SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
มาเรียนกัน 
ต่อดีกว่าค่ะ
1. นักเรียนสามารถแต่งประโยคจากคาที่กา หนดให้ได้ 
2. นักเรียนสามารถเรียบเรียงประโยคให้ได้ใจความต่อเนื่อง 
เป็นเรื่องราวได้ 
3. นักเรียนสามารถเลือกใช้สานวนภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม 
กับเนื้อเรื่องที่เขียน 
4. นักเรียนมีมารยาทในการเขียน
ประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาที่นามาเรียงกัน 
มีความหมายครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถสื่อความได้ว่า 
ใครทาอะไร คิดอย่างไร รู้สึกอย่างไร หรือมีสภาพอย่างไร 
โครงสร้างประโยค โดยทัว่ไปประกอบด้วยส่วนสาคัญ 
2 ส่วน คือ ประธาน และภาคแสดง 
ประธาน ประกอบด้วยคานาม หรือคาสรรพนาม 
ภาคแสดง ประกอบด้วยคากริยา 2 ชนิด ได้แก่ 
กริยาอกรรม หมายความว่า เป็นกริยาไม่ต้องมีกรรม และ 
กริยาสกรรม เป็นกริยาที่ต้องการกรรม
ประธาน ภาคแสดง 
คานาม คาสรรพนาม คากริยา 
อกรรม 
คากริยา 
สกรรม 
กรรม 
แป้งหอม - ยิ้มแย้ม - - 
- เธอ ขยัน - - 
แม่ - - เก็บ ดอกไม้ 
- เขา - ดูป้ายข้างทาง
การเรียบเรียงประโยค คือ การนา 
ประโยคมาเขียนเพื่อเรียบเรียงลาดับเนื้อเรื่อง 
ให้ได้ใจความต่อเนื่องเป็นเรื่องราว หรือ 
อาจจะเรียบเรียงประโยคให้ตรงกับภาพของ 
เรื่องที่กาหนดให้ 
(ที่มา : www.trueplookpanya.com)
ตัวอย่าง การเรียบเรียงประโยค จากนิทานเรื่องกระต่ายกับเต่า 
 ระหว่างทาง กระต่ายเผลอนอนหลับไป 
 เช้าวันหนึ่ง กระต่ายพบเต่าคลานต้วมเตี้ยมอยู่ที่ริมบึง 
 เต่ารับคาท้า แล้วสัตว์ทั้งสองก็เริ่มวิ่งแข่งกัน 
 กระต่ายจึงท้าเต่าวิ่งแข่ง เพราะคิดว่าตนชนะแน่นอน 
 เต่าจึงชนะการวิ่งแข่ง 
นาประโยคทงั้ 5 ประโยคมาเรียบเรียงได้ ดังนี้ 
เช้าวันหนึ่ง กระต่ายพบเต่าคลานต้วมเตี้ยมอยู่ที่ริมบึง 
กระต่ายจึงท้าเต่าวิ่งแข่ง เพราะคิดว่าตนชนะแน่นอน เต่ารับคาท้า 
แล้วสัตว์ทั้งสองก็เริ่มวิ่งแข่งกัน ระหว่างทาง กระต่ายเผลอนอนหลับไป 
เต่าจึงชนะการวิ่งแข่ง
ในการเขียนเรียงความควรใช้สานวนภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม 
กับเนื้อเรื่องที่เขียน เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนตรงกับ 
จุดประสงค์ของการเขียน การเขียนเรียงความนั้นมีเรื่องที่เราจะต้อง 
พรรณนา คือ ทาให้ผู้อ่านนึกเห็นภาพ มีตอนที่จะต้องอธิบาย คือ ทา 
ให้ผู้อ่านเข้าใจ มีตอนที่เป็นทานองเทศนา คือ ที่เราต้องการให้ผู้อ่าน 
เห็นชอบตามเราและทาตามเรา เช่น เราจะพูดถึงการสูบบุหรี่ ก็ต้อง 
อธิบายให้เห็นว่าบุหรี่เป็นอย่างไรจึงให้โทษ แล้วก็อธิบายว่า มีคุณหรือ 
มีโทษอย่างไร แล้วเทศนาให้เห็นส่วนดี เพื่อคนจะได้นึกเห็นจริง จะ 
ได้เลิกสูบหรือพยายามเลิก หรือสูบน้อยลง(เปลื้อง ณ นคร, 2515: 13) 
ซึ่งสานวนภาษาที่นิยมใช้มี 5 ลักษณะ คือ 
(ดวงใจ ไทยอุบุญ, 2543: 210-221)
บรรยายโวหาร หมายถึง การเขียนอธิบายหรือบรรยาย 
เหตุการณ์ที่เป็นข้อเท็จจริงตามลาดับเหตุการณ์ เป็นการเขียน 
ตรงไปตรงมา ไม่เยิ่นเย้อ มุ่งความชัดเจนเพื่อให้ผู้อ่านได้รับ 
ความรู้ ความเข้าใจ ผู้เขียนควรใช้ภาษาที่กะทัดรัด เขียน 
ให้ตรงเป้าหมาย อ่านเข้าใจง่าย ในการเขียนทัว่ๆ ไป มักใช้ 
บรรยายโวหาร เช่น การเขียนเล่าเรื่อง เล่าเหตุการณ์ เล่า 
ประสบการณ์ที่เกิดขึ้น การเขียนรายงาน เขียนตารา หรือ 
เขียนบทความ
ตัวอย่างบรรยายโวหาร 
“หล่อนนึกถึงบ้านริมสวนในวัยเด็กที่มักจะชวน 
เพื่อนๆ มุดรั้วลวดหนามเข้าไปเล่นในสวนเล็ก ๆ แห่งนั้น 
เก็บชมพู่ มะปราง หรือละมุดสีดาที่ติดกิ่งเรี่ย ๆ กินกัน 
เพลิดเพลิน บางทีก็ลุยลงไปจับปลาเข็มหางแดงหรือปลา 
หัวตะกั่วในท้องร่องสวน หรือไม่เช่นนั้นก็นั่งทอดหุ่ยกันที่ 
ริมคลอง คอยดูเรือกาแฟบีบแตรลมปู๊นแป๊นที่มีขนมแห้งๆ 
อย่างถัว่ตัดหรือตุ๊บตับ๊ ไม่ก็ขนมขี้แมวสีม่วงแดง สีชมพูอยู่ 
ในขวดโหล” 
(ไฟ: ประภัสสร เสวิกุล)
พ ร ร ณ น า โ ว ห า ร ห ม า ย ถึง ก า ร เ ขีย น ที่ 
สอดแทรกอารมณ์ความรู้สึกของผู้เขียนเพื่อให้ผู้อ่าน 
เกิดความซาบซึ้ง ประทับใจ มีความรู้สึกคล้อยตามไป 
กับผู้เขียน เช่น การเขียนพรรณนาอารมณ์ความรู้สึก 
รัก หลง โกรธ เกลียด เศร้า เป็นต้น โดยเลือกใช้ 
ถ้อยคาที่ไพเราะเห็นภาพพจน์ได้ง่าย เพื่อโน้มน้าว 
อารมณ์ผู้อ่านให้คล้อยตามและเกิดความประทับใจ
ตัวอย่างพรรณนาโวหาร 
“อากาศยามเช้าในสวนของคฤหาสน์บดินทราช 
... ดูสดใส ผีเสื้อแสนสวย กรีดปีกระยับในสายแดด 
อ่อนยามเช้าจากดอกหนึ่งไปที่ดอกไม้นานาพันธุ์อีก 
หลาย ๆ ดอก สีของกุหลาบปักกิ่ง ... แดงสดสว่าง 
จ้าตัดกับสีเขียวสดของสนามหญ้า ประกายของน้าค้าง 
ต้องแดดวาววับราวกับอัญมณีเรี่ยรายอยู่บนพื้นสนาม” 
(ซอยเดียวกัน: วาณิช จรุงกิจอนันต์)
เทศนาโวหาร หมายถึง การเขียน 
อธิบาย ชี้แจงให้ผ้อู่านเข้าใจ ชี้ให้เห็นประโยชน์ 
หรือโทษของเรื่องที่กล่าวถึง เป็นการชักจูงให้ 
ผู้อ่านคล้อยตาม เห็นด้วยหรือเพื่อแนะนาสัง่สอน 
ปลุกใจหรือเพื่อให้รู้ถึงข้อเท็จจริง การเขียนแบบ 
เทศนาโวหารต้องอาศัยกลวิธีการชักจูงใจ
ตัวอย่างเทศนาโวหาร 
“เราคิดว่าทุกคนที่เกิดมาอย่างไม่มีอะไรติดตัวมาเลย แม้แต่ 
ผ้านุ่งผ้าห่มสักผืนหนึ่งเวลาจากไปก็นาเอาไปไม่ได้ จะเป็นทรัพย์ 
สมบัติแท้ ๆ ที่ใกล้ชิดที่สุดก็ต้องฝังหรือเผาเปลี่ยนสภาพไป เมื่อฐานะ 
ที่แท้จริงของมนุษย์คือการไม่อาจถือกรรมสิทธิ์ในอะไรเลย ไม่ว่าจะเป็น 
ทรัพย์สินหรือชีวิตเลือดเนื้อของตนเช่นนี้ การที่เราจะมานั่งเศร้าโศกกับ 
สิ่งที่เราไม่สามารถจะมีสิทธิ์ครอบครองได้จริงจังนั้น จะต่างอะไรกับคน 
ที่เวียนดีใจเมื่ออาทิตย์ขึ้น และเสียใจเมื่ออาทิตย์ตก ซ้าแล้วซ้าเล่าอยู่ 
ทุกเมื่อเชื่อวัน” 
(เชิงผาหิมพานต์: สุชีพ ปุญญานุภาพ)
อุปมาโวหาร หมายถึง การเขียนเป็น 
สานวนเปรียบเทียบที่มีความคล้ายคลึงกันเพื่อทา 
ให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น โดยการ 
เปรียบเทียบสิ่งของที่เหมือนกันเปรียบเทียบโดย 
โยงความคิดไปสู่อีกสิ่งหนึ่ง หรือเปรียบเทียบ 
ข้อความตรงกันข้ามหรือข้อความที่ขัดแย้งกัน
ตัวอย่างอุปมาโวหาร 
“อันว่าแก้วกระจกรวมอยู่กับสุวรรณ ย่อม 
ได้แสงจับเป็นเลื่อมพรายคล้ายมรกต ผู้ที่โง่เขลา 
แม้ได้อยู่ใกล้นักปราชญ์ ก็อาจเป็นคนเฉลียว 
ฉลาดได้ฉันเดียวกัน” 
(หิโตปเทศ: เสฐียรโกเศศ และนาคะประทีป)
สาธกโวหาร หมายถึง การที่ผู้เขียน 
หยิบยกตัวอย่างมาอ้างอิงประกอบการอธิบาย 
เพื่อสนับสนุนข้อความที่เขียนไว้ให้ผู้อ่าน 
เข้าใจ และเกิดความเชื่อถือ
ตัวอย่างสาธกโวหาร 
“คนเราต้องเอาอย่างมดอย่าไปเอาอย่างหนอน เพราะ 
มดนั้นถึงมันจะตัวเล็กนิดเดียวแต่ก็ขยันขันแข็ง สามารถ 
ลากเหยื่อชิ้นใหญ่ ๆ ได้สบาย แต่ถึงกระนั้นมันก็กลับกิน 
อาหารแต่น้อยจนเอวคอดกิ่ว ผิดกันกับหนอน ซึ่งเกียจ 
คร้าน เอาแต่กินทงั้วันโดยไม่ทางานทาการอะไรจนตัวอ้วน 
อุ้ยอ้าย ผลสุดท้ายก็กลายเป็นเหยื่ออันโอชะของนกของปลา” 
(ลอดลายมังกร: ประภัสสร เสวิกุล)
มาเรียนเรื่อง 
ประโยคกันดีกว่า
เรื่องโวหารก็ 
น่าเรียนนะคะ
มาเรียนเรื่อง 
โวหารกันต่อเลย 
ค่ะ

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย SAKANAN ANANTASOOK
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 

Viewers also liked

บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความหน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (9)

บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความหน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 

Similar to หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา

สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2Junior Lahtum
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมpong_4548
 
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านmaipoom
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...0894239045
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 

Similar to หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา (20)

01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 

More from ขนิษฐา ทวีศรี

หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้ขนิษฐา ทวีศรี
 

More from ขนิษฐา ทวีศรี (8)

หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
 

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา

  • 2. 1. นักเรียนสามารถแต่งประโยคจากคาที่กา หนดให้ได้ 2. นักเรียนสามารถเรียบเรียงประโยคให้ได้ใจความต่อเนื่อง เป็นเรื่องราวได้ 3. นักเรียนสามารถเลือกใช้สานวนภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม กับเนื้อเรื่องที่เขียน 4. นักเรียนมีมารยาทในการเขียน
  • 3. ประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาที่นามาเรียงกัน มีความหมายครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถสื่อความได้ว่า ใครทาอะไร คิดอย่างไร รู้สึกอย่างไร หรือมีสภาพอย่างไร โครงสร้างประโยค โดยทัว่ไปประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ ประธาน และภาคแสดง ประธาน ประกอบด้วยคานาม หรือคาสรรพนาม ภาคแสดง ประกอบด้วยคากริยา 2 ชนิด ได้แก่ กริยาอกรรม หมายความว่า เป็นกริยาไม่ต้องมีกรรม และ กริยาสกรรม เป็นกริยาที่ต้องการกรรม
  • 4. ประธาน ภาคแสดง คานาม คาสรรพนาม คากริยา อกรรม คากริยา สกรรม กรรม แป้งหอม - ยิ้มแย้ม - - - เธอ ขยัน - - แม่ - - เก็บ ดอกไม้ - เขา - ดูป้ายข้างทาง
  • 5. การเรียบเรียงประโยค คือ การนา ประโยคมาเขียนเพื่อเรียบเรียงลาดับเนื้อเรื่อง ให้ได้ใจความต่อเนื่องเป็นเรื่องราว หรือ อาจจะเรียบเรียงประโยคให้ตรงกับภาพของ เรื่องที่กาหนดให้ (ที่มา : www.trueplookpanya.com)
  • 6. ตัวอย่าง การเรียบเรียงประโยค จากนิทานเรื่องกระต่ายกับเต่า  ระหว่างทาง กระต่ายเผลอนอนหลับไป  เช้าวันหนึ่ง กระต่ายพบเต่าคลานต้วมเตี้ยมอยู่ที่ริมบึง  เต่ารับคาท้า แล้วสัตว์ทั้งสองก็เริ่มวิ่งแข่งกัน  กระต่ายจึงท้าเต่าวิ่งแข่ง เพราะคิดว่าตนชนะแน่นอน  เต่าจึงชนะการวิ่งแข่ง นาประโยคทงั้ 5 ประโยคมาเรียบเรียงได้ ดังนี้ เช้าวันหนึ่ง กระต่ายพบเต่าคลานต้วมเตี้ยมอยู่ที่ริมบึง กระต่ายจึงท้าเต่าวิ่งแข่ง เพราะคิดว่าตนชนะแน่นอน เต่ารับคาท้า แล้วสัตว์ทั้งสองก็เริ่มวิ่งแข่งกัน ระหว่างทาง กระต่ายเผลอนอนหลับไป เต่าจึงชนะการวิ่งแข่ง
  • 7. ในการเขียนเรียงความควรใช้สานวนภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม กับเนื้อเรื่องที่เขียน เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนตรงกับ จุดประสงค์ของการเขียน การเขียนเรียงความนั้นมีเรื่องที่เราจะต้อง พรรณนา คือ ทาให้ผู้อ่านนึกเห็นภาพ มีตอนที่จะต้องอธิบาย คือ ทา ให้ผู้อ่านเข้าใจ มีตอนที่เป็นทานองเทศนา คือ ที่เราต้องการให้ผู้อ่าน เห็นชอบตามเราและทาตามเรา เช่น เราจะพูดถึงการสูบบุหรี่ ก็ต้อง อธิบายให้เห็นว่าบุหรี่เป็นอย่างไรจึงให้โทษ แล้วก็อธิบายว่า มีคุณหรือ มีโทษอย่างไร แล้วเทศนาให้เห็นส่วนดี เพื่อคนจะได้นึกเห็นจริง จะ ได้เลิกสูบหรือพยายามเลิก หรือสูบน้อยลง(เปลื้อง ณ นคร, 2515: 13) ซึ่งสานวนภาษาที่นิยมใช้มี 5 ลักษณะ คือ (ดวงใจ ไทยอุบุญ, 2543: 210-221)
  • 8. บรรยายโวหาร หมายถึง การเขียนอธิบายหรือบรรยาย เหตุการณ์ที่เป็นข้อเท็จจริงตามลาดับเหตุการณ์ เป็นการเขียน ตรงไปตรงมา ไม่เยิ่นเย้อ มุ่งความชัดเจนเพื่อให้ผู้อ่านได้รับ ความรู้ ความเข้าใจ ผู้เขียนควรใช้ภาษาที่กะทัดรัด เขียน ให้ตรงเป้าหมาย อ่านเข้าใจง่าย ในการเขียนทัว่ๆ ไป มักใช้ บรรยายโวหาร เช่น การเขียนเล่าเรื่อง เล่าเหตุการณ์ เล่า ประสบการณ์ที่เกิดขึ้น การเขียนรายงาน เขียนตารา หรือ เขียนบทความ
  • 9. ตัวอย่างบรรยายโวหาร “หล่อนนึกถึงบ้านริมสวนในวัยเด็กที่มักจะชวน เพื่อนๆ มุดรั้วลวดหนามเข้าไปเล่นในสวนเล็ก ๆ แห่งนั้น เก็บชมพู่ มะปราง หรือละมุดสีดาที่ติดกิ่งเรี่ย ๆ กินกัน เพลิดเพลิน บางทีก็ลุยลงไปจับปลาเข็มหางแดงหรือปลา หัวตะกั่วในท้องร่องสวน หรือไม่เช่นนั้นก็นั่งทอดหุ่ยกันที่ ริมคลอง คอยดูเรือกาแฟบีบแตรลมปู๊นแป๊นที่มีขนมแห้งๆ อย่างถัว่ตัดหรือตุ๊บตับ๊ ไม่ก็ขนมขี้แมวสีม่วงแดง สีชมพูอยู่ ในขวดโหล” (ไฟ: ประภัสสร เสวิกุล)
  • 10. พ ร ร ณ น า โ ว ห า ร ห ม า ย ถึง ก า ร เ ขีย น ที่ สอดแทรกอารมณ์ความรู้สึกของผู้เขียนเพื่อให้ผู้อ่าน เกิดความซาบซึ้ง ประทับใจ มีความรู้สึกคล้อยตามไป กับผู้เขียน เช่น การเขียนพรรณนาอารมณ์ความรู้สึก รัก หลง โกรธ เกลียด เศร้า เป็นต้น โดยเลือกใช้ ถ้อยคาที่ไพเราะเห็นภาพพจน์ได้ง่าย เพื่อโน้มน้าว อารมณ์ผู้อ่านให้คล้อยตามและเกิดความประทับใจ
  • 11. ตัวอย่างพรรณนาโวหาร “อากาศยามเช้าในสวนของคฤหาสน์บดินทราช ... ดูสดใส ผีเสื้อแสนสวย กรีดปีกระยับในสายแดด อ่อนยามเช้าจากดอกหนึ่งไปที่ดอกไม้นานาพันธุ์อีก หลาย ๆ ดอก สีของกุหลาบปักกิ่ง ... แดงสดสว่าง จ้าตัดกับสีเขียวสดของสนามหญ้า ประกายของน้าค้าง ต้องแดดวาววับราวกับอัญมณีเรี่ยรายอยู่บนพื้นสนาม” (ซอยเดียวกัน: วาณิช จรุงกิจอนันต์)
  • 12. เทศนาโวหาร หมายถึง การเขียน อธิบาย ชี้แจงให้ผ้อู่านเข้าใจ ชี้ให้เห็นประโยชน์ หรือโทษของเรื่องที่กล่าวถึง เป็นการชักจูงให้ ผู้อ่านคล้อยตาม เห็นด้วยหรือเพื่อแนะนาสัง่สอน ปลุกใจหรือเพื่อให้รู้ถึงข้อเท็จจริง การเขียนแบบ เทศนาโวหารต้องอาศัยกลวิธีการชักจูงใจ
  • 13. ตัวอย่างเทศนาโวหาร “เราคิดว่าทุกคนที่เกิดมาอย่างไม่มีอะไรติดตัวมาเลย แม้แต่ ผ้านุ่งผ้าห่มสักผืนหนึ่งเวลาจากไปก็นาเอาไปไม่ได้ จะเป็นทรัพย์ สมบัติแท้ ๆ ที่ใกล้ชิดที่สุดก็ต้องฝังหรือเผาเปลี่ยนสภาพไป เมื่อฐานะ ที่แท้จริงของมนุษย์คือการไม่อาจถือกรรมสิทธิ์ในอะไรเลย ไม่ว่าจะเป็น ทรัพย์สินหรือชีวิตเลือดเนื้อของตนเช่นนี้ การที่เราจะมานั่งเศร้าโศกกับ สิ่งที่เราไม่สามารถจะมีสิทธิ์ครอบครองได้จริงจังนั้น จะต่างอะไรกับคน ที่เวียนดีใจเมื่ออาทิตย์ขึ้น และเสียใจเมื่ออาทิตย์ตก ซ้าแล้วซ้าเล่าอยู่ ทุกเมื่อเชื่อวัน” (เชิงผาหิมพานต์: สุชีพ ปุญญานุภาพ)
  • 14. อุปมาโวหาร หมายถึง การเขียนเป็น สานวนเปรียบเทียบที่มีความคล้ายคลึงกันเพื่อทา ให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น โดยการ เปรียบเทียบสิ่งของที่เหมือนกันเปรียบเทียบโดย โยงความคิดไปสู่อีกสิ่งหนึ่ง หรือเปรียบเทียบ ข้อความตรงกันข้ามหรือข้อความที่ขัดแย้งกัน
  • 15. ตัวอย่างอุปมาโวหาร “อันว่าแก้วกระจกรวมอยู่กับสุวรรณ ย่อม ได้แสงจับเป็นเลื่อมพรายคล้ายมรกต ผู้ที่โง่เขลา แม้ได้อยู่ใกล้นักปราชญ์ ก็อาจเป็นคนเฉลียว ฉลาดได้ฉันเดียวกัน” (หิโตปเทศ: เสฐียรโกเศศ และนาคะประทีป)
  • 16. สาธกโวหาร หมายถึง การที่ผู้เขียน หยิบยกตัวอย่างมาอ้างอิงประกอบการอธิบาย เพื่อสนับสนุนข้อความที่เขียนไว้ให้ผู้อ่าน เข้าใจ และเกิดความเชื่อถือ
  • 17. ตัวอย่างสาธกโวหาร “คนเราต้องเอาอย่างมดอย่าไปเอาอย่างหนอน เพราะ มดนั้นถึงมันจะตัวเล็กนิดเดียวแต่ก็ขยันขันแข็ง สามารถ ลากเหยื่อชิ้นใหญ่ ๆ ได้สบาย แต่ถึงกระนั้นมันก็กลับกิน อาหารแต่น้อยจนเอวคอดกิ่ว ผิดกันกับหนอน ซึ่งเกียจ คร้าน เอาแต่กินทงั้วันโดยไม่ทางานทาการอะไรจนตัวอ้วน อุ้ยอ้าย ผลสุดท้ายก็กลายเป็นเหยื่ออันโอชะของนกของปลา” (ลอดลายมังกร: ประภัสสร เสวิกุล)