SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
สมการที่มีกราฟเป็ นเส้นตรง

    การหาคู่อนดับ (x, y)
             ั
จุดประสงค์การเรี ยนรู้
 1. แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณที่มีความสัมพันธ์เชิง
เส้นและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้


2. อ่านและแปรความหมายของกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรและ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้

3นาความรู้เรื่ องกราฟไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
Y
               จุด(m, n)
                
                                                 X
  O


 เมื่อกาหนดค่า x = m แล้วหาค่า y = n จากสมการ
ได้คู่อนดับ(m, n) หรื อ จุด (m, n) อยูบนกราฟเส้นตรงนี้ได้
       ั                              ่
Y

               
            จุด(m, n)                            X
  O


เมื่อกาหนดค่า y = n แล้วหาค่า x = m จากสมการ

ได้คู่อนดับ(m, n) หรื อ จุด (m, n) อยูบนกราฟเส้นตรงนี้ได้เช่นกัน
       ั                              ่
1) สมการ 2x – y = –7
    จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
            ั
   แนวคิด เมื่อกาหนดให้ x จะต้องหาค่า y
         จะต้องกาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไร
         กาหนดค่า x จานวนเท่าไร ก็ได้
         ที่ง่ายต่อการคานวณหา y
         กาหนดให้ค่า x เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร
         ลองกาหนดค่า x เป็ นจานวน 0
         แล้วแทนค่า x ในโจทย์สมการ 2x – y = –7
         แล้วแก้สมการหาค่า y
1) สมการ 2x – y = –7
    จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
            ั
    กาหนดให้ x = 0          จงหาค่า y

 แทนค่า x = 0 ;         2(0) – y = – 7 (0คูณ2 ได้ 0 และ-yได้ -y )
                          x
                            –y = –7
นา –1 หารทั้งสองข้าง;         y = –7 (ซ้ าย –7 หารด้ วย –1 ได้ 7)
                                  –1
                              y= 7
            เมื่อกาหนดให้ x มีค่าเป็ น 0 แล้วหาค่า y ได้ 7
ทบทวนการทา จากข้อ 1. สมการ 2x – y = – 7
   กาหนดให้ x = 0 จงหาค่า y
 แทนค่า x = 0;   2(0) – y = –7
                   x
                 0 – y = –7
                      – y = –7
                         y = –7
                              –1
                          y = 7
                  ได้คู่อนดับ (0 , 7 )
                         ั
                      ่
      ได้จุด(0, 7) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ 2x – y = – 7
2) สมการ 3x + y = 4
   จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
           ั
   แนวคิด เมื่อกาหนดให้ x จะต้องหาค่า y
      จะต้องกาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไร
          กาหนดค่า x จานวนเท่าไร ก็ได้
          ที่ง่ายต่อการคานวณหา y
      กาหนดให้ค่า x เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร
      ลองกาหนดค่า x เป็ นจานวน –2
      แล้วแทนค่าในโจทย์สมการ 3x + y = 4
        แล้วแก้สมการหาค่า y
2) สมการ 3x + y = 4
    จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
            ั
    กาหนดให้ x = –2 จงหาค่า y
แทนค่า x = –2 ;       3(–2) + y = 4
                        x                  (ทางซ้ าย 3คูณ–2ได้ –6)
                         –6 +y = 4
นา 6 มาบวกทั้งสองข้าง;        y = 4 + 6 (ทางขวา 4บวก 6ได้ 10)
                               y = 10
        เมื่อกาหนดให้ x มีค่าเป็ น –2 แล้วหาค่า y ได้ 10
ทบทวนการทา จากข้อ 2. สมการ 3x + y = 4
   กาหนดให้ x = –2 จงหาค่า y

  แทนค่า x = –2 ;       3 (–2) + y = 4
                          x
                         –6 + y = 4
                              y = 4+ 6
                              y = 10
                    ได้คู่อนดับ (–2, 10)
                           ั
                      ่
    ได้จุด(–2, 10) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ 3x + y = 4
3) สมการ x – 2y = – 6
   จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
           ั
  แนวคิด เมื่อกาหนดให้ x จะต้องหาค่า y

      จะต้องกาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไร
      กาหนดค่า x จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา y
      กาหนดให้ค่า x เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร

     ลองกาหนดค่า x เป็ นจานวน 4 แล้วแทนค่าในโจทย์สมการ
     แล้วแก้สมการหาค่า y
3) สมการ x – 2y = – 6
     จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
             ั
    กาหนดให้ x = 4 จงหาค่า y
 แทนค่า x = 4 ;     4
                    x – 2y = – 6
นา 4 มาลบทั้งสองข้าง; – 2y = –6 – 4 (ทางขวา –6บวก –4ได้ –10)
                        –2y = –10
นา –2 หารทั้งสองข้าง;     y = –10 (ทางขวา –10หารด้ วย –2ได้ 5)
                               –2
                          y= 5
                                 ่
              เมื่อกาหนดให้ x มีคาเป็ น 4 แล้วหาค่า y ได้ 5
ทบทวนการทา จากข้อ 3. สมการ x – 2y = – 6
    กาหนดให้ x = 4 จงหาค่า y
   แทนค่า x = 4 ; 4x – 2y = – 6
                        – 2y = – 6 – 4
                       – 2 y = – 10
                            y = – 10
                                 –2
                            y= 5
                     ได้คู่อนดับ (4, 5 )
                            ั
                      ่
      ได้จุด(4, 5) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6
4) สมการ x – y = 6
   จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
           ั
   แนวคิด เมื่อกาหนดให้ x จะต้องหาค่า y

      จะต้องกาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไร
      กาหนดค่า x จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา y
      กาหนดให้ค่า x เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร

     ลองกาหนดค่า x เป็ นจานวน 2 แล้วแทนค่าในโจทย์สมการ
     แล้วแก้สมการหาค่า y
4) สมการ x – y = 6
    จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
            ั
    กาหนดให้ x = 2 จงหาค่า y
 แทนค่า x = 2 ;         2
                        x –y = 6
นา 2 มาลบทั้งสองข้าง; – y = 6 – 2      (ทางขวา 6บวก –2ได้ 4)
                      –y = 4
นา –1 หารทั้งสองข้าง;    y = 4 (ทางขวา 4หารด้ วย –1ได้ –4)
                               –1
                         y = –4
         เมื่อกาหนดให้ x มีค่าเป็ น 2 แล้วหาค่า y ได้ –4
ทบทวนการทา จากข้อ 4. สมการ x – y = 6
     กาหนดให้ x = 2 จงหาค่า y
     แทนค่า x = 2 ; 2x – y = 6
                      –y = 6 –2
                       –y = 4
                          y= 4
                             –1
                           y = –4
                     ได้คู่อนดับ (2, – 4 )
                            ั

                       ่
      ได้จุด(2,– 4) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – y = 6
5) สมการ 2x – y = 11
   จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
           ั
 แนวคิด เมื่อกาหนดให้ y จะต้องหาค่า x

     จะต้องกาหนดค่าตัวแปร y เป็ นจานวนเท่าไร

     กาหนดค่า y จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา x

     กาหนดให้ค่า y เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร
    ลองกาหนดค่า y เป็ นจานวน –3 แล้วแทนค่าในโจทย์
    สมการ แล้วแก้สมการหาค่า x
5) สมการ 2x – y = 11
     จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
             ั
   กาหนดให้ y = –3 จงหาค่า x
 แทนค่า y = –3 ; 2x – (–3) = 11
                       y              (ทางซ้ าย –1คูณ –3 ได้ 3)
                     2x + 3 = 11
นา 3 มาลบทั้งสองข้าง; 2 x = 11 – 3 (ทางขวา 11บวก –3ได้ 8)
นา 2 หารทั้งสองข้าง;      x= 2 8   (ทางขวา 8หารด้ วย 2ได้ 4)

                          x= 4
          เมื่อกาหนดให้ y มีค่าเป็ น –3 แล้วหาค่า x ได้ 4
ทบทวนการทา จากข้อ 5. สมการ 2x – y = 11
  กาหนดให้ y = –3 จงหาค่า x
แทนค่า y = –3 ;    2x – (–3) = 11
                          y
                     2x + 3 = 11
                        2x = 11 – 3
                                x= 8
                                      2
                                x= 4
                     ได้คู่อนดับ (4, –3 )
                            ั
                         ่
        ได้จุด(4, –3) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ 2x – y = 11
6.1) สมการ x – 2y = – 6
     จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
             ั
 แนวคิด เมื่อกาหนดให้ y จะต้องหาค่า x

   จะต้องกาหนดค่าตัวแปร y เป็ นจานวนเท่าไร
   กาหนดค่า y จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา x
   กาหนดให้ค่า y เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร
   ลองกาหนดค่า y เป็ นจานวน 0 แล้วแทนค่าในโจทย์สมการ
   แล้วแก้สมการหาค่า x
6.1) สมการ x – 2y = – 6
     จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
             ั
  กาหนดให้ y = 0 จงหาค่า x
แทนค่า y = 0 ; x – 2(0) = – 6
                     y                         (ซ้าย –2คูณ0 ได้ 0)
                  x –0         = –6                (ซ้าย x – 0 ได้ x )
                        x      = –6
                               ่
            เมื่อกาหนดให้ y มีคาเป็ น 0 แล้วหาค่า x ได้ – 6
                       ได้คู่อนดับ ( –6, 0 )
                              ั
                        ่
       ได้จุด(–6, 0) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6
6.2) สมการ x – 2y = –6
     จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
             ั
 แนวคิด เมื่อกาหนดให้ x จะต้องหาค่า y
     จะต้องกาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไร

     กาหนดค่า x จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา y

     กาหนดให้ค่า x เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร
     ลองกาหนดค่า x เป็ นจานวน 0 แล้วแทนค่าในโจทย์สมการ
     แล้วแก้สมการหาค่า y
6.2) สมการ x – 2y = –6
      จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้
              ั
    กาหนดให้ x = 0 จงหาค่า y
 แทนค่า x = 0 ; (0) – 2y = – 6
                 x                           (0 คิดกับ -2yได้ -2y )
                    –2 y = – 6
นา –2 หารทั้งสองข้าง; y = –6 (ทางขวา –6 หารด้ วย –2ได้ 3)
                                –2
                        y= 3
                       ได้คู่อนดับ ( 0, 3 )
                              ั
                        ่
        ได้จุด(0, 3) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6
จากข้อ 6.1 และ 6.2

                 ่
ได้จุด(–6, 0) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6
                ่
ได้จุด(0, 3) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6

เรายังสามารถหาคู่อนดับ หรื อ จุด ได้อีกมากมาย ที่
                  ั
   ่
อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6
7.1) สมการ 2x – y = 18         หาจุดคู่อนดับ 3 จุด
                                        ั
    จะต้องกาหนดค่าตัวแปรอะไร
    กาหนดค่าตัวแปร x หรื อ y ก็ได้
    กาหนดค่าตัวแปร y เป็ นจานวนเท่าไรดี
    กาหนดค่า y เป็ น 0

    กาหนดค่า y เป็ น 0 แล้วทาอย่างไรต่อ

    แทนค่า y เป็ น 0 ในโจทย์สมการ แล้วแก้สมการหาค่า x
7.1) สมการ 2x – y = 18         หาจุดคู่อนดับ 3 จุด
                                             ั
      กาหนดให้ y = 0 จงหาค่า x
   แทนค่า y = 0 ; 2x – (0) = 18
                        y
                       2 x = 18
นา 2 หารทั้งสองข้าง;      x = 18 (ทางขวา 18 หารด้ วย 2ได้ 9)
                               2
                          x= 9


              x          9
              y          0
7.2) สมการ 2x – y = 18

   จะต้องกาหนดค่าตัวแปรอะไรอีก
   กาหนดค่าตัวแปร x หรื อ y ก็ได้
   กาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไรดี
   กาหนดค่า x เป็ น 0

   กาหนดค่า x เป็ น 0 แล้วทาอย่างไรต่อ

   แทนค่า x เป็ น 0 ในโจทย์สมการ แล้วแก้สมการหาค่า y
7.2) สมการ 2x – y = 18
   กาหนดให้ x = 0       จงหาค่า y

 แทนค่า x = 0 ;         2(0) – y = 18
                          x                (0คูณ2 ได้ 0 และ-yได้ -y )

                             – y = 18
นา –1 หารทั้งสองข้าง;         y = 18 (ซ้ าย 18 หารด้ วย –1 ได้ – 18 )
                                  –1
                              y = – 18

             x           9           0
             y           0         –18
7.3) สมการ 2x – y = 18
   จะต้องกาหนดค่าตัวแปรอะไรอีก
   กาหนดค่าตัวแปร x หรื อ y ก็ได้
   กาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไรดี
   กาหนดค่า x เป็ น 3

   กาหนดค่า x เป็ น 3 แล้วทาอย่างไรต่อ

   แทนค่า x เป็ น 3 ในโจทย์สมการ แล้วแก้สมการหาค่า y
7.3) สมการ 2x – y = 18
     กาหนดให้ x = 3 จงหาค่า y
 แทนค่า x = 3 ;     2(3) – y = 18
                      x              (ทางซ้ าย 2คูณ3ได้ 6)
                      6 – y = 18
นา 6 มาลบทั้งสองข้าง; – y = 18 – 6 (ทางขวา18บวก –6ได้ 12)
นา –1 มาหารทั้งสองข้าง; y = 12 (ทางขวา12หารด้ วย –1ได้ –12 )
                                –1
                            y = –12
              x          9          0         3
              y          0        –18        –12
สรุ ป 7) สมการ 2x – y = 18

                 x          9            0         3
                 y          0          –18        –12

ได้จุดคู่อนดับ
          ั          (9, 0), (0, –18), (3, –12)

 จากคู่อนดับ จะนาไปเขียนกราฟในพิกดมุมฉาก แกน X และ
        ั                        ั
 แกนY ต่อไป
8.1) สมการ x – 4y = 3       หาจุดคู่อนดับ 3 จุด
                                        ั
    กาหนดให้ y = 0 จงหาค่า x
แทนค่า y = 0 ; x – 4(0) = 3
                     y           (4คูณ0 ได้ 0 และxได้ x )
                       x =3




           x          3
           y          0
8.2) สมการ x – 4y = 3
     กาหนดให้ x = –1 จงหาค่า y
แทนค่า x = –1; (–1) – 4y = 3 (ทางซ้ าย –1และ – 4 y )
                    x
                    –1 – 4y = 3
นา 1 บวกทั้งสองข้าง; – 4y = 3 + 1 (ทางขวา 3 บวก 1ได้ 4)
                               4
 นา –4 หารทั้งสองข้าง; y = –4 (ทางขวา 4 หารด้ วย –4ได้ – 1 )
                         y = –1
              x          –1         3
              y          –1         0
8.3) สมการ x – 4y = 3
     กาหนดให้ x = 7 จงหาค่า y
แทนค่า x = 7;      (7) – 4y = 3 (ทางซ้ าย 7และ – 4 y )
                    x
                     7 – 4y = 3
นา 7 ลบทั้งสองข้าง; – 4y = 3 – 7 (ทางขวา 3 บวก –7 ได้ –4 )
 นา –4 หารทั้งสองข้าง; y = ––4 (ทางขวา–4 หารด้ วย –4ได้ 1 )
                                4
                         y= 1
              x          –1         3         7
              y          –1         0         1
สรุ ป 8) สมการ x – 4y = 3

          x            –1           3        7
          y            –1           0        1

ได้จุดคู่อนดับ (–1, –1 ), (3, 0),
          ั                         (7, 1)

 จากคู่อนดับ จะนาไปเขียนกราฟในพิกดมุมฉาก แกน X และ
        ั                        ั
 แกนY ต่อไป
ตัวอย่ างทบทวน



เรื่ องกราฟเส้นตรง
่
1) จงหาว่าจุด(1, –2) อยูบนกราฟเส้นตรง 3x – 2y – 7 = 0
   ได้หรื อไม่?
    คิดซิ เราไม่มีกระดาษกราฟด้วย
   แนวคิด ให้แทนค่า x และ y ด้วย (1, –2) ลงในโจทย์สมการ

    แล้วคานวณ เปรี ยบเทียบ ทางซ้ายมือ = ทางขวามือ หรื อไม่

   ลองทา
1) จะหาว่ าจุด(1, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง        3x – 2y – 7 = 0

       วิธีทา จากจุด (1, –2 ) ให้แทนค่า x = 1 และแทนค่า y = – 2
ได้ 3 ( x1) – 2 (–2) – 7 = 0 (ทางซ้ าย 3คูณ1ได้ 3, –2 คูณ –2ได้ 4 )
                y

           3 + 4 –7 = 0                  (ทางซ้ าย 3บวก 4 ได้ 7 )

                7 –7 = 0                (ทางซ้ าย 7 บวก –7 ได้ 0 )

                      0 = 0 (เป็ นจริ ง)

 ได้ จุด(1, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง สมการ 3x – 2y – 7 = 0 ได้
สรุป
1) จงหาว่ าจุด(1, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง 3x – 2y – 7 = 0
    ได้ หรือไม่ ?
       จากโจทย์ ใช้ค่า (1, –2) แทนค่า (x, y) ใน
          สมการ 3x – 2y – 7 = 0 ถ้าผลลัพธ์
          ได้ ทางซ้ายมือ = ทางขวามือ (จริง)
                          ่
          แสดงว่าจุด อยูบนเส้นกราฟ
          หรื อเป็ นคาตอบของสมการนี้ได้
2) จงหาว่ าจุด(3, –4) อยู่บนกราฟเส้ นตรงทีมีสมการ
                                          ่
   2x + 5y – 1 = 0         ได้ หรือไม่ ?

      คล้ายข้อ 1
     แนวคิด ให้แทนค่า x และ y ด้วย (3, –4) ลงในโจทย์สมการ

      แล้วคานวณ เปรี ยบเทียบ ทางซ้ายมือ = ทางขวามือ
      หรื อไม่

      ลองทา
่
2) จะหาว่าจุด(3, –4) อยูบนกราฟเส้นตรง         2x + 5y – 1 = 0

  วิธีทา จากจุด (3, – 4 ) ให้แทนค่า x = 3 และแทนค่า y = – 4
 2(x3) + 5 (–4) – 1 = 0
            y               (ทางซ้ าย 2คูณ3ได้ 6 , 5คูณ –4ได้ –20 )

       6 – 20 – 1 = 0                (ทางซ้ าย –20 บวก –1ได้ –21 )

          6 – 21 = 0                (ทางซ้ าย 6 บวก –21ได้ –15 )

             – 15 = 0         (เป็ นเท็จ)

                    ่
ได้จุด(3, –4) ไม่อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ 2x + 5y – 1 = 0
สรุป

2) จงหาว่าจุด(3, –4) อยูบนกราฟเส้นตรง 2x + 5y – 1 = 0
                        ่
    ได้หรื อไม่?


      จากโจทย์ ใช้ค่า (3, –4) แทนค่า (x, y) ใน
          สมการ 2x + 5y – 1 = 0 ถ้าผลลัพธ์ ได้
          ทางซ้ายมือ  ทางขวามือ (เท็จ) แสดง
          ว่าจุด ไม่ อยู่บนเส้นกราฟ      หรื อไม่ เป็ น
          คาตอบของสมการนี้ได้
3) จงหาค่ า k ทีทาให้ จุด(–2, k) อยู่บนกราฟเส้ นตรง
                ่
   4x – 3y – 7 = 0 ได้
        จะต้องหาค่า k อย่างไร
        ต้องมีสมการจึงหาค่า k ได้
       สร้างสมการจากอะไร
      โจทย์เป็ นรู ปสมการใช่หรื อไม่
      โจทย์เป็ นรู ปสมการก็เห็นออยู่ จะทาอย่างไรต่อ
             ั ่                                     ั
      จุดพิกดอยูบนเส้นกราฟของสมการได้ ต้องนาค่าจุดพิกดแทน
      ค่า x และ y ในสมการนันเอง
                           ่
่
  3) จะหาค่า k ที่จุด(–2, k) อยูบนกราฟเส้นตรง           4x – 3y – 7 = 0

      วิธีทา จากจุด    (– 2 , k ) ให้แทนค่า x = – 2 และแทนค่า y = k
ได้     4 (–2) – 3 (k) – 7 = 0
           x        y                 (ทางซ้ าย 4คูณ –2 ได้ –8 , –3คูณkได้ –3k)

           – 8 – 3k – 7 = 0                (ทางซ้ าย –8 บวก –7 ได้ –15 )
               – 15 – 3k = 0               (จากทางซ้ ายกาจัด –15 ได้ +15)
นา –3 มาหาร;          – 3 k = 0 + 15        (จากทางซ้ ายกาจัด –3 )

                         k =       15     (จากทางขวา 15 หารด้ วย –3ได้ –5)
                                  –3

                ได้      k = –5
แบบฝึ กหัด


แบบฝึ กหัดแสดงวิธีทา ผูเ้ รี ยนต้องใช้สมุดแบบฝึ กหัดทา


                        มี 5 ข้อ
แบบฝึ กหัด
  1) จงตรวจว่ าจุด(–4, 5) อยู่บนกราฟของเส้ นตรงมี
     สมการคือ 2x + y = – 3 หรือไม่ ?
 2) จงตรวจว่ าจุด(4, –3) ทีสอดคล้ องกับ
                           ่
    สมการ 3x + 2y – 6 = 0 หรือไม่ ?
หมายเหตุ จุด หรื อคู่อนดับ ที่อยูบนกราฟเส้นตรงได้ อาจ
                            ั      ่
เรี ยกว่า จุด หรื อ คู่อนดับที่สอดคล้องกับสมการเส้นตรงอาจ
                        ั
เรี ยกว่า จุด หรื อ คู่อนดับเป็ นคาตอบของสมการเส้นตรงก็ได้
                          ั
3) จงสมาชิกทีเ่ หลือของจุด(5, ....) ทีอยู่บนกราฟของ
                                      ่
   เส้ นตรงมีสมการ 2x + 3y = 31

4) จงสมาชิกทีเ่ หลือของจุด(..., 2) ทีอยู่บนกราฟของ
                                     ่
   เส้ นตรงมีสมการ 5x – 4y – 12 = 0
5) จงหาค่ า k จากสมการ 3x – ky = 8 เมื่อมีจุด(4, –2)
   อยู่บนกราฟเส้ นตรง
เฉลย 1) จงตรวจว่ าจุด(–4, 5) อยู่บนกราฟของเส้ นตรงมี
     สมการคือ 2x + y = – 3 หรือไม่ ?

 จะตรวจว่ าจุด(–4, 5) อยู่บนกราฟเส้ นตรง            2x + y = – 3
   วิธีทา จากจุด (– 4, 5 ) ให้ แทนค่ า x = – 4 และแทนค่ า y = 5
                                (ทางซ้ าย 2คูณ –4 ได้ –8 , + 5 ได้ + 5)
ได้ 2 (– 4 + =(5) 3
           )       –
         –8 + 5 = –3                 (ทางซ้ าย –8 บวก 5 ได้ –3 )

               –3 = –3            (เป็ นจริง)
    จุด(–4, 5) อยู่บนกราฟเส้ นตรง สมการ 2x + y = – 3 ได้
เฉลย 2) จงตรวจว่ าจุด(4, –3) ทีสอดคล้ องกับ
                                  ่
      สมการ 3x + 2y – 6 = 0 หรือไม่ ?
   จะหาว่ าจุด(4, –3) สอดคล้ องกับสมการ 3x + 2y – 6 = 0
     วิธีทา จากจุด (4, – 3 ) ให้ แทนค่ า x = 4 และแทนค่ า y = – 3
ได้ 3 ( 4) 2 (– 6 = 0
         + – 3)                 (ทางซ้ าย 3คูณ4 ได้ 12 , 2คูณ –3 ได้ –6)
      12 – 6 – 6 = 0     (ทางซ้ าย –6บวก –6 ได้ –12 )
        12 – 12 = 0 (ทางซ้ าย 12บวก –12 ได้ 0)
             0 = 0 (เป็ นจริง)
    ได้ จุด(4, –3) สอดคล้ องกับสมการ 3x + 2y – 6 = 0
เฉลย 3) จงสมาชิกทีเ่ หลือของจุด(5, ....) ทีอยู่บนกราฟ
                                              ่
        ของเส้ นตรงมีสมการ 2x + 3y = 31
  จะหาค่ า y ทีจุด(5, …) อยู่บนกราฟเส้ นตรง 2x + 3y = 31
                ่
  วิธีทา ให้ จากจุด (5 , y ) ให้ แทนค่ า x = 5 หาค่ า y
     ได้ 2 ( 5+) 3 = 31
                    y             (ทางซ้ าย 2คูณ5 ได้ 10 )
       10 + 3y        = 31
นา 10 มาลบ;     3y    = 31 – 10    (ทางขวา 31บวก – 10 ได้ 21 )
 นา 3 มาหาร;         y = 21       (ทางขวา 21หารด้ วย 3 ได้ 7 )
                          3
          ได้        y = 7
เฉลย4) จงสมาชิกทีเ่ หลือของจุด(..., 2) ทีอยู่บนกราฟ
                                                 ่
         ของเส้ นตรงมีสมการ 5x – 4y – 12 = 0
  จะหาค่ า x ทีจุด(..., 2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง 5x – 4y – 12 = 0
                 ่
   วิธีทา ให้ จากจุด (x , 2 ) ให้ แทนค่ า y = 2 หาค่ า x
ได้ 5 x 4 –(2) = 0
        –          12                    (ทางซ้ าย –4 คูณ 2 ได้ –8 )
        5x – 8 – 12 = 0                  (ทางซ้ าย –8 บวก –12 ได้ –20)
                5x – 20 = 0
นา 20 มาบวก;         5x = 0 + 20
 นา 5 มาหาร;          x = 20     (ทางขวา 20หารด้ วย 5 ได้ 4 )
                            5
             ได้     x = 4
เฉลย 5) จงหาค่ า k จากสมการ 3x – ky = 8 เมื่อมีจุด
     (4, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง
   จะหาค่ า k ทีมีจุด(4, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง 3x – ky = 8
                ่
 วิธีทา จากจุด (4, – 2) ให้ แทนค่ า x = 4 และแทนค่ า y = – 2
ได้ 3 ( 4)– k (– 2) 8
               =            (ทางซ้ าย 3คูณ4 ได้ 12และ –kคูณ –2ได้ –2k )
        12 + 2k = 8
 นา 12 มาลบ; 2k = 8 – 12 (ทางซ้ าย –8 บวก –12 ได้ –20)
 นา 2 มาหาร; k = – 2       4           (ทางขวา –4หารด้ วย 2 ได้ –2 )
                   k = –2
        ได้สมการ 3x – (–2)y = 8           ได้เป็ น 3x + 2y = 8

More Related Content

What's hot

ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันY'Yuyee Raksaya
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือTeraporn Thongsiri
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวeakbordin
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4คุณครูพี่อั๋น
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfssusera0c3361
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรPawaputanon Mahasarakham
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรีแบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชัน
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
 
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 

Viewers also liked

แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรงแบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรงkroojaja
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3Kwanchai Buaksuntear
 
สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงพัน พัน
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชันsawed kodnara
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 

Viewers also liked (8)

แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรงแบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
แบบฝึกหัด ความสัมพันธ์ของเส้นตรง
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
 
สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรง
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 

Similar to สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการkrulerdboon
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31krookay2012
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นsuwanpinit
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์พัน พัน
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 

Similar to สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง (20)

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
112
112112
112
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
Calculus1
Calculus1Calculus1
Calculus1
 
Real
RealReal
Real
 
Example equapoly
Example equapolyExample equapoly
Example equapoly
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
Domain and range2
Domain and range2Domain and range2
Domain and range2
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
Equation
EquationEquation
Equation
 
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
 
ความหมายของเลขยกกำลัง
ความหมายของเลขยกกำลังความหมายของเลขยกกำลัง
ความหมายของเลขยกกำลัง
 

สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง

  • 1. สมการที่มีกราฟเป็ นเส้นตรง การหาคู่อนดับ (x, y) ั
  • 2. จุดประสงค์การเรี ยนรู้ 1. แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณที่มีความสัมพันธ์เชิง เส้นและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ 2. อ่านและแปรความหมายของกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรและ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ 3นาความรู้เรื่ องกราฟไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
  • 3. Y จุด(m, n)  X O เมื่อกาหนดค่า x = m แล้วหาค่า y = n จากสมการ ได้คู่อนดับ(m, n) หรื อ จุด (m, n) อยูบนกราฟเส้นตรงนี้ได้ ั ่
  • 4. Y  จุด(m, n) X O เมื่อกาหนดค่า y = n แล้วหาค่า x = m จากสมการ ได้คู่อนดับ(m, n) หรื อ จุด (m, n) อยูบนกราฟเส้นตรงนี้ได้เช่นกัน ั ่
  • 5. 1) สมการ 2x – y = –7 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั แนวคิด เมื่อกาหนดให้ x จะต้องหาค่า y จะต้องกาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไร กาหนดค่า x จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา y กาหนดให้ค่า x เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร ลองกาหนดค่า x เป็ นจานวน 0 แล้วแทนค่า x ในโจทย์สมการ 2x – y = –7 แล้วแก้สมการหาค่า y
  • 6. 1) สมการ 2x – y = –7 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั กาหนดให้ x = 0 จงหาค่า y แทนค่า x = 0 ; 2(0) – y = – 7 (0คูณ2 ได้ 0 และ-yได้ -y ) x –y = –7 นา –1 หารทั้งสองข้าง; y = –7 (ซ้ าย –7 หารด้ วย –1 ได้ 7) –1 y= 7 เมื่อกาหนดให้ x มีค่าเป็ น 0 แล้วหาค่า y ได้ 7
  • 7. ทบทวนการทา จากข้อ 1. สมการ 2x – y = – 7 กาหนดให้ x = 0 จงหาค่า y แทนค่า x = 0; 2(0) – y = –7 x 0 – y = –7 – y = –7 y = –7 –1 y = 7 ได้คู่อนดับ (0 , 7 ) ั ่ ได้จุด(0, 7) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ 2x – y = – 7
  • 8. 2) สมการ 3x + y = 4 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั แนวคิด เมื่อกาหนดให้ x จะต้องหาค่า y จะต้องกาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไร กาหนดค่า x จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา y กาหนดให้ค่า x เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร ลองกาหนดค่า x เป็ นจานวน –2 แล้วแทนค่าในโจทย์สมการ 3x + y = 4 แล้วแก้สมการหาค่า y
  • 9. 2) สมการ 3x + y = 4 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั กาหนดให้ x = –2 จงหาค่า y แทนค่า x = –2 ; 3(–2) + y = 4 x (ทางซ้ าย 3คูณ–2ได้ –6) –6 +y = 4 นา 6 มาบวกทั้งสองข้าง; y = 4 + 6 (ทางขวา 4บวก 6ได้ 10) y = 10 เมื่อกาหนดให้ x มีค่าเป็ น –2 แล้วหาค่า y ได้ 10
  • 10. ทบทวนการทา จากข้อ 2. สมการ 3x + y = 4 กาหนดให้ x = –2 จงหาค่า y แทนค่า x = –2 ; 3 (–2) + y = 4 x –6 + y = 4 y = 4+ 6 y = 10 ได้คู่อนดับ (–2, 10) ั ่ ได้จุด(–2, 10) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ 3x + y = 4
  • 11. 3) สมการ x – 2y = – 6 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั แนวคิด เมื่อกาหนดให้ x จะต้องหาค่า y จะต้องกาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไร กาหนดค่า x จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา y กาหนดให้ค่า x เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร ลองกาหนดค่า x เป็ นจานวน 4 แล้วแทนค่าในโจทย์สมการ แล้วแก้สมการหาค่า y
  • 12. 3) สมการ x – 2y = – 6 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั กาหนดให้ x = 4 จงหาค่า y แทนค่า x = 4 ; 4 x – 2y = – 6 นา 4 มาลบทั้งสองข้าง; – 2y = –6 – 4 (ทางขวา –6บวก –4ได้ –10) –2y = –10 นา –2 หารทั้งสองข้าง; y = –10 (ทางขวา –10หารด้ วย –2ได้ 5) –2 y= 5 ่ เมื่อกาหนดให้ x มีคาเป็ น 4 แล้วหาค่า y ได้ 5
  • 13. ทบทวนการทา จากข้อ 3. สมการ x – 2y = – 6 กาหนดให้ x = 4 จงหาค่า y แทนค่า x = 4 ; 4x – 2y = – 6 – 2y = – 6 – 4 – 2 y = – 10 y = – 10 –2 y= 5 ได้คู่อนดับ (4, 5 ) ั ่ ได้จุด(4, 5) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6
  • 14. 4) สมการ x – y = 6 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั แนวคิด เมื่อกาหนดให้ x จะต้องหาค่า y จะต้องกาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไร กาหนดค่า x จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา y กาหนดให้ค่า x เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร ลองกาหนดค่า x เป็ นจานวน 2 แล้วแทนค่าในโจทย์สมการ แล้วแก้สมการหาค่า y
  • 15. 4) สมการ x – y = 6 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั กาหนดให้ x = 2 จงหาค่า y แทนค่า x = 2 ; 2 x –y = 6 นา 2 มาลบทั้งสองข้าง; – y = 6 – 2 (ทางขวา 6บวก –2ได้ 4) –y = 4 นา –1 หารทั้งสองข้าง; y = 4 (ทางขวา 4หารด้ วย –1ได้ –4) –1 y = –4 เมื่อกาหนดให้ x มีค่าเป็ น 2 แล้วหาค่า y ได้ –4
  • 16. ทบทวนการทา จากข้อ 4. สมการ x – y = 6 กาหนดให้ x = 2 จงหาค่า y แทนค่า x = 2 ; 2x – y = 6 –y = 6 –2 –y = 4 y= 4 –1 y = –4 ได้คู่อนดับ (2, – 4 ) ั ่ ได้จุด(2,– 4) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – y = 6
  • 17. 5) สมการ 2x – y = 11 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั แนวคิด เมื่อกาหนดให้ y จะต้องหาค่า x จะต้องกาหนดค่าตัวแปร y เป็ นจานวนเท่าไร กาหนดค่า y จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา x กาหนดให้ค่า y เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร ลองกาหนดค่า y เป็ นจานวน –3 แล้วแทนค่าในโจทย์ สมการ แล้วแก้สมการหาค่า x
  • 18. 5) สมการ 2x – y = 11 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั กาหนดให้ y = –3 จงหาค่า x แทนค่า y = –3 ; 2x – (–3) = 11 y (ทางซ้ าย –1คูณ –3 ได้ 3) 2x + 3 = 11 นา 3 มาลบทั้งสองข้าง; 2 x = 11 – 3 (ทางขวา 11บวก –3ได้ 8) นา 2 หารทั้งสองข้าง; x= 2 8 (ทางขวา 8หารด้ วย 2ได้ 4) x= 4 เมื่อกาหนดให้ y มีค่าเป็ น –3 แล้วหาค่า x ได้ 4
  • 19. ทบทวนการทา จากข้อ 5. สมการ 2x – y = 11 กาหนดให้ y = –3 จงหาค่า x แทนค่า y = –3 ; 2x – (–3) = 11 y 2x + 3 = 11 2x = 11 – 3 x= 8 2 x= 4 ได้คู่อนดับ (4, –3 ) ั ่ ได้จุด(4, –3) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ 2x – y = 11
  • 20. 6.1) สมการ x – 2y = – 6 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั แนวคิด เมื่อกาหนดให้ y จะต้องหาค่า x จะต้องกาหนดค่าตัวแปร y เป็ นจานวนเท่าไร กาหนดค่า y จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา x กาหนดให้ค่า y เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร ลองกาหนดค่า y เป็ นจานวน 0 แล้วแทนค่าในโจทย์สมการ แล้วแก้สมการหาค่า x
  • 21. 6.1) สมการ x – 2y = – 6 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั กาหนดให้ y = 0 จงหาค่า x แทนค่า y = 0 ; x – 2(0) = – 6 y (ซ้าย –2คูณ0 ได้ 0) x –0 = –6 (ซ้าย x – 0 ได้ x ) x = –6 ่ เมื่อกาหนดให้ y มีคาเป็ น 0 แล้วหาค่า x ได้ – 6 ได้คู่อนดับ ( –6, 0 ) ั ่ ได้จุด(–6, 0) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6
  • 22. 6.2) สมการ x – 2y = –6 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั แนวคิด เมื่อกาหนดให้ x จะต้องหาค่า y จะต้องกาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไร กาหนดค่า x จานวนเท่าไร ก็ได้ ที่ง่ายต่อการคานวณหา y กาหนดให้ค่า x เป็ นจานวนเท่าไร ง่ายอย่างไร ลองกาหนดค่า x เป็ นจานวน 0 แล้วแทนค่าในโจทย์สมการ แล้วแก้สมการหาค่า y
  • 23. 6.2) สมการ x – 2y = –6 จงหาคู่อนดับที่เป็ นคาตอบของสมการนี้ ั กาหนดให้ x = 0 จงหาค่า y แทนค่า x = 0 ; (0) – 2y = – 6 x (0 คิดกับ -2yได้ -2y ) –2 y = – 6 นา –2 หารทั้งสองข้าง; y = –6 (ทางขวา –6 หารด้ วย –2ได้ 3) –2 y= 3 ได้คู่อนดับ ( 0, 3 ) ั ่ ได้จุด(0, 3) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6
  • 24. จากข้อ 6.1 และ 6.2 ่ ได้จุด(–6, 0) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6 ่ ได้จุด(0, 3) อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6 เรายังสามารถหาคู่อนดับ หรื อ จุด ได้อีกมากมาย ที่ ั ่ อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ x – 2y = – 6
  • 25. 7.1) สมการ 2x – y = 18 หาจุดคู่อนดับ 3 จุด ั จะต้องกาหนดค่าตัวแปรอะไร กาหนดค่าตัวแปร x หรื อ y ก็ได้ กาหนดค่าตัวแปร y เป็ นจานวนเท่าไรดี กาหนดค่า y เป็ น 0 กาหนดค่า y เป็ น 0 แล้วทาอย่างไรต่อ แทนค่า y เป็ น 0 ในโจทย์สมการ แล้วแก้สมการหาค่า x
  • 26. 7.1) สมการ 2x – y = 18 หาจุดคู่อนดับ 3 จุด ั กาหนดให้ y = 0 จงหาค่า x แทนค่า y = 0 ; 2x – (0) = 18 y 2 x = 18 นา 2 หารทั้งสองข้าง; x = 18 (ทางขวา 18 หารด้ วย 2ได้ 9) 2 x= 9 x 9 y 0
  • 27. 7.2) สมการ 2x – y = 18 จะต้องกาหนดค่าตัวแปรอะไรอีก กาหนดค่าตัวแปร x หรื อ y ก็ได้ กาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไรดี กาหนดค่า x เป็ น 0 กาหนดค่า x เป็ น 0 แล้วทาอย่างไรต่อ แทนค่า x เป็ น 0 ในโจทย์สมการ แล้วแก้สมการหาค่า y
  • 28. 7.2) สมการ 2x – y = 18 กาหนดให้ x = 0 จงหาค่า y แทนค่า x = 0 ; 2(0) – y = 18 x (0คูณ2 ได้ 0 และ-yได้ -y ) – y = 18 นา –1 หารทั้งสองข้าง; y = 18 (ซ้ าย 18 หารด้ วย –1 ได้ – 18 ) –1 y = – 18 x 9 0 y 0 –18
  • 29. 7.3) สมการ 2x – y = 18 จะต้องกาหนดค่าตัวแปรอะไรอีก กาหนดค่าตัวแปร x หรื อ y ก็ได้ กาหนดค่าตัวแปร x เป็ นจานวนเท่าไรดี กาหนดค่า x เป็ น 3 กาหนดค่า x เป็ น 3 แล้วทาอย่างไรต่อ แทนค่า x เป็ น 3 ในโจทย์สมการ แล้วแก้สมการหาค่า y
  • 30. 7.3) สมการ 2x – y = 18 กาหนดให้ x = 3 จงหาค่า y แทนค่า x = 3 ; 2(3) – y = 18 x (ทางซ้ าย 2คูณ3ได้ 6) 6 – y = 18 นา 6 มาลบทั้งสองข้าง; – y = 18 – 6 (ทางขวา18บวก –6ได้ 12) นา –1 มาหารทั้งสองข้าง; y = 12 (ทางขวา12หารด้ วย –1ได้ –12 ) –1 y = –12 x 9 0 3 y 0 –18 –12
  • 31. สรุ ป 7) สมการ 2x – y = 18 x 9 0 3 y 0 –18 –12 ได้จุดคู่อนดับ ั (9, 0), (0, –18), (3, –12) จากคู่อนดับ จะนาไปเขียนกราฟในพิกดมุมฉาก แกน X และ ั ั แกนY ต่อไป
  • 32. 8.1) สมการ x – 4y = 3 หาจุดคู่อนดับ 3 จุด ั กาหนดให้ y = 0 จงหาค่า x แทนค่า y = 0 ; x – 4(0) = 3 y (4คูณ0 ได้ 0 และxได้ x ) x =3 x 3 y 0
  • 33. 8.2) สมการ x – 4y = 3 กาหนดให้ x = –1 จงหาค่า y แทนค่า x = –1; (–1) – 4y = 3 (ทางซ้ าย –1และ – 4 y ) x –1 – 4y = 3 นา 1 บวกทั้งสองข้าง; – 4y = 3 + 1 (ทางขวา 3 บวก 1ได้ 4) 4 นา –4 หารทั้งสองข้าง; y = –4 (ทางขวา 4 หารด้ วย –4ได้ – 1 ) y = –1 x –1 3 y –1 0
  • 34. 8.3) สมการ x – 4y = 3 กาหนดให้ x = 7 จงหาค่า y แทนค่า x = 7; (7) – 4y = 3 (ทางซ้ าย 7และ – 4 y ) x 7 – 4y = 3 นา 7 ลบทั้งสองข้าง; – 4y = 3 – 7 (ทางขวา 3 บวก –7 ได้ –4 ) นา –4 หารทั้งสองข้าง; y = ––4 (ทางขวา–4 หารด้ วย –4ได้ 1 ) 4 y= 1 x –1 3 7 y –1 0 1
  • 35. สรุ ป 8) สมการ x – 4y = 3 x –1 3 7 y –1 0 1 ได้จุดคู่อนดับ (–1, –1 ), (3, 0), ั (7, 1) จากคู่อนดับ จะนาไปเขียนกราฟในพิกดมุมฉาก แกน X และ ั ั แกนY ต่อไป
  • 37. ่ 1) จงหาว่าจุด(1, –2) อยูบนกราฟเส้นตรง 3x – 2y – 7 = 0 ได้หรื อไม่? คิดซิ เราไม่มีกระดาษกราฟด้วย แนวคิด ให้แทนค่า x และ y ด้วย (1, –2) ลงในโจทย์สมการ แล้วคานวณ เปรี ยบเทียบ ทางซ้ายมือ = ทางขวามือ หรื อไม่ ลองทา
  • 38. 1) จะหาว่ าจุด(1, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง 3x – 2y – 7 = 0 วิธีทา จากจุด (1, –2 ) ให้แทนค่า x = 1 และแทนค่า y = – 2 ได้ 3 ( x1) – 2 (–2) – 7 = 0 (ทางซ้ าย 3คูณ1ได้ 3, –2 คูณ –2ได้ 4 ) y 3 + 4 –7 = 0 (ทางซ้ าย 3บวก 4 ได้ 7 ) 7 –7 = 0 (ทางซ้ าย 7 บวก –7 ได้ 0 ) 0 = 0 (เป็ นจริ ง) ได้ จุด(1, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง สมการ 3x – 2y – 7 = 0 ได้
  • 39. สรุป 1) จงหาว่ าจุด(1, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง 3x – 2y – 7 = 0 ได้ หรือไม่ ? จากโจทย์ ใช้ค่า (1, –2) แทนค่า (x, y) ใน สมการ 3x – 2y – 7 = 0 ถ้าผลลัพธ์ ได้ ทางซ้ายมือ = ทางขวามือ (จริง) ่ แสดงว่าจุด อยูบนเส้นกราฟ หรื อเป็ นคาตอบของสมการนี้ได้
  • 40. 2) จงหาว่ าจุด(3, –4) อยู่บนกราฟเส้ นตรงทีมีสมการ ่ 2x + 5y – 1 = 0 ได้ หรือไม่ ? คล้ายข้อ 1 แนวคิด ให้แทนค่า x และ y ด้วย (3, –4) ลงในโจทย์สมการ แล้วคานวณ เปรี ยบเทียบ ทางซ้ายมือ = ทางขวามือ หรื อไม่ ลองทา
  • 41. ่ 2) จะหาว่าจุด(3, –4) อยูบนกราฟเส้นตรง 2x + 5y – 1 = 0 วิธีทา จากจุด (3, – 4 ) ให้แทนค่า x = 3 และแทนค่า y = – 4 2(x3) + 5 (–4) – 1 = 0 y (ทางซ้ าย 2คูณ3ได้ 6 , 5คูณ –4ได้ –20 ) 6 – 20 – 1 = 0 (ทางซ้ าย –20 บวก –1ได้ –21 ) 6 – 21 = 0 (ทางซ้ าย 6 บวก –21ได้ –15 ) – 15 = 0 (เป็ นเท็จ) ่ ได้จุด(3, –4) ไม่อยูบนกราฟเส้นตรง สมการ 2x + 5y – 1 = 0
  • 42. สรุป 2) จงหาว่าจุด(3, –4) อยูบนกราฟเส้นตรง 2x + 5y – 1 = 0 ่ ได้หรื อไม่? จากโจทย์ ใช้ค่า (3, –4) แทนค่า (x, y) ใน สมการ 2x + 5y – 1 = 0 ถ้าผลลัพธ์ ได้ ทางซ้ายมือ  ทางขวามือ (เท็จ) แสดง ว่าจุด ไม่ อยู่บนเส้นกราฟ หรื อไม่ เป็ น คาตอบของสมการนี้ได้
  • 43. 3) จงหาค่ า k ทีทาให้ จุด(–2, k) อยู่บนกราฟเส้ นตรง ่ 4x – 3y – 7 = 0 ได้ จะต้องหาค่า k อย่างไร ต้องมีสมการจึงหาค่า k ได้ สร้างสมการจากอะไร โจทย์เป็ นรู ปสมการใช่หรื อไม่ โจทย์เป็ นรู ปสมการก็เห็นออยู่ จะทาอย่างไรต่อ ั ่ ั จุดพิกดอยูบนเส้นกราฟของสมการได้ ต้องนาค่าจุดพิกดแทน ค่า x และ y ในสมการนันเอง ่
  • 44. ่ 3) จะหาค่า k ที่จุด(–2, k) อยูบนกราฟเส้นตรง 4x – 3y – 7 = 0 วิธีทา จากจุด (– 2 , k ) ให้แทนค่า x = – 2 และแทนค่า y = k ได้ 4 (–2) – 3 (k) – 7 = 0 x y (ทางซ้ าย 4คูณ –2 ได้ –8 , –3คูณkได้ –3k) – 8 – 3k – 7 = 0 (ทางซ้ าย –8 บวก –7 ได้ –15 ) – 15 – 3k = 0 (จากทางซ้ ายกาจัด –15 ได้ +15) นา –3 มาหาร; – 3 k = 0 + 15 (จากทางซ้ ายกาจัด –3 ) k = 15 (จากทางขวา 15 หารด้ วย –3ได้ –5) –3 ได้ k = –5
  • 45. แบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัดแสดงวิธีทา ผูเ้ รี ยนต้องใช้สมุดแบบฝึ กหัดทา มี 5 ข้อ
  • 46. แบบฝึ กหัด 1) จงตรวจว่ าจุด(–4, 5) อยู่บนกราฟของเส้ นตรงมี สมการคือ 2x + y = – 3 หรือไม่ ? 2) จงตรวจว่ าจุด(4, –3) ทีสอดคล้ องกับ ่ สมการ 3x + 2y – 6 = 0 หรือไม่ ? หมายเหตุ จุด หรื อคู่อนดับ ที่อยูบนกราฟเส้นตรงได้ อาจ ั ่ เรี ยกว่า จุด หรื อ คู่อนดับที่สอดคล้องกับสมการเส้นตรงอาจ ั เรี ยกว่า จุด หรื อ คู่อนดับเป็ นคาตอบของสมการเส้นตรงก็ได้ ั
  • 47. 3) จงสมาชิกทีเ่ หลือของจุด(5, ....) ทีอยู่บนกราฟของ ่ เส้ นตรงมีสมการ 2x + 3y = 31 4) จงสมาชิกทีเ่ หลือของจุด(..., 2) ทีอยู่บนกราฟของ ่ เส้ นตรงมีสมการ 5x – 4y – 12 = 0 5) จงหาค่ า k จากสมการ 3x – ky = 8 เมื่อมีจุด(4, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง
  • 48. เฉลย 1) จงตรวจว่ าจุด(–4, 5) อยู่บนกราฟของเส้ นตรงมี สมการคือ 2x + y = – 3 หรือไม่ ? จะตรวจว่ าจุด(–4, 5) อยู่บนกราฟเส้ นตรง 2x + y = – 3 วิธีทา จากจุด (– 4, 5 ) ให้ แทนค่ า x = – 4 และแทนค่ า y = 5 (ทางซ้ าย 2คูณ –4 ได้ –8 , + 5 ได้ + 5) ได้ 2 (– 4 + =(5) 3 ) – –8 + 5 = –3 (ทางซ้ าย –8 บวก 5 ได้ –3 ) –3 = –3 (เป็ นจริง) จุด(–4, 5) อยู่บนกราฟเส้ นตรง สมการ 2x + y = – 3 ได้
  • 49. เฉลย 2) จงตรวจว่ าจุด(4, –3) ทีสอดคล้ องกับ ่ สมการ 3x + 2y – 6 = 0 หรือไม่ ? จะหาว่ าจุด(4, –3) สอดคล้ องกับสมการ 3x + 2y – 6 = 0 วิธีทา จากจุด (4, – 3 ) ให้ แทนค่ า x = 4 และแทนค่ า y = – 3 ได้ 3 ( 4) 2 (– 6 = 0 + – 3) (ทางซ้ าย 3คูณ4 ได้ 12 , 2คูณ –3 ได้ –6) 12 – 6 – 6 = 0 (ทางซ้ าย –6บวก –6 ได้ –12 ) 12 – 12 = 0 (ทางซ้ าย 12บวก –12 ได้ 0) 0 = 0 (เป็ นจริง) ได้ จุด(4, –3) สอดคล้ องกับสมการ 3x + 2y – 6 = 0
  • 50. เฉลย 3) จงสมาชิกทีเ่ หลือของจุด(5, ....) ทีอยู่บนกราฟ ่ ของเส้ นตรงมีสมการ 2x + 3y = 31 จะหาค่ า y ทีจุด(5, …) อยู่บนกราฟเส้ นตรง 2x + 3y = 31 ่ วิธีทา ให้ จากจุด (5 , y ) ให้ แทนค่ า x = 5 หาค่ า y ได้ 2 ( 5+) 3 = 31 y (ทางซ้ าย 2คูณ5 ได้ 10 ) 10 + 3y = 31 นา 10 มาลบ; 3y = 31 – 10 (ทางขวา 31บวก – 10 ได้ 21 ) นา 3 มาหาร; y = 21 (ทางขวา 21หารด้ วย 3 ได้ 7 ) 3 ได้ y = 7
  • 51. เฉลย4) จงสมาชิกทีเ่ หลือของจุด(..., 2) ทีอยู่บนกราฟ ่ ของเส้ นตรงมีสมการ 5x – 4y – 12 = 0 จะหาค่ า x ทีจุด(..., 2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง 5x – 4y – 12 = 0 ่ วิธีทา ให้ จากจุด (x , 2 ) ให้ แทนค่ า y = 2 หาค่ า x ได้ 5 x 4 –(2) = 0 – 12 (ทางซ้ าย –4 คูณ 2 ได้ –8 ) 5x – 8 – 12 = 0 (ทางซ้ าย –8 บวก –12 ได้ –20) 5x – 20 = 0 นา 20 มาบวก; 5x = 0 + 20 นา 5 มาหาร; x = 20 (ทางขวา 20หารด้ วย 5 ได้ 4 ) 5 ได้ x = 4
  • 52. เฉลย 5) จงหาค่ า k จากสมการ 3x – ky = 8 เมื่อมีจุด (4, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง จะหาค่ า k ทีมีจุด(4, –2) อยู่บนกราฟเส้ นตรง 3x – ky = 8 ่ วิธีทา จากจุด (4, – 2) ให้ แทนค่ า x = 4 และแทนค่ า y = – 2 ได้ 3 ( 4)– k (– 2) 8 = (ทางซ้ าย 3คูณ4 ได้ 12และ –kคูณ –2ได้ –2k ) 12 + 2k = 8 นา 12 มาลบ; 2k = 8 – 12 (ทางซ้ าย –8 บวก –12 ได้ –20) นา 2 มาหาร; k = – 2 4 (ทางขวา –4หารด้ วย 2 ได้ –2 ) k = –2 ได้สมการ 3x – (–2)y = 8 ได้เป็ น 3x + 2y = 8