SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่
ตรงตามเป้ าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอน
และสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มี
ความสัมพันธ์กันอย่างไร
3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการ
ออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่ง
ใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทําให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่
ตรงตามเป้ าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นพร้อมอธิบายเหตุผล
• ครูสมศรี ได้นําเทคโนโลยีที่เน้นให้ตรงกับแนวคิดของตนเอง
เพื่อส่งเสริมให้การเรียนการสอนของตนเอง มีประสิทธิภาพ
โดยไม่คํานึงถึงความต้องการและสภาพจริงของการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน ผู้เรียนไม่ได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม เพียงแค่
กระทําตาม ทําให้การเรียนการสอนไม่เกิดผลเท่าที่ควร
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอน
และสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มี
ความสัมพันธ์กันอย่างไร
แนวคิด เกี่ยวกับการออกแบบ
และสื่อการสอนมาจากพื้นฐาน
การจัดทฤษฎีการศึกษา
2.1 พฤติกรรมนิยม
(Behaviorism หรือ
S-R
Associationism)
-บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รอ
รับสาร
-ผู้สอน ทําหน้าที่สร้าง
สิ่งแวดล้อมและให้นักเรียน
ทําแบบฝึกหัดซํ้าๆ ซึ่งได้รับ
ผลตอบสนองทันทีทันใด
2.2 พุทธิปัญญานิยม
(Cognitivism)
-ผู้เรียน รอรับ แล้วนําไป
เปลี่ยนแปลงความรู้ที่เน้น
ปริมาณ คุณภาพ ถ่ายทอด
ความรู้เดิมไปเป็นความรู้ใหม่
-ผู้สอน เป็นผู้นําเสนอ สร้าง
สิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนรับ
สารสนเทศมากที่สุด
2.3 คอนสตรัคติวิสต์
-ผู้เรียน สร้างความรู้
กระทําการเรียนรู้เอง
-ผู้สอน มีหน้าที่แนะนํา
ทางพุทธิปัญญา สร้าง
สิ่งแวดล้อมทางการเรียน
ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ
เนื้อหา ได้ศึกษาหาความรู้
จากสภาพจริง
จากแนวคิดดังกล่าว นักออกแบบการเรียนรู้ต้องคํานึงถึง3อย่าง ข้างต้นมา
ผสมผสานกัน โดยการออกแบบทั้ง3ทฤษฎี ให้มาสอดคล้องกับการจัดกระบวนการเรียนรู้
ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้สร้างการเรียนรู้จากแนวคิดโดยการทําข้อมูลปัญหา แล้วร่วมมือกัน
แก้ปัญหา โดยครูเป็นผู้ที่คอยแนะนําให้แนวความคิด ผู้เรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเอง
3.วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดจนกระบวน
ทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้น
ควรอยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ้างอธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
• การออกแบบการจัดการเรียนการสอน และสื่อการสอนควรมีพื้นฐานจาก
3กลุ่มแนวความคิดคือ
-พฤติกรรมนิยม (Behaviorism หรือ S-R Associationism)
-พุทธิปัญญา (Cognitivism)
-คอนสตรีคติวิสต์
มาใช้ร่วมกัน
โดยผู้สอนทําการวิเคราะห์ผู้เรียนในสภาพจริง โดยให้บทบาทของผู้เรียน
ได้ลงมือกระทํา จากประเด็นปัญหาที่ร่วมกันสร้างขึ้น โดยการวางเป้าหมาย
วัตถุประสงค์ในการเรียนจากผู้เรียน โดยการจัดกิจกรรม เครื่องมือเพื่อส่งเสริม
การเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีบทบาทการใช้สื่อ ร่วมมือกันแก้ปัญหาและการ
เรียนแบบร่วมมือเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนมุมมองที่หลายหลาย
การประเมินผลการเรียนรู้ต้องเป็นไปตามสภาพจริง
• ผู้สอน มีหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือนักเรียนแต่ละคนให้เกิดการเรียนรู้โดยทํา
หน้าที่จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
ที่ตอบสนองการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
• ผู้เรียน สามารถคิดแบบองค์รวม เรียนรู้ร่วมกันและสามารถทํางานเป็นทีม
โดยสังคมไทยมีเป้าหมายให้คนไทยมีศักยภาพในการแข่งขันและร่วมมือกัน
สร้างสรรค์
ภาพที่ 2-1 แสดงลักษณะการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
ตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การออกแบบสื่อ
การเรียนรู้
วัตถุประสงค์
การเรียนรู้
ลักษณะ
ผู้เรียน
ความ
เหมาะสมกับ
วัย
ความสนใจระดับชั้น
ความรู้
ประสบการณ์
ของผู้เรียน
วิธีการ
นําเสนอที่
เหมาะสม
สภาพการ
เรียน
http://www.learners.in.th/blogs/posts/227893
1. นาย ฤทธินันท์ ห่อคนดี 523050372-1
2. นางสาวสุธาสินี วิลัยปาน 523050379-7
3. นางสาวเสาวภา แสงวุธ 533050448-5
4. นางสาวเสาวลักษณ์ แสงวุธ 533050450-8

More Related Content

What's hot

นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
Pronsawan Petklub
 
บท 3 แจน
บท 3 แจนบท 3 แจน
บท 3 แจน
jittraphorn
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Kik Nookoogkig
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Dee Arna'
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Aiijoo Yume
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Prakaidao Suebwong
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3
PattrapornSakkunee
 

What's hot (15)

นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม  Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
 
บท 3 แจน
บท 3 แจนบท 3 แจน
บท 3 แจน
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอนบทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapte3
Chapte3Chapte3
Chapte3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 

Viewers also liked (15)

คอมม
คอมมคอมม
คอมม
 
Basics of gps ii
Basics of gps  iiBasics of gps  ii
Basics of gps ii
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Basics of gps 1
Basics of gps 1Basics of gps 1
Basics of gps 1
 
Manet
ManetManet
Manet
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
Gps measurements
Gps measurementsGps measurements
Gps measurements
 
Cellular concepts
Cellular conceptsCellular concepts
Cellular concepts
 
งาน
งานงาน
งาน
 
GPS Orbits
GPS OrbitsGPS Orbits
GPS Orbits
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Equalisation, diversity, coding.
Equalisation, diversity, coding.Equalisation, diversity, coding.
Equalisation, diversity, coding.
 
Small scale fading and multipath measurements
Small scale fading and multipath measurementsSmall scale fading and multipath measurements
Small scale fading and multipath measurements
 
Large scale path loss 1
Large scale path loss 1Large scale path loss 1
Large scale path loss 1
 

Similar to Chapter 3

Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
P-zhiie Chic'
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
P-zhiie Chic'
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
pompompam
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Noppasorn Boonsena
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
wisnun
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
wisnun
 
งานนวัตกรรมบที่2
งานนวัตกรรมบที่2งานนวัตกรรมบที่2
งานนวัตกรรมบที่2
saraprungg
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Fern's Supakyada
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
wannaphakdee
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
noiiso_M2
 

Similar to Chapter 3 (20)

Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
งานนวัตกรรมบที่2
งานนวัตกรรมบที่2งานนวัตกรรมบที่2
งานนวัตกรรมบที่2
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Chapter 2#
Chapter 2#Chapter 2#
Chapter 2#
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Chapter
Chapter   Chapter
Chapter
 

Chapter 3