SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
การเขียนเรียงความ มัธยมศึกษาปีที่ ๑
ลักษณะของเรียงความ มีเอกภาพ คือ ความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน มีสารัตถภาพ คือ มีเนื้อหาสาระ ข้อมูล ตัวอย่างครบถ้วน มีสัมพันธภาพ คือ มีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน ตลอดทั้งเรื่อง
แนวทางการเขียนเรียงความ เพื่อความรู้   เพื่อความเข้าใจ   เพื่อโน้มน้าวใจ   ๑ . ๑ กลุ่มผู้อ่าน  ๑ . ๒ ลักษณะ เฉพาะของเรื่อง  ๑ . ๓ เวลา  ๑ . ๔ โอกาส   เขียนเป็น   ผังมโนภาพ เขียนเป็นหัวข้อ เลือกเรื่อง ตั้งจุดมุ่งหมาย วางโครงเรื่อง
แนวทางการเขียนเรียงความ ตามเวลา ตามสถานที่ ตามความสำคัญ  ตามเหตุผล มีเอกภาพ มีสัมพันธภาพ มีสารัตถภาพ ถูกหลักภาษา ไม่ใช้ภาษาพูด  หรือสแลง เลี่ยงศัพท์ยาก กระชับ ย่อหน้า การเชื่อมโยง สำนวนภาษา
[object Object],เอกภาพ สารัตถภาพ สัมพันธภาพในเรียงความ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
องค์ประกอบของเรียงความมีอะไรบ้างเอ่ย ? ลักษณะของเรียงความที่ดีเป็นอย่างไร ?
องค์ประกอบของเรียงความ ได้แก่  คำนำ  เนื้อเรื่อง และสรุป มาเรียนรู้วิธีเขียน ในแต่ละส่วนกันเถอะ
๑ .  ส่วนคำนำ เป็นส่วนที่แสดง ประเด็นหลัก หรือ จุดประสงค์ ของเรื่อง ดังนั้น ส่วนนำจึงเป็นการบอกผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาที่นำเสนอและยังเป็นการ เร้าความสนใจให้อยากอ่าน เรื่องจนจบ การเขียนส่วนนำเพื่อเร้าความสนใจนั้นมีหลายวิธี แล้วแต่ผู้เขียนจะเลือกตามความเหมาะสม
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๑  การเขียนคำนำโดยยกสำนวน สุภาษิต คำพังเพย  หรือบทกวีที่เกี่ยวข้อง เรื่อง ระลึกพระคุณครู พระคุณหนาหนักเพี้ยง พสุธา คุณบิดรดุจอา - กาศกว้าง คุณพี่พ่างศิขรา เมรุมาศ คุณพระอาจารย์อ้าง อาจสู้สาคร
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๒  การเขียนคำนำโดยการอธิบายความหมายของเรื่อง เรื่อง สิ่งเสพติด สิ่งเสพติดคือสารที่เข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยการสูบ ฉีด  ในช่วงระยะเวลาหนึ่งแล้วจะมีผลต่อร่างกายและจิตใจ ทำให้มี ความต้องการสารนั้นในปริมาณเพิ่มมากขึ้น เมื่อไม่ได้ก็จะเกิด อาการทุรนทุราย แต่เมื่อได้รับสารและเสพนานเข้าจะทำให้เกิด โรคต่างๆ จนอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ...”
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๓  การเขียนคำนำโดยการายกคำกล่าวของบุคคลสำคัญ   เรื่อง ครู ไทยเราเคารพยกย่องครูมาก สงเคราะห์ครูเข้ามาเป็นบุพการี รองจากบิดามารดา แม้มียศศักดิ์อำนาจเพียงใด ก็ยังยำเกรงเชื่อฟัง ครู ไม่ลบหลู่ ไม่ลืมครูเพราะเราถือว่าครูเป็นผู้ปลูกฝังทั้งความรู้และ ความดีให้แก่เรา เป็นผู้ปั้นเราให้เป็นคนดี มีประโยชน์ ( พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว )
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๔  การเขียนคำนำด้วยการพรรณนาความ เรื่อง สวรรค์สุขาวดี “ เดือนสิบสองน้ำทรง เจิ่งไปในท้องทุ่ง บางแห่งสลอนสล้างไป ด้วยดอกบัวดาดาษ ยืนดูไปพลางนึกไปว่าที่คนโบราณเขานึกสร้าง สวรรค์สุขาวดีขึ้นมา ก็เห็นจะเป็นด้วยเขามองเห็นดอกบัวบานสะพรั่ง อยู่ในที่อันงดงามคล้ายๆ กับที่เรายืนมองเห็นนี้เอง อันที่จริงสถานที่นั้น ก็ไม่งามเท่าไรนัก เป็นแต่มีต้นไม้ใหญ่ทอดกิ่งเกะกะอยู่สามต้น ทำให้ ตรงนั้นคล้ายสระ แต่น้ำนั้นเจิ่งใสแจ๋วเหมือนตาตั๊กแตนแน่นิ่ง ...”
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๕  การเขียนคำนำด้วยคำถาม หรือปัญหาที่น่าสนใจ ปัญหาเรื่องการใช้ชีวิตคู่ก่อนสมรส กำลังเป็นปัญหาใหม่ ทำอย่างไรจึงจะทำให้เยาวชนได้รู้เท่าทัน
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๖  การเขียนคำนำด้วยการสรุปความสำคัญ คือบอก จุดมุ่งหมายอย่างย่อที่สุดแล้วจึงขยายความในส่วนของเนื้อเรื่อง เรื่อง ไม้งามนามพุทธรักษา ความสวยสง่าบนช่อชะลูด ไม้ประดับดอกงาม นามมงคล หลากสีสัน ชูช่อสง่า ผ่าเผย ขึ้นง่าย ตายยาก แก้หิวก็ได้ รักษาโรคก็ดี คุณลักษณะ พิเศษเหล่านี้มีอยู่พร้อมสรรพใน  “ พุทธรักษา ”  ไม้ดีที่กำลัง ถูกลืม
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๗  การเขียนคำนำด้วยสิ่งที่จะกล่าวถึงในเนื้อเรื่องเพื่อ ให้ผู้อ่านทราบความประสงค์ของเรื่อง   เรื่อง เสน่ห์ขนมไทย ไฉไลชวนมอง ทองเอก ทองหยอด ทองหยิบ ฝอยทอง สังขยา บ้าบิ่น  น้ำดอกไม้ ลูกชุบ เสน่ห์จันทร์ เพียงได้เห็นหรือได้ยินชื่อเหล่านี้  ต่อมน้ำลายของใครบางคนคงเริ่มทำงานกันบ้างแล้ว ขนมเหล่านี้ไม่ เพียงแต่ให้ความหวาน มัน และหอมหวนชวนใส่ปาก รูปลักษณ์ และสีสันของมันยังดึงดูดอย่างยากจะปฏิเสธ
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๘  การเขียนคำนำโดยการจู่โจมให้ผู้อ่านเกิดความ แปลกประหลาดใจ หรือสนใจ เรื่อง ฉันคือใคร ตัวฉันมีชื่อ  เลื่องลือหนักหนา  เอ่ยชื่อคนผวา   เพราะฤทธามากมี จากฉันเพียงหนึ่ง  ไม่ทันถึงปี  สมุนฉันทวี  เพิ่มขึ้นฉับไว คนเสพติดยา  ลักเพศส่วนใหญ่  ติดเชื้อฉันไซร้  เป็นพรรคพวกทันที อาศัยในโลหิต  ทั้งน้ำลายอสุจิ  ใครลองติดซี  ชีวีบรรลัย เพื่อนทราบหรือไม่   ตัวฉันคือใคร  ฉันจะเฉลยให้  เอดส์ ... ไงล่ะครับ
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๙  การเขียนคำนำที่บอดเจตนาหรือจุดประสงค์ เรื่อง ข้าพเจ้าจะหลีกเลี่ยงการเป็นโรคเอดส์ได้อย่างไร เอดส์ ... เป็นโรคร้ายที่คนส่วนใหญ่รู้จักและหวาดวิตก เพราะ เมื่อเป็นแล้วไม่มีทางรักษาให้หายได้ จากข่าวสารในสื่อมวลชนได้ บอกให้ทราบว่า มีผู้ป่วยเป็นโรคเอดส์เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว  แม้แต่ซากที่เพิ่งคลอดก็ยังเป็นเอดส์ เอดส์จึงเป็นปัญหาสำคัญที่ ทำให้ทุกคนต้องร่วมมือแก้ไข เพื่อไม่ให้เอดส์แพร่ระบาดอีกต่อไป  ซึ่งวิธีการแก้ไขที่ดีที่สุดก็คือการป้องกันหรือการหลีกเลี่ยงนั่นเอง
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๑๐  การเขียนคำนำที่ใช้ขัดความ   เรื่อง ลักษณะนางงาม สมัยนี้ คนทั้งบ้านทั้งเมืองกำลังฝืนคำพังเพยที่ว่า  “ ดูช้าง ให้ดูหน้าหนาว ดูสาวให้ดูหน้าร้อน ”  คือหน้าหนาวแทนที่เราจะดู ช้างเรากลับดูสาว บางทีจะเป็นด้วยหน้าหนาวสมัยนี้ไม่มีช้างจะให้ดู  จึงต้องดูสาว นับตั้งแต่คุณกันยา เทียนสว่าง  ( นางสาวไทยคนแรก ของไทย )  เป็นต้นมา จนกระทั่งต่อไปข้างหน้าอาจจะเป็นคุณธันวา  นีออนไสว อะไรเรื่อยไปทุกปี ตกว่าถึงหน้าหนาวคราวหนึ่งๆ ก็จะ ได้ดูสาวกันทีหนึ่ง ซึ่งความจริงก็ดีกว่าดูช้างมาก
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๑๑  การเขียนคำนำที่บอกถึงแรงบันดาลใจ   เรื่อง น้ำใจของผู้มีแต่น้ำใจ ภาพชีวิตที่ข้าพเจ้าได้เห็นวันนั้น เป็นภาพที่ทำให้ข้าพเจ้าต้องสะเทือนอารมณ์ อย่างจับใจ คือภาพของหญิงชรากับหนุ่มน้อยเดินจูงมือกันข้ามถนน แทนที่หนุ่มน้อย จะเป็นผู้จูงมือหญิงชรา กลับเป็นว่าหญิงชราจูงมือหนุ่มน้อย ชีวิตจริงบางครั้งก็กลับเล่น ตลกยิ่งกว่านิยายเป็นทำนองนี้ ชีวิตที่ต้องการความช่วยเหลือ แต่ผู้ที่จะมาให้ความช่วย เหลือกลับอยู่ในฐานะที่ควรจะได้รับความช่วยเหลือเช่นเดียวกัน ตอนแรกข้าพเจ้านึก ตำหนิหนุ่มน้อยอยู่ในใจ แต่เมื่อรู้ความจริงก็กลับเกิดความรู้สึกขึ้นมาใหม่ เพราะหนุ่ม น้อยนั้นตาบอดสนิททั้งสองข้างภาพชีวิตนี้เป็นแรงบันดาลใจให้ข้าพเจ้าเขียนเรื่อง  “ น้ำใจของผู้มีน้ำใจ ”  ขึ้น
๒ .  ส่วนเนื้อเรื่อง มีเพียง หนึ่งย่อหน้า หนึ่งใจความสำคัญ
ก่อนเขียนเรียงความ  มาหัดเขียนโครงเรื่องก่อนนะจ๊ะ!!
โครงเรื่องเขียนอย่างไรนะ ? การวางโครงเรื่อง  :  ครอบครัวที่อบอุ่นของฉัน คำนำ -  การอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มของสังคมมนุษย์ เนื้อเรื่อง -  บทบาทของครอบครัวที่มีต่อสังคม -   ครอบครัวที่อบอุ่นของฉัน สรุป -  เชิญชวนให้สร้างครอบครัวให้มีความสุข
โครงเรื่องเขียนอย่างไรนะ ? การวางโครงเรื่อง  :  ประสบการณ์ที่ประทับใจ คำนำ -  ความสำคัญของประสบการณ์ เนื้อเรื่อง -  สาเหตุของการได้รับประสบการณ์ที่ประทับใจ -   เหตุการณ์ที่ได้ประสบมา -   ผลที่ได้รับจากประสบการณ์ สรุป -  ความรู้สึกหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประสบการณ์   นั้นๆ
๓ .  ส่วนสรุป เป็นส่วนที่บอกผู้อ่านว่าเรื่องราวที่เสนอมานั้น ได้สิ้นสุดลงแล้ว วิธีการเขียนส่วนท้ายมีด้วยกัน หลายวิธี ดังนี้
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๓ . ๑  สรุปแบบฝากข้อคิดเห็น ทิ้งท้ายด้วยคำถาม   เคราะห์กรรมทั้งหลายอันเกิดกับญาติพี่น้องและ ลูกหลานของผู้คนในบ้านเมืองของเรา อันเกิดจากความ อำมหิตมักได้ของผู้ผลิตและผู้ค้ายาเสพติดเหล่านี้ เป็นสิ่ง สมควรหรือไม่ กับคำว่า  “ วิสามัญฆาตกรรม ”  ท่านที่อ่าน บทความนี้จบลง คงมีคำตอบให้กับตัวเองแล้ว
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๓ . ๒  สรุปทิ้งท้ายด้วยคำคม สุภาษิต บทกวี   วันหนึ่งเราคงหนีไม่พ้นวัฏจักรของธรรมชาติ คือ  การเกิด แก่ เจ็บและตาย ร่างกายและความงามก็คง ต้องเสื่อมสิ้นไป แต่สิ่งที่จะเหลืออยู่ในโลกนี้เมื่อความ ตายมาถึงคือ ความดี ความชั่วของเราเท่านั้น  ( ต่อ )
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ดังพระราชนิพนธ์ของพระมหาสมณเจ้า กรมพระ ปรมานุชิตชิโนรส ในเรื่องกฤษณาสอนน้องคำฉันท์ว่า   “ พฤษภกาสร  อีกกุญชรอันปลดปลง โททนต์เสน่งคง สำคัญหมายในกายมี นรชาติวางวาย  มลายสิ้นทั้งอินทรีย์ สถิตทั่วแต่ชั่วดี  ประดับไว้ในโลกา”
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๓ . ๓ สรุปแบบชักชวน เรียกร้องด้วยประโยคสั้น   เรื่อง สิ่งเสพติด ปัญหาจากสิ่งเสพติดเหล่านี้จะเบาบางและหมดลงได้  หากพวกเราทุกคนร่วมมือร่วมใจช่วยกันป้องกันสิ่งเสพติด  รวมทั้งการลด ละ เลิกสิ่งเสพติดทุกชนิด มาเถิด มาร่วมกัน ต่อต้านยาเสพติด เพราะสิ่งเสพติดเป็นภัยต่อชีวิต เป็นพิษ ต่อสังคม
เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๓ . ๔  การเขียนสรุปแบบสรุปความ เรื่อง สถานการณ์ป่าไม้ไทยปี ๒๕๕๒ อย่างไรก็ตาม ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของปัญหา ป่าไม้คงไม่ได้จำกัดอยู่แค่นั้น โดยในความเป็นจริงแล้ว  ปัญหาการขาดแคลนน้ำ น้ำเน่าเสีย อากาศเป็นพิษ หรือ ร้อนผิดปกติ รวมทั้งอันตรายจากการใช้สารเคมีแทนวัสดุ ธรรมชาติ ก็เป็นผลพวงมาจากการที่ป่าไม้ถูกทำลายนั่นเอง
จบแล้วจ้า ... มาเขียนเรียงความกันเถอะ

More Related Content

What's hot

สมพร
สมพรสมพร
สมพรNat Ty
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
พันธ์พนิต เมฆวิบูลย์
พันธ์พนิต เมฆวิบูลย์พันธ์พนิต เมฆวิบูลย์
พันธ์พนิต เมฆวิบูลย์guest3494f08
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1Yota Bhikkhu
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยtip036fur
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านapiradee037
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1MilkOrapun
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
พุดซ้อนซ่อนกลิ่น
พุดซ้อนซ่อนกลิ่นพุดซ้อนซ่อนกลิ่น
พุดซ้อนซ่อนกลิ่นPanda Jing
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 

What's hot (19)

สมพร
สมพรสมพร
สมพร
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
Stormy aries
Stormy ariesStormy aries
Stormy aries
 
Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401
 
พันธ์พนิต เมฆวิบูลย์
พันธ์พนิต เมฆวิบูลย์พันธ์พนิต เมฆวิบูลย์
พันธ์พนิต เมฆวิบูลย์
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทย
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
พุดซ้อนซ่อนกลิ่น
พุดซ้อนซ่อนกลิ่นพุดซ้อนซ่อนกลิ่น
พุดซ้อนซ่อนกลิ่น
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Viewers also liked

Beyond Digital Content Reinventing the Textbook
Beyond Digital Content Reinventing the TextbookBeyond Digital Content Reinventing the Textbook
Beyond Digital Content Reinventing the Textbookdwarlick
 
Telling A New Story Business
Telling A New Story BusinessTelling A New Story Business
Telling A New Story Businessdwarlick
 
Reflections on NETS Refresh
Reflections on NETS RefreshReflections on NETS Refresh
Reflections on NETS Refreshdwarlick
 
Web 2.0 to School 2.0
Web 2.0 to School 2.0Web 2.0 to School 2.0
Web 2.0 to School 2.0dwarlick
 
Our Students • Our Worlds
Our Students • Our WorldsOur Students • Our Worlds
Our Students • Our Worldsdwarlick
 
A Gardener's Approach to Learning
A Gardener's Approach to LearningA Gardener's Approach to Learning
A Gardener's Approach to Learningdwarlick
 

Viewers also liked (6)

Beyond Digital Content Reinventing the Textbook
Beyond Digital Content Reinventing the TextbookBeyond Digital Content Reinventing the Textbook
Beyond Digital Content Reinventing the Textbook
 
Telling A New Story Business
Telling A New Story BusinessTelling A New Story Business
Telling A New Story Business
 
Reflections on NETS Refresh
Reflections on NETS RefreshReflections on NETS Refresh
Reflections on NETS Refresh
 
Web 2.0 to School 2.0
Web 2.0 to School 2.0Web 2.0 to School 2.0
Web 2.0 to School 2.0
 
Our Students • Our Worlds
Our Students • Our WorldsOur Students • Our Worlds
Our Students • Our Worlds
 
A Gardener's Approach to Learning
A Gardener's Approach to LearningA Gardener's Approach to Learning
A Gardener's Approach to Learning
 

Similar to การเขียนเรียงความ

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
PowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationPowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationVisualBee.com
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2Junior Lahtum
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 

Similar to การเขียนเรียงความ (20)

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
A1
A1A1
A1
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
PowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationPowerPoint Presentation
PowerPoint Presentation
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
นวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่งนวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่ง
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 

การเขียนเรียงความ

  • 2. ลักษณะของเรียงความ มีเอกภาพ คือ ความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน มีสารัตถภาพ คือ มีเนื้อหาสาระ ข้อมูล ตัวอย่างครบถ้วน มีสัมพันธภาพ คือ มีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน ตลอดทั้งเรื่อง
  • 3. แนวทางการเขียนเรียงความ เพื่อความรู้ เพื่อความเข้าใจ เพื่อโน้มน้าวใจ ๑ . ๑ กลุ่มผู้อ่าน ๑ . ๒ ลักษณะ เฉพาะของเรื่อง ๑ . ๓ เวลา ๑ . ๔ โอกาส เขียนเป็น ผังมโนภาพ เขียนเป็นหัวข้อ เลือกเรื่อง ตั้งจุดมุ่งหมาย วางโครงเรื่อง
  • 4. แนวทางการเขียนเรียงความ ตามเวลา ตามสถานที่ ตามความสำคัญ ตามเหตุผล มีเอกภาพ มีสัมพันธภาพ มีสารัตถภาพ ถูกหลักภาษา ไม่ใช้ภาษาพูด หรือสแลง เลี่ยงศัพท์ยาก กระชับ ย่อหน้า การเชื่อมโยง สำนวนภาษา
  • 5.
  • 6.
  • 8. องค์ประกอบของเรียงความ ได้แก่ คำนำ เนื้อเรื่อง และสรุป มาเรียนรู้วิธีเขียน ในแต่ละส่วนกันเถอะ
  • 9. ๑ . ส่วนคำนำ เป็นส่วนที่แสดง ประเด็นหลัก หรือ จุดประสงค์ ของเรื่อง ดังนั้น ส่วนนำจึงเป็นการบอกผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาที่นำเสนอและยังเป็นการ เร้าความสนใจให้อยากอ่าน เรื่องจนจบ การเขียนส่วนนำเพื่อเร้าความสนใจนั้นมีหลายวิธี แล้วแต่ผู้เขียนจะเลือกตามความเหมาะสม
  • 10. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๑ การเขียนคำนำโดยยกสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หรือบทกวีที่เกี่ยวข้อง เรื่อง ระลึกพระคุณครู พระคุณหนาหนักเพี้ยง พสุธา คุณบิดรดุจอา - กาศกว้าง คุณพี่พ่างศิขรา เมรุมาศ คุณพระอาจารย์อ้าง อาจสู้สาคร
  • 11. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๒ การเขียนคำนำโดยการอธิบายความหมายของเรื่อง เรื่อง สิ่งเสพติด สิ่งเสพติดคือสารที่เข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยการสูบ ฉีด ในช่วงระยะเวลาหนึ่งแล้วจะมีผลต่อร่างกายและจิตใจ ทำให้มี ความต้องการสารนั้นในปริมาณเพิ่มมากขึ้น เมื่อไม่ได้ก็จะเกิด อาการทุรนทุราย แต่เมื่อได้รับสารและเสพนานเข้าจะทำให้เกิด โรคต่างๆ จนอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ...”
  • 12. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๓ การเขียนคำนำโดยการายกคำกล่าวของบุคคลสำคัญ เรื่อง ครู ไทยเราเคารพยกย่องครูมาก สงเคราะห์ครูเข้ามาเป็นบุพการี รองจากบิดามารดา แม้มียศศักดิ์อำนาจเพียงใด ก็ยังยำเกรงเชื่อฟัง ครู ไม่ลบหลู่ ไม่ลืมครูเพราะเราถือว่าครูเป็นผู้ปลูกฝังทั้งความรู้และ ความดีให้แก่เรา เป็นผู้ปั้นเราให้เป็นคนดี มีประโยชน์ ( พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว )
  • 13. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๔ การเขียนคำนำด้วยการพรรณนาความ เรื่อง สวรรค์สุขาวดี “ เดือนสิบสองน้ำทรง เจิ่งไปในท้องทุ่ง บางแห่งสลอนสล้างไป ด้วยดอกบัวดาดาษ ยืนดูไปพลางนึกไปว่าที่คนโบราณเขานึกสร้าง สวรรค์สุขาวดีขึ้นมา ก็เห็นจะเป็นด้วยเขามองเห็นดอกบัวบานสะพรั่ง อยู่ในที่อันงดงามคล้ายๆ กับที่เรายืนมองเห็นนี้เอง อันที่จริงสถานที่นั้น ก็ไม่งามเท่าไรนัก เป็นแต่มีต้นไม้ใหญ่ทอดกิ่งเกะกะอยู่สามต้น ทำให้ ตรงนั้นคล้ายสระ แต่น้ำนั้นเจิ่งใสแจ๋วเหมือนตาตั๊กแตนแน่นิ่ง ...”
  • 14. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๕ การเขียนคำนำด้วยคำถาม หรือปัญหาที่น่าสนใจ ปัญหาเรื่องการใช้ชีวิตคู่ก่อนสมรส กำลังเป็นปัญหาใหม่ ทำอย่างไรจึงจะทำให้เยาวชนได้รู้เท่าทัน
  • 15. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๖ การเขียนคำนำด้วยการสรุปความสำคัญ คือบอก จุดมุ่งหมายอย่างย่อที่สุดแล้วจึงขยายความในส่วนของเนื้อเรื่อง เรื่อง ไม้งามนามพุทธรักษา ความสวยสง่าบนช่อชะลูด ไม้ประดับดอกงาม นามมงคล หลากสีสัน ชูช่อสง่า ผ่าเผย ขึ้นง่าย ตายยาก แก้หิวก็ได้ รักษาโรคก็ดี คุณลักษณะ พิเศษเหล่านี้มีอยู่พร้อมสรรพใน “ พุทธรักษา ” ไม้ดีที่กำลัง ถูกลืม
  • 16. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๗ การเขียนคำนำด้วยสิ่งที่จะกล่าวถึงในเนื้อเรื่องเพื่อ ให้ผู้อ่านทราบความประสงค์ของเรื่อง เรื่อง เสน่ห์ขนมไทย ไฉไลชวนมอง ทองเอก ทองหยอด ทองหยิบ ฝอยทอง สังขยา บ้าบิ่น น้ำดอกไม้ ลูกชุบ เสน่ห์จันทร์ เพียงได้เห็นหรือได้ยินชื่อเหล่านี้ ต่อมน้ำลายของใครบางคนคงเริ่มทำงานกันบ้างแล้ว ขนมเหล่านี้ไม่ เพียงแต่ให้ความหวาน มัน และหอมหวนชวนใส่ปาก รูปลักษณ์ และสีสันของมันยังดึงดูดอย่างยากจะปฏิเสธ
  • 17. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๘ การเขียนคำนำโดยการจู่โจมให้ผู้อ่านเกิดความ แปลกประหลาดใจ หรือสนใจ เรื่อง ฉันคือใคร ตัวฉันมีชื่อ เลื่องลือหนักหนา เอ่ยชื่อคนผวา เพราะฤทธามากมี จากฉันเพียงหนึ่ง ไม่ทันถึงปี สมุนฉันทวี เพิ่มขึ้นฉับไว คนเสพติดยา ลักเพศส่วนใหญ่ ติดเชื้อฉันไซร้ เป็นพรรคพวกทันที อาศัยในโลหิต ทั้งน้ำลายอสุจิ ใครลองติดซี ชีวีบรรลัย เพื่อนทราบหรือไม่ ตัวฉันคือใคร ฉันจะเฉลยให้ เอดส์ ... ไงล่ะครับ
  • 18. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๙ การเขียนคำนำที่บอดเจตนาหรือจุดประสงค์ เรื่อง ข้าพเจ้าจะหลีกเลี่ยงการเป็นโรคเอดส์ได้อย่างไร เอดส์ ... เป็นโรคร้ายที่คนส่วนใหญ่รู้จักและหวาดวิตก เพราะ เมื่อเป็นแล้วไม่มีทางรักษาให้หายได้ จากข่าวสารในสื่อมวลชนได้ บอกให้ทราบว่า มีผู้ป่วยเป็นโรคเอดส์เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว แม้แต่ซากที่เพิ่งคลอดก็ยังเป็นเอดส์ เอดส์จึงเป็นปัญหาสำคัญที่ ทำให้ทุกคนต้องร่วมมือแก้ไข เพื่อไม่ให้เอดส์แพร่ระบาดอีกต่อไป ซึ่งวิธีการแก้ไขที่ดีที่สุดก็คือการป้องกันหรือการหลีกเลี่ยงนั่นเอง
  • 19. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๑๐ การเขียนคำนำที่ใช้ขัดความ เรื่อง ลักษณะนางงาม สมัยนี้ คนทั้งบ้านทั้งเมืองกำลังฝืนคำพังเพยที่ว่า “ ดูช้าง ให้ดูหน้าหนาว ดูสาวให้ดูหน้าร้อน ” คือหน้าหนาวแทนที่เราจะดู ช้างเรากลับดูสาว บางทีจะเป็นด้วยหน้าหนาวสมัยนี้ไม่มีช้างจะให้ดู จึงต้องดูสาว นับตั้งแต่คุณกันยา เทียนสว่าง ( นางสาวไทยคนแรก ของไทย ) เป็นต้นมา จนกระทั่งต่อไปข้างหน้าอาจจะเป็นคุณธันวา นีออนไสว อะไรเรื่อยไปทุกปี ตกว่าถึงหน้าหนาวคราวหนึ่งๆ ก็จะ ได้ดูสาวกันทีหนึ่ง ซึ่งความจริงก็ดีกว่าดูช้างมาก
  • 20. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๑ . ๑๑ การเขียนคำนำที่บอกถึงแรงบันดาลใจ เรื่อง น้ำใจของผู้มีแต่น้ำใจ ภาพชีวิตที่ข้าพเจ้าได้เห็นวันนั้น เป็นภาพที่ทำให้ข้าพเจ้าต้องสะเทือนอารมณ์ อย่างจับใจ คือภาพของหญิงชรากับหนุ่มน้อยเดินจูงมือกันข้ามถนน แทนที่หนุ่มน้อย จะเป็นผู้จูงมือหญิงชรา กลับเป็นว่าหญิงชราจูงมือหนุ่มน้อย ชีวิตจริงบางครั้งก็กลับเล่น ตลกยิ่งกว่านิยายเป็นทำนองนี้ ชีวิตที่ต้องการความช่วยเหลือ แต่ผู้ที่จะมาให้ความช่วย เหลือกลับอยู่ในฐานะที่ควรจะได้รับความช่วยเหลือเช่นเดียวกัน ตอนแรกข้าพเจ้านึก ตำหนิหนุ่มน้อยอยู่ในใจ แต่เมื่อรู้ความจริงก็กลับเกิดความรู้สึกขึ้นมาใหม่ เพราะหนุ่ม น้อยนั้นตาบอดสนิททั้งสองข้างภาพชีวิตนี้เป็นแรงบันดาลใจให้ข้าพเจ้าเขียนเรื่อง “ น้ำใจของผู้มีน้ำใจ ” ขึ้น
  • 21. ๒ . ส่วนเนื้อเรื่อง มีเพียง หนึ่งย่อหน้า หนึ่งใจความสำคัญ
  • 23. โครงเรื่องเขียนอย่างไรนะ ? การวางโครงเรื่อง : ครอบครัวที่อบอุ่นของฉัน คำนำ - การอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มของสังคมมนุษย์ เนื้อเรื่อง - บทบาทของครอบครัวที่มีต่อสังคม - ครอบครัวที่อบอุ่นของฉัน สรุป - เชิญชวนให้สร้างครอบครัวให้มีความสุข
  • 24. โครงเรื่องเขียนอย่างไรนะ ? การวางโครงเรื่อง : ประสบการณ์ที่ประทับใจ คำนำ - ความสำคัญของประสบการณ์ เนื้อเรื่อง - สาเหตุของการได้รับประสบการณ์ที่ประทับใจ - เหตุการณ์ที่ได้ประสบมา - ผลที่ได้รับจากประสบการณ์ สรุป - ความรู้สึกหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประสบการณ์ นั้นๆ
  • 25. ๓ . ส่วนสรุป เป็นส่วนที่บอกผู้อ่านว่าเรื่องราวที่เสนอมานั้น ได้สิ้นสุดลงแล้ว วิธีการเขียนส่วนท้ายมีด้วยกัน หลายวิธี ดังนี้
  • 26. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๓ . ๑ สรุปแบบฝากข้อคิดเห็น ทิ้งท้ายด้วยคำถาม เคราะห์กรรมทั้งหลายอันเกิดกับญาติพี่น้องและ ลูกหลานของผู้คนในบ้านเมืองของเรา อันเกิดจากความ อำมหิตมักได้ของผู้ผลิตและผู้ค้ายาเสพติดเหล่านี้ เป็นสิ่ง สมควรหรือไม่ กับคำว่า “ วิสามัญฆาตกรรม ” ท่านที่อ่าน บทความนี้จบลง คงมีคำตอบให้กับตัวเองแล้ว
  • 27. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๓ . ๒ สรุปทิ้งท้ายด้วยคำคม สุภาษิต บทกวี วันหนึ่งเราคงหนีไม่พ้นวัฏจักรของธรรมชาติ คือ การเกิด แก่ เจ็บและตาย ร่างกายและความงามก็คง ต้องเสื่อมสิ้นไป แต่สิ่งที่จะเหลืออยู่ในโลกนี้เมื่อความ ตายมาถึงคือ ความดี ความชั่วของเราเท่านั้น ( ต่อ )
  • 28. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ดังพระราชนิพนธ์ของพระมหาสมณเจ้า กรมพระ ปรมานุชิตชิโนรส ในเรื่องกฤษณาสอนน้องคำฉันท์ว่า “ พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง โททนต์เสน่งคง สำคัญหมายในกายมี นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย์ สถิตทั่วแต่ชั่วดี ประดับไว้ในโลกา”
  • 29. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๓ . ๓ สรุปแบบชักชวน เรียกร้องด้วยประโยคสั้น เรื่อง สิ่งเสพติด ปัญหาจากสิ่งเสพติดเหล่านี้จะเบาบางและหมดลงได้ หากพวกเราทุกคนร่วมมือร่วมใจช่วยกันป้องกันสิ่งเสพติด รวมทั้งการลด ละ เลิกสิ่งเสพติดทุกชนิด มาเถิด มาร่วมกัน ต่อต้านยาเสพติด เพราะสิ่งเสพติดเป็นภัยต่อชีวิต เป็นพิษ ต่อสังคม
  • 30. เขียนแบบใดได้บ้าง ? ๓ . ๔ การเขียนสรุปแบบสรุปความ เรื่อง สถานการณ์ป่าไม้ไทยปี ๒๕๕๒ อย่างไรก็ตาม ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของปัญหา ป่าไม้คงไม่ได้จำกัดอยู่แค่นั้น โดยในความเป็นจริงแล้ว ปัญหาการขาดแคลนน้ำ น้ำเน่าเสีย อากาศเป็นพิษ หรือ ร้อนผิดปกติ รวมทั้งอันตรายจากการใช้สารเคมีแทนวัสดุ ธรรมชาติ ก็เป็นผลพวงมาจากการที่ป่าไม้ถูกทำลายนั่นเอง