารัสเซีย ที่หมายถึงกลุ่มคนบางกลุ่มในรัสเซียที่มีโอกาสรับวัฒนธรรม ตะวันตกจากการอ่าน คนเหล่านี้มีมโนธรรมละเอียดอ่อน มีความคิดว่าตน ควรมีความรับผิดชอบจะต้องช่วยชนชาติเดียวกันที่ยังล้าหลังกว่าตนและ ได้รับความสุขน้อยกว่าตน (ส.ศิวลักษณ์, 2512)
  • 9.  ดังนั้น ปัญญาชน คือ นักคิด ผู้มีปัญญา มีกิจกรรมทางปัญญาที่สังคม เห็นได้ และเป็ นผู้ใช้ปัญญาและวิจารณญาณอย่างอิสระ (ส.ศิวลักษณ์ , 2512)  ปัญญาชน หมายถึง นักคิดที่ใช้สติปัญญาและวิจารณญาณอย่างมี อิสระ และมีกิจกรรมทางปัญญาที่สังคมรับรู้ได้ โดยสื่อความคิดของ พวกเขาผ่านการเขียนหรือการพูด (โสภา ชานะมูล, 2550)
  • 10. ผู้ที่มีปริญญาหรือ “บัณฑิต” นักศึกษาขั้นมหาวิทยาลัยหรือเทียบเท่า รวมถึงทหาร ตารวจ ที่ถูกมองว่าเป็นผู้มีความรู้ก็ไม่จาเป็นต้องเป็น ปัญญาชนทุกคน และปัญญาชนก็ไม่จาเป็นต้องมี (ใบ) ปริญญา (ส.ศิว ลักษณ์, 2512)
  • 11. “อาจารย์มหาวิทยาลัยไทยส่วนมากนอกจากจะไม่ใช่นักคิดแล้ว ยังประกอบ อาชีพนานองเดียวกับช่างฟิต หรือคนขับแท็กซี่ คือ เคยทามาอย่างไรก็ทาไป อย่างนั้น เคยสอนอย่างไรก็สอนอย่างนั้น ปีแล้วปีเล่าไม่มีการสร้างสรรค์อะไร ใหม่ ๆ ที่สาคัญคือ ไม่ได้ครุ่นคิดอยู่กับปัญหาต่าง ๆ อันเป็นเรื่องสังคม วิทยากร หรือสติปัญญา ไม่มีผลงานหรือการแสดงออกใด ๆ ทางความคิดใน ปัญหาเหล่านั้น มีความเป็นข้าราชการที่ว่านอนสอนง่าย ขาดมันสมอง และ อิสรภาพในการใช้สมอง ฯลฯ” (ส.ศิวลักษณ์, 2512, 5 – 6)
  • 13. ปริญญาชน ศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้รับ “ใบปริญญาบัตร” – ใบเบิกทางแห่งความน่าเชื่อถือ โอกาสทางาน รายได้สูง การให้ “ปริญญา” ทาให้สามารถคัดเลือกคนได้ง่ายและรวดเร็ว (ดูจากผล การเรียน/เกรด) แต่การได้รับปริญญาก็ไม่ได้แปลว่า ปัญญาชนนั้นเป็ น “ผู้ใช้ปัญญา ในการดาเนินชีวิต” ดังนั้นคนที่ไม่ได้ปริญญาเขาก็อาจไม่ได้เป็ น ปัญญาชนหรืออาจเป็ นก็ได้ “ปริญญาชน” VS “ปัญญาชน” (เกรียงศักดิ์, 2541)
  • 14. ปัญญาชน เป็นคนที่มุ่งหาปัญญา และรู้จักใช้ปัญญา หรือประยุกต์ใช้ความรู้ให้ถูกคน และถูกที่ เป็นใครก็ได้ ไม่จาเป็นต้องมีการศึกษาสูง ฐานะดี หรืออาชีพการงานดี ปริญญาชนอาจเป็นปัญญาชนได้ง่ายกว่าคนที่ไม่ได้เป็ นปริญญาชน
  • 15. สรุป..... ปริญญาชน เป็น “สถานะ” / “ป้ ายยี่ห้อ” ปัญญาชน เป็น “สภาวะ” / “สาระ” ท่านอยากได้ “ป้ าย” หรืออยากได้ “สาระ”?
  • 16.  นักสังคมวิทยาสมัยใหม่แบ่งปัญญาชนออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ (ส.ศิวลักษณ์, 2512, 7 – 9)  1) ปัญญาชนหัวเก่า (Tradition-Oriented) คือ ปัญญาที่มีบทบาทในการ รักษา สงวนไว้ซึ่งวัฒนธรรมของชาติและเผ่าพันธุ์ ขยายความและเป่ าประกาศ คุณธรรมนั้นต่อไป  2) ปัญญาชนหัวใหม่ (Change-Oriented) คือ พวกที่มุ่งเปลี่ยนแปลง สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากของเก่าไปสู่ของใหม่ หรือ ความคิดใหม่ (ไม่ว่า จะถูกหรือผิด) ชอบคิดและโฆษณาถึงความคิดใหม่ ๆ เป็ นนิจ ในทัศนะของ ชาวตะวันตก “ปัญญาชน” คือ บุคคลที่มุ่งเปลี่ยนแปลงสังคม ชอบค้าน และท้าทาย ความคิดและวิธีการเก่า ๆ ลักษณะ/ประเภทของ “ปัญญาชน”
  • 17. ในทางการเมืองการปกครอง ปัญญาชนแบ่งออกตามลักษณะ แนวคิด อุดมการณ์เป็ น 3 กลุ่ม (วิทยากร, 2530, 27 – 33) ปัญญาชนก้าวหน้า ปัญญาชนอนุรักษ์นิยม ปัญญาชนเสรีนิยม 1. ปัญญาชนก้าวหน้า  ต้องการเปลี่ยนแปลงสังคมให้เป็ นประชาธิปไตย ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม มีแนวคิดที่ค่อนไปทางชาตินิยมแบบไม่ฝักใฝ่ ฝายใดและสังคม นิยม
  • 18. 2. ปัญญาชนอนุรักษ์นิยม ต้องการการพัฒนาเศรษฐกิจแบบตะวันตก แต่ยังคงรักษาโครงสร้างของ สังคมการเมืองแบบที่คนกลุ่มน้อยได้เปรียบเอาไว้ มีแนวคิดอนุรักษ์นิยม และทุนผูกขาด ซึ่งปัญญาชนกลุ่มนี้เป็ นกลุ่มใหญ่ที่สุด 3. ปัญญาชนเสรีนิยม ต้องการปฏิรูปสังคมให้เป็นประชาธิปไตยก้าวหน้าแบบตะวันตก มีแนวคิด แบบเสรีนิยมและทุนนิยมแบบปฏิรูป
  • 19. พระพุทธเจ้าเป็ นปัญญาชนหรือไม่ และ (ถ้าเป็ น) เป็ นปัญญาชนแบบ ไหน?
  • 20. วัฒนธรรมส่วนใหญ่ของไทยได้รับอิทธิพลจากปัญญาชนสาคัญคือ พระพุทธเจ้า ซึ่งสั่งสอนพุทธปรัชญา และคัดค้านระบบสังคมอินเดียและ ศาสนาฮินดู พระองค์อาจจัดอยู่ในพวก “ปัญญาชนหัวใหม่” ของโลกยุค สองพันห้าร้อยปี ที่แล้ว (ส.ศิวลักษณ์, 10)
  • 21. สรุปองค์ประกอบของปัญญาชน พิจารณาจากอุดมการณ์ ปริมณฑลแห่ง ความคิด (Realm of ideas) และวิถีปฏิบัติ (ส.ศิวลักษณ์, 2512; เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2541; สุรพงษ์ ชัยนาม, 2553) 1. รักการเรียนรู้และประยุกต์ความรู้ – หมั่นหาข้อมูลความรู้ตลอดเวลา และนาความรู้นั้นมาประยุกต์ใช้ 2. ใช้เหตุผลในการคิด รู้จักพิจารณาปัญหาหลัก และมองเห็นถึง ความสัมพันธ์กับปัญหาอื่น 3. มีคุณธรรม ความดีงาม ความงาม ความรู้ (ด้านศิลปวัฒนธรรม และ วิทยาการ) สรุปลักษณะของ “ปัญญาชน”/ บุคคลที่พึงประสงค์
  • 22. 4. สนใจและมีบทบาทต่อการพัฒนาสังคมและบ้านเมือง เข้าไปมี ส่วนร่วมทาให้สังคมเจริญก้าวหน้า 5. ดาเนินชีวิตอย่างมีเป้ าหมายภายใต้อุดมการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง (เพราะอุดมการณ์ของมนุษย์จะนาไปสู่ความเปลี่ยนแปลง) และนา ความรู้ ความคิด ความเชี่ยวชาญ ไปปรับใช้ในกิจกรรม (การเมือง หรือสังคม) เพื่อประโยชน์และความก้าวหน้าของส่วนรวม 6. มีอิสระทางความคิด และดาเนินตามความเชื่อมั่นที่ตนเองยึดถือ (ต่างจาก “ผู้เชี่ยวชาญ” ในองค์กร/สถาบัน) 7. กล้าท้าทายความคิดและค่านิยมซึ่งเป็ นที่ยอมรับของสังคม สรุปลักษณะของ “ปัญญาชน” (ต่อ)
  • 23. บัณฑิต / Bandit: ศีลธรรมของ ปัญญาชน บัณฑิต “ผู้ทรงความรู้ ผู้มีปัญญา นักปราชญ์ ผู้สาเร็จ การศึกษาขั้นปริญญาตรี” (พจนานุกกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525) Bandit “โจร” (มีอาวุธ) 1.2 องค์ประกอบ: คุณธรรม จริยธรรม และ กระบวนการพัฒนาปัญญาชน
  • 24.  โจร + บัณฑิต  “โจรบัณฑิต” เกี่ยวยังไงกับปัญญาชน?
  • 25. “โจรบัณฑิต” ร้ายกว่าโจรทั่วไป เพราะอาวุธที่ใช้เป็น “วิชาการ” “สติปัญญา” “เล่ห์ เหลี่ยม” ทาให้ไม่มีใครจับผิดได้ และใช้ปัญญาไปในทางที่ไม่ช่วยสังคม แต่ นาไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง สร้างความเดือดร้อนให้ผู้อื่น
  • 26. เมื่อวันที่ 20 ก.พ. 2544 หมอวิสุทธิ์ (อดีตสูตินรี แพทย์) วางแผนลวง พญ.ผัสพร บุญเกษมสันติ ไป ทานอาหารที่ห้องอาหารโออิชิ โดยหมอวิสุทธิ์ใช้ยา นอนหลับผสมอาหารและเครื่องดื่มให้ผู้ตายกินจน ง่วงนอน มึนงง แล้วประคอง พญ.ผัสพรออกจาก ร้านอาหาร หมอวิสุทธิ์ได้หน่วงเหนี่ยวกักขัง พญ.ผัสพร ไว้ที่บ้านพักก่อนจะใช้ของแข็งมีคมทาร้ายร่างกาย จนเป็นเหตุให้ถึงแก่ความตาย และใช้มีดผ่าตัดแล่ ชิ ้นเนื ้อและอวัยวะต่าง ๆ ก่อนนาศพไปทาลาย ขณะเดียวกันก็เปิ ดห้องพักที่โรงแรมแล้วได้ยักย้าย ซ่อนเร้นศพ นาชิ้นเนื้อและอวัยวะต่าง ๆ ไปฝังในที่ ต่าง ๆ เพื่อซ่อนเร้นทาลายศพ ปิ ดบังการตายและ เหตุแห่งการตาย สรุปความบางส่วนจาก ย้อนรอยคดี “นพ.วิสุทธิ์” ฆาตกรรมซ่อนเงื่อนฆ่าหั่นศพเมีย (โดย ASTVผู้ จัดการออนไลน์, 4 สิงหาคม 2557)
  • 27. 21 ก.พ. 2544 หมอวิสุทธิ์ปลอมหนังสือ ขอลางานของ พญ.ผัสพร เพื่อเบนความ สนใจของคนใกล้ชิด แจ้งว่าผู้ตายไปปฏิบัติ ธรรม และปลอมจดหมายถึงลูกชายและลูก สาวเพื่อให้หลงเชื่อและเบนความสนใจ ต่อมาภายหลัง 22 มี.ค. 2544 พนักงานสอบสวนค้นห้องพักพบคราบโลหิตที่ ผ้าม่านและชิ ้นเนื ้อในบ่อพักสิ่งปฏิกูล และ ทราบว่าหมอวิสุทธิ์เปิ ดโรงแรมอีกแห่งหนึ่ง และตรวจพบชิ้นเนื้อมนุษย์ในบ่อพักสิ่งปฏิกูล (ชิ้นเนื้อบริเวณลาตัว ลาไส้ ต้นขาและแขน) ที่ ถูกแล่ด้วยของมีความลักษณะประณีต เสียชีวิตมาประมาณ 3 – 4 สัปดาห์ ใกล้เคียงกับเวลาที่ผู้ตายหายตัวไป และเชื่อ ว่าเป็นการฆาตกรรมอาพราง
  • 28. จากหลักฐานกล้องวงจรปิ ดในร้านอาหาร และหลักฐานต่าง ๆ พร้อมพิรุธใน จดหมายลางาน เพราะพญ.ผัสพร ไม่ชอบพิมพ์ดีดหรือใช้คอมพิวเตอร์ ทาให้ ในที่สุดจากพยานบุคคลและพยานแวดล้อม รวมถึงผลพิสูจน์ทางนิติ วิทยาศาสตร์ ทาให้ศาลชั้นต้นตัดสินว่า นพ.วิสุทธิ์ เป็ นผู้ลงมือฆ่าหั่นศพ ภรรยาตัวเองจริง และมีคาพิพากษาให้ประหารชีวิต โดยให้เหตุผลว่า “จาเลยเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถสูง ย่อมจะใช้สติยั้งคิดในการ แก้ปัญหาโดยไม่ใช้วิธีดังกล่าว และเมื่อจาเลยถูกจับกุมก็ยังไม่สานึกผิด ให้ การปฏิเสธต่อสู้คดีตลอดมา จึงไม่มีเหตุผลที่ศาลจะต้องปรานี เห็นควร ลงโทษสถานหนัก พิพากษาประหารชีวิตจาเลยสถานเดียว”
  • 29. กระบวนการพัฒนา “หนุ่มสาว” ให้เป็นปัญญาชน (เกรียงศักดิ์, 2541, 63 - 64) ทาไมต้องเป็น “หนุ่มสาว”? หนุ่มสาวสามารถรับการปลูกฝังได้ดี และยึดมั่นในอุดมการณ์เหนียวแน่น หนุ่มสาวรวมกลุ่มกันทาตามอุดมการณ์ได้ง่ายเพราะยังไม่มีภาระทางสังคม กระบวนการพัฒนาสู่ความเป็ นปัญญาชน
  • 30. องค์ประกอบ 6 ด้าน แห่งการพัฒนาชีวิตนิสิตนักศึกษา (ปัญญาชน) (เกรียงศักดิ์, 76 - ….) องค์ประกอบที่ 1: การเรียน เรียนอย่างมีเป้ าหมาย เรียนตรงตามศักยภาพ เรียนให้รู้ลึกซึ้ง เรียนอย่างทุ่มเท เรียนเพื่อช่วยสังคม
  • 31. องค์ประกอบที่ 2: การเรียนรู้ 2.1 รู้จักตนเอง รู้จักผู้อื่น รู้จักสังคม รู้จักโลก รู้จักตนเอง – หาความหมายของชีวิต รู้จักคุณค่าของตนเอง นับถือตนเอง รู้จุดอ่อน/แข็งของตัวเอง ต้องการพัฒนาตนเอง รู้จักผู้อื่น – เห็นคุณค่าของมนุษย์ ให้เกียรติคนอื่น เคารพสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพ ไม่แบ่งชนชั้น รู้จักสังคม – เรียนรู้สังคมของเรา เรียนรู้ท้องถิ่น เมือง เอกลักษณ์ สังคมไทย ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี การเปลี่ยนแปลงสังคมแต่ ละยุคสมัย รู้จักโลก – รู้จักเพื่อนบ้าน และประเทศอื่น เข้าใจสถานการณ์โลก
  • 32. องค์ประกอบที่ 2: การเรียนรู้ (ต่อ) 2.2 เรียนรู้ตลอดชีวิต – เรียนรู้เสมอตั้งแต่เกิดจนตาย 2.3 เรียนรู้เชิงสหวิทยาการ – ต้องเรียนรู้หลายสาขา
  • 33. องค์ประกอบที่ 3: การพัฒนาทักษะ ทักษะทางวิชาชีพ – ฝึกฝนในสาขาวิชาที่ตนเรียน ทักษะการสื่อสาร ทักษะการคิด – ใช้เหตุผล วิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ ทักษะการพูด – ชัดเจน ตรงประเด็น ทักษะการอ่าน – จับประเด็น เลือกหนังสือ วิเคราะห์ พัฒนาประสิทธิภาพการ อ่าน ทักษะการเขียน – การใช้คา เรียงประโยค ให้เหตุผล ทักษะการฟัง – ให้เกียรติคนพูด จับประเด็น ทักษะทางสุนทรียะ – ศิลปะ ดนตรี บทกวี
  • 34. องค์ประกอบที่ 4: การเข้าร่วมกิจกรรมสังคม คือ เลือกกิจกรรมนอกหลักสูตร เช่น สมาชิกชมรมต่าง ๆ บนพื้นฐานความ สนใจ เพราะกิจกรรมที่ทาขณะเรียนจะช่วยสร้างชีวิตในอนาคต องค์ประกอบที่ 5: การคบเพื่อน คานึงถึงเป้ าหมายในชีวิต ไม่ควรใช้เวลากับเพื่อนมากจนเสียการเรียน หรือ ทาตามเพื่อนในทุกเรื่องโดยไม่สนใจความชอบหรือความถนัดของตนเอง และควรมีเพื่อนเป็นกาลังใจช่วยกันนาไปในทางที่ดี
  • 35. องค์ประกอบที่ 6: ครอบครัว รับผิดชอบ ต่อครอบครัวให้ดีที่สุด ทาตามหน้าที่อย่างเต็มที่ในฐานะสมาชิก ครอบครัว กตัญญู การใช้เวลา คือ แบ่งเวลาให้ครอบครัวอย่างสมดุล ติดต่อสื่อสารกันเสมอ หาโอกาสทากิจกรรมร่วมกัน
  • 36. งานกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน ค้นคว้าหาประวัติของผู้ที่นักศึกษาคิดว่าเป็ น “ปัญญาชน” ใน สังคมไทย มา 1 คน อธิบายประวัติพอสังเขป อธิบายว่าเพราะเหตุใดนักศึกษาจึงคิดว่าบุคคลผู้นั้นเป็ นปัญญาชน อธิบายว่าบุคคลดังกล่าวเป็ นปัญญาชนประเภทใด เพราะเหตุใด นาเสนอหน้าชั้นเรียน (มีภาพประกอบ) กลุ่มละ 5 – 7 นาที พร้อม กับพิมพ์และเย็บมุมส่งในชั่วโมงถัดไป งานกลุ่ม “ใครคือปัญญาชน”?