SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
คณิตศาสตรประถมศึกษา

                            6. ทศนิยม และการบวก การลบทศนิยม

จุดประสงคของการอบรม เพื่อใหผูเขารับการอบรม
   1. ไดรับความรูความเขาใจเกียวกับ
                                ่
       • ความหมาย การอานและการเขียนทศนิยม
       • หลัก คาประจําหลัก และคาของเลขโดดในแตละหลัก และการเขียนในรูปกระจาย
       • การเปรียบเทียบทศนิยม
       • ทศนิยมกับการนําไปใช
       • การบวกทศนิยม
       • การลบทศนิยม
    2. ไดแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่องทศนิยม และการบวก ลบทศนิยม

สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
    1. ทศนิยมเปนสัญลักษณใชเขียนแทนจํานวน เชน 0.1, 0.25, 3.254
    2. การอานทศนิยม ตัวเลขหนาจุดทศนิยมใหอานแบบจํานวนนับ ตัวเลขหลังจุดทศนิยมใหอาน
       แบบเรียงตัว เชน 0.1 อานวา ศูนยจุดหนึ่ง 135.69 อานวา หนึ่งรอยสามสิบหาจุดหกเกา
    3. เลขโดดหลังจุดทศนิยมในตําแหนงที่หนึ่ง เรียกวา ทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง เลขโดดหลัง
       จุดทศนิยมในตําแหนงที่สอง เรียกวา ทศนิยมตําแหนงที่สอง เลขโดดหลังจุดทศนิยม
       ในตําแหนงที่สาม เรียกวา ทศนิยมตําแหนงที่สาม
   4. จํานวนเลขโดดหลังจุดทศนิยมเปนการบอกวา จํานวนนันเปนทศนิยมกี่ตําแหนง เชน
                                                             ้
       1.28 เปนทศนิยมสองตําแหนง 6.039 เปนทศนิยมสามตําแหนง
   5. เลขโดดที่อยูหลังจุดทศนิยมในตําแหนงทีหนึ่ง อยูในหลักสวนสิบ มีคาประจําหลัก
                                              ่
              1
        เปน 10 หรือ 0.1 เลขโดดที่อยูหลังจุดทศนิยมในตําแหนงที่สอง อยูในหลักสวนรอย
                                     
                             1
        มีคาประจําหลักเปน 100 หรือ 0.01 เลขโดดที่อยูหลังจุดทศนิยมในตําแหนงที่สาม
                                                 1
        อยูในหลักสวนพัน มีคาประจําหลักเปน 1000 หรือ 0.001
   6. การเขียนแสดงทศนิยมใด ๆ ในรูปกระจายเปนการเขียนในรูปการบวกคาของเลขโดด
       ในหลักตาง ๆ ของทศนิยมนัน  ้
   7. การเปรียบเทียบทศนิยมไมเกินสามตําแหนง อาจใชการเปรียบเทียบทีละหลัก โดยเปรียบเทียบ
       คาของเลขโดดหนาจุดทศนิยมกอน ถาเทากันจึงเปรียบเทียบคาของเลขโดดหลังจุดทศนิยม
       ในหลักสวนสิบ(ทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง) ถาเทากันอีกจึงเปรียบเทียบคาของเลขโดดใน

       หลักสวนรอย(ทศนิยมตําแหนงที่สอง) และถาเทากันอีกจึงเปรียบเทียบคาของเลขโดดใน

                              สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                      85
คณิตศาสตรประถมศึกษา

         หลักสวนพัน(ทศนิยมตําแหนงที่สาม)
     8. ทศนิยมกับเศษสวนมีความสัมพันธกน คือทศนิยมสามารถเขียนในรูปเศษสวนได ทศนิยม
                                           ั
          หนึ่งตําแหนง ทศนิยมสองตําแหนง และทศนิยมสามตําแหนงสามารถเขียนในรูปเศษสวน
         ที่มีตัวสวนเปน 10 เปน 100 และเปน 1000 ตามลําดับ และเศษสวนที่มีตัวสวนเปน 10, 100
         และ 1000 สามารถเขียนเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง สองตําแหนง และสามตําแหนงตามลําดับ
     9. การหาคาประมาณใกลเคียงทศนิยมหนึ่งตําแหนงของทศนิยมใด อาจทําไดโดยพิจารณาคาของ
         เลขโดดในหลักสวนรอยของทศนิยมนัน ถามีคาตั้งแต 0.05 ขึ้นไป ใหประมาณเปนทศนิยม
                                             ้
         หนึ่งตําแหนงที่มากกวาทศนิยมนัน ถามีคานอยกวา 0.05 ใหประมาณเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง
                                         ้
         ที่นอยกวาทศนิยมนัน  ้
     10. การหาคาประมาณใกลเคียงทศนิยมสองตําแหนงของทศนิยมใด อาจทําไดโดยพิจารณาคาของ
         เลขโดด ในหลักสวนพันของทศนิยมนัน ถามีคาตั้งแต 0.005 ขึ้นไป ใหประมาณเปนทศนิยม
                                               ้
         สองตําแหนงที่มากกวาทศนิยมนัน ถามีคานอยกวา 0.005 ใหประมาณเปนทศนิยมสองตําแหนง
                                       ้
         ที่นอยกวาทศนิยมนัน้
     11. การบวกทศนิยม ใชหลักการเดียวกันกับการบวกจํานวนนับคือ นําจํานวนที่อยูในหลักเดียวกัน
         มาบวกกัน ถาผลบวกในหลักใดเปนสองหลักใหทดจํานวนที่ครบสิบไปรวมกับผลบวกของ
         จํานวนในหลักถัดไปทางซายมือ
     12. การลบทศนิยม ใชหลักการเดียวกันกับการลบจํานวนนับคือ นําจํานวนที่อยูในหลักเดียวกัน
         มาลบกัน ถาตัวเลขในหลักใดของตัวตั้งนอยกวาตัวเลขในหลักนันของตัวลบ จะตองกระจายตัวตั้ง
                                                                      ้
         จากหลักที่อยูถัดไปทางซายมือมารวมกับจํานวนในหลักนั้นแลวจึงลบกัน
                       

ทศนิยม
        การบอกปริมาณของสิ่งของหรือจํานวนในชีวิตประจําวัน เชน ความกวาง ความยาว น้ําหนัก
อุณหภูมิของอากาศ การคิดภาษี ฯลฯ บางครั้งไมสามารถบอกปริมาณที่แทจริงเปนจํานวนเต็มได เนื่องจาก
การใชหนวยทีเ่ ปนจํานวนเต็มอยางเดียวไมเพียงพอ ยังมีปริมาณที่เปนเศษของหนวยหรือไมเต็มหนวย จึงตองมี
การเขียนตัวเลขแทนปริมาณเหลานั้นอีกอยางหนึ่ง เรียกวา ทศนิยม ซึ่งมีการตกลงที่เปนสากล ดังนี้

♦    การเขียนทศนิยม ใช “ . ” เรียกวา จุดทศนิยม คั่นระหวางจํานวนนับกับเศษของหนวย เชน
                                3 . 1 2
                                                เศษของหนวย
                                                จุดทศนิยม
                                                จํานวนนับ




86                              สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

♦   การอานทศนิยม ตัวเลขหนาจุดทศนิยมอานแบบจํานวนนับ ตัวเลขหลังจุดทศนิยมอานแบบเรียงตัว เชน
                              0.02 อานวา ศูนยจดศูนยสอง
                                                 ุ
                              1.50 อานวา หนึ่งจุดหาศูนย
                            12.235 อานวา สิบสองจุดสองสามหา

♦   ความหมายของทศนิยม
       ทศนิยมที่มีตวเลขหลังจุดทศนิยม 1 ตัว เปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง ตัวเลขที่อยูหลังจุดทศนิยมแสดง
                     ั
จํานวนวามีกี่สวนใน 10 สวนที่เทา ๆ กัน เชน
                                                                       0.1


                                                                       0.3

                                                                       1.0

                                                                       1.4

                                                                       2.7



       จะเห็นวา 0.1 และ 0.3 มีตัวเลข 0 อยูหนาจุดทศนิยม แสดงวา 0.1 และ 0.3
เปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงทีมากกวา 0 แตนอยกวา 1
                           ่
       1.0 เปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงที่เทากับ 1 หรือ จํานวนนับ 1 เขียนในรูปทศนิยมหนึ่งตําแหนงได 1.0
       1.4 และ 2.7 มีตัวเลข 1 และ 2 อยูหนาจุดทศนิยม แสดงวา 1.4 และ 2.7
เปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงทีมากกวา 1
                         ่

           ทศนิยมที่มีตวเลขหลังจุดทศนิยม 2 ตัว เปนทศนิยมสองตําแหนง ตัวเลขหลังจุดทศนิยมแสดงจํานวน
                       ั
วามีกี่สวนใน 100 สวนที่เทา ๆ กัน จากจุดทศนิยมนับไปทางขวามือตัวเลขตัวทีหนึ่งเปนทศนิยมตําแหนงทีหนึ่ง
                                                                          ่                        ่
ตัวเลขตัวที่สองเปนทศนิยมตําแหนงที่สอง เชน
                                                        0.09
                                                               ทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง
                                                               ทศนิยมตําแหนงที่สอง



                               สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                         87
คณิตศาสตรประถมศึกษา

                                                       0.25
                                                               ทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง
                                                               ทศนิยมตําแหนงที่สอง

                                                       1.00



                                                       2.36


             0.09 และ 0.25 เปนทศนิยมสองตําแหนงทีนอยกวา 1
                                                      ่
             1.00 เปนทศนิยมสองตําแหนงที่เทากับ 1 หรือ จํานวนนับ 1 เขียนในรูป
ทศนิยมสองตําแหนงได 1.00
             2.36 เปนทศนิยมสองตําแหนงทีมากกวา 1
                                           ่
♦ การเขียนทศนิยมสองตําแหนง ใหสังเกตความแตกตางระหวาง 0.06 กับ 0.60 และ 0.6 ดังนี้
            ภาพที่ 1                         ภาพที่ 2                    ภาพที่ 3




               0.06                             0.60                             0.6
         จากภาพที่ 1 สวนที่ระบายสีมี 6 สวนใน 100 สวน จะเขียนเปนทศนิยมสองตําแหนงแตมีตวเลข 6
                                                                                              ั
เพียงตัวเดียว จึงตองเติมตัวเลข 0 หนาตัวเลข 6 อีกหนึงตัว ดังนัน 6 สวนใน 100 สวน จึงเขียนแทนดวย
                                                     ่         ้
0.06 การเติมตัวเลข 0 อีกหนึ่งตัวดังกลาวจะเติมหลังตัวเลข 6 ไมได เพราะเมื่อเขียนในรูปทศนิยมจะได 0.60
ซึ่งหมายความวามี 60 สวนใน 100 สวน (ดังภาพที่ 2) แตถาไมเติมตัวเลข 0 เมื่อเขียนในรูปทศนิยมจะได
0.6 ซึ่งหมายความวา มี 6 สวนใน 10 สวน (ดังภาพที่ 3) ซึ่ง 0.6 = 0.60




88                             สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

การพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับทศนิยม

       ในกรณีที่เปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง อาจนําแผนภาพทีแสดงทศนิยมตังแต 0.1 ถึง 1.0
                                                      ่           ้
                                               0.1
                                               0.2
                                               0.3
                                               0.4
                                               0.5
                                               0.6
                                               0.7
                                               0.8
                                               0.9
                                               1 หรือ 1.0

เมื่อสังเกตจะพบวา
          0.5 เทากับครึ่งของ 1 พอดี
          0.1 , 0.2 , 0.3 , และ 0.4 มากกวา 0 แตนอยกวาครึ่ง
                                                    
          0.6 , 0.7 , 0.8 , และ 0.9 มากกวาครึ่ง แตนอยกวา 1
          ในกรณีที่เปนทศนิยมสองตําแหนง อาจนําแผนภาพแสดงประกอบ




                 0.49                 0.50                0.99             1 หรือ 1.00
เมื่อสังเกตจะพบวา ทศนิยมที่ตัวเลขหนาจุดทศนิยมเปน 0 เปนทศนิยมที่มากกวา 0 แตนอยกวา 1 โดยที่
          0.01 ถึง 0.49 มากกวา 0 แตนอยกวาครึ่ง
          0.50 เทากับครึ่งพอดี
          0.51 ถึง 0.99 มากกวาครึ่ง แตนอยกวา 1
                                         




                               สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                          89
คณิตศาสตรประถมศึกษา

 คาของเลขโดดตามคาประจําหลัก
         คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงทีหนึ่ง เทากับ 1 ของคาประจําหลักของหลักหนวย และ
                                            ่
                                                        10
 คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สอง เทากับ 1 ของคาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง
                                                10
 คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สาม เทากับ 1 ของคาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สอง และจาก
                                               10
 คาประจําหลักหนวยเทากับ 1 ดังนั้นคาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่หนึ่งเทากับ 1 คูณ 1 เทากับ 1
                                                                                  10              10
 หรือ 0.1 คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สองเทากับ 1 คูณ 1 เทากับ 1 หรือ 0.01 และ
                                                        10       10         100
                                                        1             1
 คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สามเทากับ 1 คูณ 100 เทากับ 1000 หรือ 0.001
                                              10
         สรุปวาคาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่หนึ่งตัวสวนเปน 10 คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สองมี
 ตัวสวนเปน 100 และคาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สามมีตัวสวนเปน 1000 จึงเรียกชื่อหลักของทศนิยม
 ตําแหนงทีหนึงวา หลักสวนสิบ เรียกชื่อหลักของทศนิยมตําแหนงที่สองวาหลักสวนรอย และเรียกชื่อหลักของ
           ่ ่
 ทศนิยมตําแหนงที่สามวาหลักสวนพัน ซึงสามารถเขียนเปนตารางแสดงชื่อหลัก และคาประจําหลัก ดังนี้
                                        ่

   ชื่อหลัก   หลักรอย หลักสิบ หลักหนวย           หลักสวนสิบ      หลักสวนรอย        หลักสวนพัน
คาประจําหลัก 100        10        1                1 หรือ 0.1      1 หรือ 0.01         1
                                                   10              100                1000 หรือ 0.001

 ตัวอยาง    คาของเลขโดดตามคาประจําหลัก 216.397
                 2 อยูในหลักรอย     มีคาเปน 200
                 1 อยูในหลักสิบ      มีคาเปน 10
                 6 อยูในหลักหนวย มีคาเปน 6
                 3 อยูในหลักสวนสิบ มีคาเปน 3 หรือ 0.3
                                                10
                                                 9
                 9 อยูในหลักสวนรอย มีคาเปน 100 หรือ 0.09
                                                7
                7 อยูในหลักสวนพัน มีคาเปน 1000 หรือ 0.007

 การเขียนทศนิยมในรูปกระจาย
         การเขียนทศนิยมในรูปกระจาย เปนการกระจายคาของเลขโดดในหลักตาง ๆ ทีละหลัก แลวนําคา
 ของเลขโดดแตละหลักมาเขียนในรูปการบวก เชน 429.753 สามารถเขียนในรูปกระจายได ดังนี้




 90                             สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

                                         4 2 9. 7 5 3
                                400 20 9 0.7 0.05 0.003

                        429.75 = 400 + 20 + 9 + 0.7 + 0.05 + 0.003
        ในกรณีที่มีเลขโดดหลักใดหลักหนึ่งเปน 0 เมื่อเขียนในรูปกระจายอาจเขียน 0 หรือไมเขียน 0 ก็ได
เชน 108.32 สามารถเขียนในรูปกระจาย ดังนี้ 108.32 = 100 + 0 + 8 + 0.3 + 0.02 หรือ
108.32 = 100 + 8 + 0.3 + 0.02
การเขียนตัวเลข 0 ตอทายทศนิยม
        การเขียนตัวเลข 0 ตอทายทศนิยม หรือตัดตัวเลข 0 ตัวทายสุดของทศนิยมใด ๆ ไมทําใหคาของ
ทศนิยมนันเปลี่ยนไปหรือทศนิยมนันมีคาเทาเดิม ถาตองการเขียนทศนิยมหนึ่งตําแหนงใหเปนทศนิยม
          ้                       ้
สองตําแหนงแลวยังคงมีคาเทาเดิม ทําไดโดยเติม 0 ตอทายทศนิยมตําแหนงทีหนึงอีก 1 ตัว เชน
                                                                         ่ ่
        0.2 = 0.20
        0.9 = 0.90
        1.5 = 1.50
หรือถาตองการเขียนทศนิยมสองตําแหนงที่ตัวทายสุดเปน 0 ใหเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงที่มีคาเทาเดิมทําได
โดยตัด 0 ตัวทายสุดออกไป 1 ตัว เชน
        0.60 = 0.6
        2.10 = 2.1
        5.80 = 5.8


การเปรียบเทียบทศนิยม
          การเปรียบเทียบทศนิยม ใหเปรียบเทียบจํานวนที่อยูในหลักเดียวกันทีละหลัก โดยเริมจากจํานวน
                                                                                       ่
ที่อยูหนาจุดทศนิยม ซึ่งเปนจํานวนเต็มหนวยกอน ถาจํานวนใดมีคามากกวา ทศนิยมนั้นก็จะมีคามากกวา
ถาจํานวนที่อยูหนาจุดทศนิยมมีคาเทากัน ใหเปรียบเทียบจํานวนที่อยูหลังจุดทศนิยมในตําแหนงที่หนึ่ง สอง
                                                                  
ตามลําดับ เชน เปรียบเทียบ 1.5 กับ 1.3 เลขโดดในหลักหนวย มีคาเทากัน คือ 1 เทากับ 1 จึงเปรียบเทียบ
5 และ 3 ในหลักสวนสิบ หรือทศนิยมตําแหนงทีหนึ่ง ซึ่งคาของ 5 มากกวาคาของ 3 ดังนั้น 1.5 มากกวา 1.3
                                                 ่
หรือ 1.3 นอยกวา 1.5 หรือ 1.5 > 1.3 หรือ 1.3 < 1.5
          การเปรียบเทียบทศนิยมสองตําแหนงกับทศนิยมสองตําแหนงสามารถใชวิธีการเชนเดียวกันกับการ
เปรียบเทียบทศนิยมหนึ่งตําแหนงกับทศนิยมหนึ่งตําแหนง
          สําหรับการเปรียบเทียบทศนิยมหนึ่งตําแหนงกับทศนิยมสองตําแหนงอาจทําไดโดยเปลี่ยนทศนิยม
หนึ่งตําแหนงใหเปนทศนิยมสองตําแหนงกอน แลวจึงเปรียบเทียบทีละหลัก เชน เปรียบเทียบ 2.3 กับ 2.34


                                สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                           91
คณิตศาสตรประถมศึกษา

เขียน 2.3 เปนทศนิยมสองตําแหนงได 2.30 นํา 2.30 และ 2.34 มาเปรียบเทียบกันทีละหลัก เลขโดดใน
หลักหนวย คือ 2 มีคาเทากัน เลขโดดในหลักสวนสิบ คือ 3 มีคาเทากัน เลขโดดในหลักสวนรอย คาของ 0
                                                              
นอยกวาคาของ 4 จะได 2.30 นอยกวา 2.34 ดังนั้น 2.3 นอยกวา 2.34 หรือ 2.34 มากกวา 2.3 หรือ
2.3 < 2.34 หรือ 2.34 > 2.3
         การเปรียบเทียบทศนิยมหนึ่งตําแหนงกับทศนิยมสองตําแหนงในกรณีทเี่ ลขโดดในหลักสวนสิบมีคา
ไมเทากัน อาจใชการเปรียบเทียบคาของเลขโดดที่อยูในหลักเดียวกันทีละหลักเชนเดียวกับจํานวนนับ โดยไม
ตองเขียนทศนิยมหนึ่งตําแหนงเปนทศนิยมสองตําแหนงก็ได เชน เปรียบเทียบ 2.5 กับ 2.48 เลขโดดใน
หลักหนวยมีคาเทากัน คือ 2 เทากับ 2 คาของเลขโดดในหลักสวนสิบ 5 มากกวา 4 จึงสรุปไดวา 2.5
                                                                                           
มากกวา 2.48 หรือ 2.48 นอยกวา 2.5 หรือ 2.5 > 2.48 หรือ 2.48 < 2.5

ความสัมพันธระหวางทศนิยมกับเศษสวน

        ทศนิยมกับเศษสวนมีความสัมพันธกัน คือทศนิยมสามารถเขียนในรูปเศษสวนได ทศนิยมหนึ่ง
ตําแหนง ทศนิยมสองตําแหนงสามารถเขียนในรูปเศษสวนที่มีตวสวนเปน 10 เปน 100 ตามลําดับ เชน
                                                       ั
               0.4 = 4
                       10
                         6 16
               1.6 = 1 10 = 10
                        5
               0.05 = 100
                         27    327
               3.27 = 3 100 = 100
และเศษสวนก็สามารถเขียนในรูปทศนิยมได โดยเขียนเศษสวนที่มีตวสวนเปน 10 และ 100 ในรูปทศนิยม
                                                                ั
และสรุปวาเศษสวนแทหรือจํานวนคละ ที่มีตัวสวนเปน 10 เขียนเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงได โดยจํานวน
ที่เปนตัวเศษจะเปนทศนิยมตําแหนงทีหนึง เศษเกินที่มตัวสวนเปน 10 เขียนเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงได
                                   ่ ่             ี
โดยอาจเขียนเศษเกินในรูปจํานวนคละกอนหรืออาจเขียนจํานวนที่เปนตัวเศษใหเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง เชน
                   4
                  10 = 0.4
                   9
                2 10 = 2.9
                  12 = 1 2 = 1.2
                  10       10
          หรือ 1012 = 1.2

        สําหรับการเขียนเศษสวนทีมีตัวสวนเปน 100 ใหอยูในรูปทศนิยมสองตําแหนง อาจใชวิธีการเดียวกัน
                                 ่                      
กับการเขียนเศษสวนที่มีตวสวนเปน 10 ใหอยูในรูปทศนิยมหนึ่งตําแหนงและสรุปวา เศษสวนแท ที่มีตวสวน
                        ั                                                                       ั
เปน 100 ตัวเศษเปนจํานวนที่มีสองหลักเขียนเปนทศนิยมสองตําแหนงได โดยจํานวนที่เปนตัวเศษจะเปน



92                             สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

ทศนิยมตําแหนงที่หนึ่งและที่สองตามลําดับ ถาตัวเศษเปนจํานวนที่มีหลักเดียว เมื่อเขียนเปนทศนิยมสอง
ตําแหนงตองเติม 0 อีก 1 ตัว
                  45 = 0.45
                 100
                  7
                 100 = 0.07
                 115      15
                 100 = 1 100 = 1.15
เพื่อใหมองเห็นความสัมพันธระหวางทศนิยมกับเรื่องอื่น ๆ จึงเสนอสิ่งที่นารูเกี่ยวกับทศนิยมเพิ่มเติมไว ดังนี้
1. จํานวนนับทุกจํานวนสามารถเขียนในรูปทศนิยมได เชน
          จํานวนนับ                                           ทศนิยม
               5                    5.0                    5.00                     5.000
              10                   10.0                   10.00                    10.000
             234                  234.0                  234.00                   234.000

2. การเปรียบเทียบคาของจํานวนเงินที่มหนวยเปนสตางคกบ 1 บาท ดังนี้
                                      ี                ั
       100 สตางค เทากับ 1 บาท
         1 สตางค เทากับ 0.01 บาท
         5 สตางค เทากับ 0.05 บาท
        25 สตางค เทากับ 0.25 บาท
        50 สตางค เทากับ 0.50 บาท
        75 สตางค เทากับ 0.75 บาท
       100 สตางค เทากับ 1.00 บาท
3. การวัดความยาวที่มีหนวยเปนนิ้ว เชน 1.5 นิ้ว หมายถึง 1 นิ้วครึ่ง ไมใช 1 นิ้วกับ 5 ชอง

                                                            1 นิ้ว ไมไดแบงเปน 10 ชอง

                   สีเทียนยาว 1.5 นิ้ว
4. การใชจุด “ . ” เกี่ยวกับเวลา เชน
      2.5 ชั่วโมง        หมายถึง           2 ชั่วโมงครึ่ง หรือ 2 ชั่วโมง 30 นาที
      2.50 น.            หมายถึง           2 นาฬิกา 50 นาที




                                   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                               93
คณิตศาสตรประถมศึกษา


กิจกรรมเสริมทศนิยม
                                                 BEAT THE CLOCK




                     ที่มา : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/beatclock.html
1. สงตัวแทนออกมาแขงขัน(แขงเปนรายกลุม หรือรายบุคคลก็ได)
                                             
2. ครูเปนผูกําหนดระดับความยากงายของเกม(มี 2 ระดับคือ Beginner และ Advanced)
3. ครูเปนผูกําหนดความเร็วของการจับเวลา(มี 3 ระดับคือ Slow Medium และ Fast)
4. กลุมใดหรือคนใดทําไดถูกตองมากที่สุดภายในเวลาที่กําหนดเปนผูชนะ
วิธีการเขาสูเกม
1. เขาสูเว็บไซต : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/beatclock.html
     หมายเหตุ : เพื่อความสะดวกในการนําไปใช ครูควร Save Offline เกมนี้ไวในคอมพิวเตอร
2. ปรากฏหนาตาง




     2.1 เลือกที่จะเลนคนเดียว คลิกปุม clock           2.2 ใสชื่อผูเลน(ชื่อจริง หรือชื่อสมมติก็ได
         เลือกที่จะเลนกับเพื่อนอีกคน คลิกปุม              แตเปนภาษาอังกฤษ)
         player

94                                    สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา




   2.3 เลือกระดับความยากงายของเกม                 2.4 เลือกระดับความเร็วของการจับเวลา
       มี 2 ระดับคือ Beginner และ Advanced             มี 3 ระดับคือ Slow Medium และ Fast
       หลังจากเลือกแลว จะปรากฏปุม Next ใหกด         หลังจากเลือกแลว จะปรากฏปุม Let’s Play
       ปุม Next                                       ใหกดปุม Let’s Play เพื่อเขาสูเกม




           2.5 ถาเลือกเลนคนเดียวจะปรากฏหนาตาของเกมคลายๆกับหนาตางดานซายมือ
               ถาเลือกเลนกับเพื่อนจะปรากฏหนาตาของเกมคลายๆกับหนาตางดานขวามือ
วิธการเลน
   ี
     1. ใชเมาสคลิกที่แผนสี่เหลียมจะปรากฏแผนตารางมีสวนที่แรเงา
                                  ่
     2. ใหพิมพทศนิยมแสดงความหมายของสวนที่แรเงานัน      ้
     3. เมื่อพิมพทศนิยมเสร็จแลว ใชเมาสคลิกที่รูปนาฬิกาที่จับเวลา
     4. เข็มนาฬิกาจะหยุดเดิน และโปรแกรมจะบอกคุณวาทศนิยมที่พิมพลงไปนั้นถูกหรือผิด
         ถาผิดโปรแกรมก็จะบอกวาที่ถกคือทศนิยมใด
                                       ู
     5. เริ่มเลนตอโดยการใชเมาสคลิกที่รูปนาฬิกาทีจับเวลา
                                                    ่
     6. เกมจบเมือเข็มนาฬิกาเดินครบ 1 รอบ
                  ่
     7. สามารถดูวาทําไดถูกกี่ขอ ผิดกี่ขอจากขอความใตรูปนาฬิกา
                                    
     8. สามารถเปดหรือปดเสียงไดจากรูปลําโพงดานบนขวามือของเกม




                                 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                          95
คณิตศาสตรประถมศึกษา

                                            Concentration




                   ที่มา : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/concentration.html
     1. สงตัวแทนออกมาแขงขัน(แขงเปนรายกลุม หรือรายบุคคลก็ได)
     2. ครูเปนผูกําหนดระดับของการเลน(มี 2 ระดับคือ Beginner หงายบัตรได 4 ครั้งและ Advanced
         หงายบัตรได 3 ครั้ง)
     3. กลุมใดหรือคนใดหงายบัตรจับคูทศนิยมทีเ่ ทากันไดครบกอนที่ Game Over จะเปนผูชนะ
        (อาจมีผูชนะหลายกลุมหรือหลายคนได)
วิธการเขาสูเกม
   ี
     1. เขาสูเว็บไซต : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/concentration.html
        หมายเหตุ : เพื่อความสะดวกในการนําไปใช ครูควร Save Offline เกมนีไวในคอมพิวเตอร
                                                                             ้
     2. ปรากฏหนาตาง
                                2.1 เลือกระดับของการเลนเกมมี 2 ระดับคือ Beginner
                                    หงายบัตรได 4 ครั้งและ Advanced หงายบัตรได
                                     3 ครั้ง


                               2.2 หงายบัตรที่เปนสีแดงและสีเขียว เพื่อหาทศนิยมที่เทากัน
                                   ถาเปนทศนิยมที่เทากัน บัตรทั้ง 2 ใบที่หงายขึ้นจะหายไป
                                   ถาไมใชทศนิยมที่เทากันบัตรจะคว่ําไวเหมือนเดิม




96                             สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

วิธการเลน
   ี
     1. ใชเมาสคลิกที่บัตรสีเขียวและสีแดง บัตรทั้งสองสีจะหงายขึ้น
     2. ถาเปนทศนิยมที่เทากัน บัตรทั้ง 2 ใบที่หงายขึ้นจะหายไป ถาไมใชทศนิยมที่เทากันบัตรจะ
         คว่ําไวเหมือนเดิม
     3. ดําเนินการเชนเดียวกับขอ 2 ไปเรื่อยๆ จนกวาจะจับคูบัตรที่เปนทศนิยมที่เทากันหมดหรือ
                                                            
        จํานวนครั้งที่กําหนดไวตอนกําหนดระดับของการเลนหมด(เชน กําหนดไววาหงายบัตรได
        4 ครั้ง ถาหงายเกิน 4 ครั้ง การเลนเกมก็จะยุต(Game Over))
                                                     ิ

                                            PlaceValue Strategy




                ที่มา : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/placevalue.html

1. สงตัวแทนออกมาแขงขัน(แขงเปนรายกลุม หรือรายบุคคลก็ได)
                                            
2 ครูเปนผูกําหนดวาจะใหเลนเกมการเปรียบเทียบทศนิยม 3 ตําแหนง หรือ 4 ตําแหนง
3 กลุมใดหรือคนใดชนะการเปรียบเทียบทศนิยมได 2 ครั้งกอนจะเปนผูชนะ
วิธการเขาสูเกม
   ี
1. เขาสูเว็บไซต : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/placevalue.html
     หมายเหตุ : เพื่อความสะดวกในการนําไปใช ครูควร Save Offline เกมนี้ไวในคอมพิวเตอร




                                 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                          97
คณิตศาสตรประถมศึกษา

2. ปรากฏหนาตาง


                                            2.1 เลือกวาจะใหเลนเกมการเปรียบเทียบทศนิยม
                                                3 ตําแหนง หรือ 4 ตําแหนง




     2.2 เลือกวาจะเลนแขงกับคอมพิวเตอร                        2.4 ใสชื่อผูเลน
         หรือกับเพื่อน




                 2.3 คลิกที่ปุม SPIN เข็มที่วงลอจะหมุน เข็มหยุดหมุนตรงกับ
                     ตัวเลขใด ใหผเู ลนกําหนดวาใหใสตวเลขนันที่หลักใด
                                                         ั     ้
                     (หลักสวนสิบ หรือหลักสวนรอย หรือหลักสวนพัน) โดย
                     ใชเมาสไปคลิกในชองตารางที่ตองการใสตัวเลข ตัวเลขจะ
                     ปรากฏในชองตารางที่ผูเลนเลือก




98                              สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

วิธการเลน
   ี
     1. ใชเมาสคลิกที่ปุม SPIN เข็มที่วงลอจะหมุน
     2. เข็มหยุดหมุนตรงกับตัวเลขใด ใหผูเลนกําหนดวาใหใสตัวเลขนันที่หลักใด (หลักสวนสิบ
                                                                    ้
        หรือหลักสวนรอย หรือหลักสวนพัน) โดยใชเมาสไปคลิกในชองตารางที่ตองการใสตัวเลข
        ตัวเลขจะปรากฏในชองตารางที่ผูเลนเลือก
     3. ผูเลนคนที่สองดําเนินการเชนเดียวกับคนแรก(ขอ 1 และ 2) แตถากําหนดวาเลนกับ
         คอมพิวเตอร คอมพิวเตอรจะดําเนินการตามขอ 1 และ 2 เองอัตโนมัติ
     4. เมื่อปรากฏตัวเลขจนครบทุกชองในตารางแลว โปรแกรมจะบอกวาใครเปนผูชนะ ผูชนะ
         คือผูที่ไดทศนิยมที่มีคามากกวา และไดคะแนน 1 คะแนน
     5. ผูที่ไดคะแนน 2 คะแนนกอนเปนผูชนะ



การบวก การลบทศนิยม

        อาจจัดกิจกรรมการเรียนรูไดดังนี้
        1. ใชสื่อการเรียนรู
        2. ใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน
        3. วิธีลัด

การบวก การลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงเทากัน
1. ใชสื่อการเรียนรู ในที่นี้จะใชตารางสิบ และตารางรอยเปนสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องการบวก
   การลบทศนิยมที่มีผลลัพธไมเกินทศนิยมสองตําแหนง




                 ตารางสิบ                                  ตารางรอย
    กอนที่จะนําสือนี้ไปใชสอนเรื่องการบวก การลบทศนิยม ครูผูสอนควรทบทวนความรูพื้นฐานในเรือง
                  ่                                                                        ่
ความหมายของทศนิยม ทศนิยมที่เทากัน โดยใชตารางสิบ และตารางรอยกับนักเรียนกอน ดังตัวอยาง




                                สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                              99
คณิตศาสตรประถมศึกษา

      •   ความหมายของทศนิยม
           ผูสอนอาจทบทวนความรูในเรื่องความหมายของทศนิยม โดยใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้
                               



                              สวนที่ระบายสีเขียนแทนดวยทศนิยมไดอยางไร(0.3)




                             สวนที่ระบายสีเขียนแทนดวยทศนิยมไดอยางไร(0.25)



      •   ทศนิยมที่เทากัน
           ผูสอนอาจทบทวนความรูเรืองทศนิยมที่เทากัน โดยใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
                                   ่

                               - จากภาพทั้งสอง สวนที่ระบายสีแทนดวยทศนิยมไดอยางไร
                                 (0.4 กับ 0.40 ตามลําดับ)
                               - นักเรียนคิดวา 0.4 กับ 0.40 มีคาเทากันหรือไม เพราะเหตุใด
                                 (เทากัน เพราะสวนที่ระบายสีมีขนาดเทากัน)

                             ผูสอนเขียนบนกระดานใหนักเรียนดูดังนี้ 0.4 = 0.40



          ผูสอนอาจยกตัวอยางเพิ่มเติมอีกสัก 2 – 3 ตัวอยาง และรวมกันสรุปกับนักเรียนวา

              การเขียนตัวเลข 0 ตอทายทศนิยมใดๆ ไมทําใหคาของทศนิยมนันเปลี่ยนไป
                                                                     ้
              เชน 0.4 = 0.40
                     0.6 = 0.60




100                               สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

    ตัวอยาง 0.27 + 0.38 =
       ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
             - ตัวตั้งและตัวบวกเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(2 ตําแหนง)
             - ถาเราจะใชกระดาษตารางชวยในการหาคําตอบ นักเรียนจะใชกระดาษตารางสิบหรือ
                 กระดาษตารางรอย เพราะเหตุใด(กระดาษตารางรอย เพราะสามารถระบายสีแทนทศนิยมที่
                 เปนตัวตั้งและตัวบวกซึ่งเปนทศนิยมสองตําแหนงได)
             - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง ซึ่งจะไดดังนี้
                     ั




                                          0.27
           - เราจะหาผลบวกของโจทยขอนี้ไดอยางไร(ระบายสีแทน 0.38 เพิ่มลงไปในกระดาษ
             ตารางรอย)
           - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวบวก ซึ่งนักเรียนอาจจะระบายสีไดดงนี้
                 ั                                                                    ั




                                      0.27 + 0.38
           - มีสวนที่ระบายสีทั้งหมดกี่สวนจาก 100 สวน(65 สวนจาก 100 สวน)
                                        
           - ดังนั้น ผลบวกของโจทยขอนี้คือ….(0.65)
       ผูสอนเขียนสรุปผลบวกบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้ 0.27 + 0.38 = 0.65

ตัวอยาง 0.62 – 0.46 =
        ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
             - ตัวตั้งและตัวลบเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(2 ตําแหนง)
             - ถาเราจะใชกระดาษตารางชวยในการหาคําตอบ นักเรียนจะใชกระดาษตารางสิบหรือ
                  กระดาษตารางรอย เพราะเหตุใด(กระดาษตารางรอย เพราะสามารถระบายสีแทนทศนิยม
                  ที่เปนตัวตั้งและตัวลบซึ่งเปนทศนิยมสองตําแหนงได)
             - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง ซึ่งจะไดดังนี้
                        ั




                             สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                      101
คณิตศาสตรประถมศึกษา




                                       0.62

            - เราจะหาผลลบของโจทยขอนี้ไดอยางไร(ระบายสีแทน 0.46 ซึ่งเปนตัวลบทับลงไปในสวน
              ที่ระบายสีไวแลวในกระดาษตารางรอย สีเดิมที่เหลืออยูคอผลลบที่ตองการ)
                                                                    ื
            - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวลบทับลงไปในสวนทีระบายสีไวแลว
                    ั                                                           ่
              ซึ่งนักเรียนอาจจะระบายสีไดดังนี้




                                     0.62 – 0.46
            - มีสวนที่ระบายสีเดิมเหลืออยูกี่สวนจาก 100 สวน(16 สวนจาก 100 สวน)
            - ดังนั้น ผลลบของโจทยขอนีคือ….(0.16)
                                        ้
       ผูสอนเขียนสรุปผลลบบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้ 0.62 - 0.46 = 0.16

2. ใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน
ตัวอยาง 0.27 + 0.38 =
                        27 38
         0.27 + 0.38 = 100 + 100

                       = 2710038
                            +

                         65
                       = 100 = 0.65

ตัวอยาง 0.62 – 0.46 =
                       62      46
         0.62 – 0.46 = 100 - 100

                     = 62 - 46
                         100
                        16
                     = 100 = 0.16




102                           สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

          จากตัวอยางจะเห็นวา การสอนเรื่องการบวก การลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมเทากัน
โดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน นักเรียนตองมีความรูพนฐานในเรื่องตอไปนี้
                                                                   ื้
               - การเขียนทศนิยมใหอยูในรูปเศษสวน
               - การเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยม
                                            
               - การบวก การลบเศษสวนที่ตวสวนเทากันและตัวสวนเปน 10 หรือ 100
                                               ั
ซึ่งถานักเรียนมีพื้นฐานเรื่องใดไมดี ผูสอนควรทําการทบทวนใหกับนักเรียนกอน
3. วิธีลัด
          จากการบวกลบทศนิยมที่มีจานวนตําแหนงทศนิยมเทากันโดยใชสื่อ สามารถนํามาสูวิธีลัดไดดงตัวอยาง
                                       ํ                                                      ั
ตอไปนี้
ตัวอยาง 0.27 + 0.38 =




                                        0.27 + 0.38
       มีสวนที่ระบายสีแสดงตัวตั้งอยู 27 สวน ระบายสีเพิ่มอีก 38 สวน รวมมีสวนที่ระบายสี
       27 + 38 = 65 ซึ่ง 65 สวนในที่นี้คือ 65 สวนใน 100 สวน สามารถเขียนเปนทศนิยมได
       เปน 0.65 ดังนั้น 0.27 + 0.38 = 0.65
       สามารถเขียนแสดงการบวกในแนวตั้งไดดงนี้       ั
       0.27 + 0.38 =
       วิธีทํา           0.27
                              +
                         0.38
                         0.65
       ตอบ ๐.๖๕
       ผูสอนแนะนํานักเรียนวา จะสังเกตวา 0.27 และ 0.38 นอยกวา 0.50 และ
       เนื่องจากครึ่งบวกกับครึ่งจะเทากับ 1 ดังนัน 0.27 + 0.38 จะมีผลบวกนอยกวา 1
                                                  ้

  ตัวอยาง 0.62 - 0.46 =




                                       0.62 - 0.46


                                สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                        103
คณิตศาสตรประถมศึกษา

       มีสวนที่ระบายสีแสดงตัวตั้งอยู 62 สวน ระบายสีทับลงไปในสวนที่ระบายสีไวแลวใน
       ตารางรอยอีก 46 สวน สีเดิมที่เหลืออยูคือผลลบที่ตองการ ดังนันเหลือสีเดิมอยู
                                                                     ้
       62 - 46 = 16 ซึ่ง 16 สวนในที่นี้คือ 16 สวนใน 100 สวน สามารถเขียนเปนทศนิยมไดเปน
       0.16 ดังนั้น 0.62 - 0.46 = 0.16
       สามารถเขียนแสดงการลบในแนวตั้งไดดังนี้
       0.62 - 0.46 =
       วิธีทํา           0.62
                              -
                         0.46
                         0.16
        ตอบ ๐.๑๖

การบวก การลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน
1. ใชสื่อการเรียนรู
ตัวอยาง 0.7 + 0.12 =
          ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
               - ตัวตั้งและตัวบวกเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(ตัวตั้งเปนทศนิยม 1 ตําแหนง ตัวบวกเปนทศนิยม
                   2 ตําแหนง)
               - ผูสอนนํากระดาษตารางสิบ ดังภาพ มาใหนักเรียนระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง โดย
                   อาจนํากระดาษดังกลาวติดบนกระดานและใหตวแทนออกมาระบายสี หรือแจกเปนงาน
                                                               ั
                   กลุมหรืองานเดี่ยวก็ได




               เมื่อนักเรียนระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้งเสร็จแลว อาจไดดังตัวอยาง




            - ผูสอนถามนักเรียนวา เราจะระบายสีเพิ่มลงไปในตารางเพือแทน 0.12 ที่เปนตัวบวกได
                                                                  ่
                อยางไร(แบงตารางออกเปน 10 สวนตามแนวนอน เพื่อใหเปนตารางรอย)



104                            สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

             - ผูสอนทําการแบงตารางออกเปน 10 สวนตามแนวนอน จะไดดังภาพ




             - ผูสอนถามนักเรียนวา สวนทีแรเงาแทนทศนิยมใด(0.70)
                                          ่
             - ผูสอนและนักเรียนรวมกันสรุปวา 0.7 = 0.70
             - ผูสอนใหนักเรียนระบายสีเพิมลงไปในตารางเพื่อแทน 0.12 ที่เปนตัวบวกไดดงภาพ
                                            ่                                        ั




             - ผูสอนถามนักเรียนวามีสวนที่ระบายสีทั้งหมดกี่สวนจาก 100 สวนและเขียนเปนทศนิยมได
                                                            
                     อยางไร(82 สวนจาก 100 สวน และเขียนเปนทศนิยมได 0.82)
                - ดังนั้น ผลบวกของโจทยขอนี้คือ….(0.82)
           ผูสอนเขียนสรุปผลบวกบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้
                   0.7 + 0.12 = 0.70 + 0.12
                                = 0.82
และใหนักเรียนสังเกตวา การบวกทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน เราอาจหาผลบวกไดโดยทําให
ทศนิยมทั้งสองมีจํานวนตําแหนงทศนิยมเทากันกอนแลวจึงหาผลบวกเหมือนกับการบวกทศนิยมทีมีจํานวน    ่
ตําแหนงทศนิยมเทากัน
           ผูสอนอาจยกตัวอยางทํานองนี้อีก 2 – 3 ตัวอยาง ใหนกเรียนหาคําตอบจากสื่อ และครูเขียนสรุปไว
                                                              ั
บนกระดาน เพื่อนําไปใชสอนการหาผลบวกทศนิยมโดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน และ
วิธีลัดตอไป
           ตัวอยางที่ผานมาเปนกรณีทตัวตั้งเปนทศนิยม 1 ตําแหนง ตัวบวกเปนทศนิยม 2 ตําแหนง ในทางกลับกัน
                                      ี่
ถาตัวตั้งเปนทศนิยม 2 ตําแหนงและตัวบวกเปนทศนิยม 1 ตําแหนง เชน 0.12 + 0.7 อาจมีแนวทางการจัดกิจกรรม
การเรียนรูโดยใชสื่อดังนี้




                                สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                         105
คณิตศาสตรประถมศึกษา

ตัวอยาง 0.12 + 0.7 =
        ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
             - ตัวตั้งและตัวบวกเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(ตัวตั้งเปนทศนิยม 2 ตําแหนง ตัวบวกเปนทศนิยม
                  1 ตําแหนง)
             - ผูสอนนํากระดาษตารางรอย ดังภาพ มาใหนักเรียนระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง
                  โดยอาจนํากระดาษดังกลาวติดบนกระดานและใหตวแทนออกมาระบายสี หรือแจกเปน
                                                                 ั
                  งานกลุมหรืองานเดี่ยวก็ได




            - ผูสอนถามนักเรียนวา เราจะระบายสีเพิ่มลงไปในตารางเพือแทน 0.7 ที่เปนตัวบวกได
                                                                  ่
              อยางไร(เนื่องจาก 0.7 = 0.70 ดังนั้นเปลี่ยน 0.7 เปน 0.70)
            - ผูสอนใหนักเรียนระบายสีเพิมลงไปในตารางเพื่อแทน 0.70 ที่เปนตัวบวก ซึ่งอาจจะได
                                          ่
              ดังภาพ




            - ผูสอนถามนักเรียนวามีสวนที่ระบายสีทั้งหมดกี่สวนจาก 100 สวนและเขียนเปนทศนิยมได
                                                           
                    อยางไร(82 สวนจาก 100 สวน และเขียนเปนทศนิยมได 0.82)
               - ดังนั้น ผลบวกของโจทยขอนี้คือ….(0.82)
          ผูสอนเขียนสรุปผลบวกบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้
                  0.12 + 0.7 = 0.12 + 0.70
                              = 0.82
และใหนักเรียนสังเกตวา การบวกทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน เราอาจหาผลบวกไดโดยทําให
ทศนิยมทั้งสองมีจํานวนตําแหนงทศนิยมเทากันกอนแลวจึงหาผลบวกเหมือนกับการบวกทศนิยมทีมีจํานวน   ่
ตําแหนงทศนิยมเทากัน
          ผูสอนอาจยกตัวอยางทํานองนี้อีก 2 – 3 ตัวอยาง ใหนกเรียนหาคําตอบจากสื่อ และครูเขียนสรุปไว
                                                             ั
บนกระดาน เพื่อนําไปใชสอนการหาผลบวกทศนิยมโดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน และ
วิธีลัดตอไป


106                            สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

         ตอไปนี้เปนตัวอยางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องการลบทศนิยมที่มีจานวนตําแหนงทศนิยม
                                                                            ํ
ไมเทากัน
ตัวอยาง 0.5 – 0.34 =
         ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
              - ตัวตั้งและตัวลบเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(ตัวตั้งเปนทศนิยม 1 ตําแหนง ตัวลบเปนทศนิยม 2
                   ตําแหนง)
              - ผูสอนนํากระดาษตารางสิบ ดังภาพ มาใหนักเรียนระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง
                   โดยอาจนํากระดาษดังกลาวติดบนกระดานและใหตวแทนออกมาระบายสี หรือแจกเปน
                                                                  ั
                   งานกลุมหรืองานเดี่ยวก็ได




            - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง ซึ่งอาจจะไดดังนี้
                  ั




            - เราจะหาผลลบของโจทยขอนี้ไดอยางไร(ระบายสีแทน 0.34 ซึ่งเปนตัวลบทับลงไปในสวน
              ที่ระบายสีไวแลวในกระดาษตารางสิบ สีเดิมที่เหลืออยูคอผลลบที่ตองการ)
                                                                   ื        
            - แลวเราจะระบายสีทบลงไปเพื่อแทน 0.34 ซึ่งเปนตัวลบไดอยางไร(แบงสวนเพิ่มตาม
                                 ั
              แนวนอนอีก 10 สวน เพื่อทําใหเปนตารางรอย)
            - ผูสอนทําการแบงสวนเพิ่มตามแนวนอนอีก 10 สวนเทา ๆ กัน จะไดดังภาพ




            - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวลบทับลงไปในสวนทีระบายสีไวแลว ซึ่ง
                  ั                                                     ่
                นักเรียนอาจจะระบายสีไดดงนี้
                                        ั




                               สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                        107
คณิตศาสตรประถมศึกษา

            - มีสวนที่ระบายสีเดิมเหลืออยูกี่สวนจาก 100 สวน(16 สวนจาก 100 สวน)
            - ดังนั้น ผลลบของโจทยขอนีคือ….(0.16)
                                        ้
ผูสอนเขียนสรุปผลลบบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้ 0.5 - 0.34 = 0.50 – 0.34
                                                            = 0.16
และใหนักเรียนสังเกตวา การลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน เราอาจหาผลลบไดโดยทําให
ทศนิยมทั้งสองมีจํานวนตําแหนงทศนิยมเทากันกอนแลวจึงหาผลลบเหมือนกับการลบทศนิยมที่มจํานวน    ี
ตําแหนงทศนิยมเทากัน
          ผูสอนอาจยกตัวอยางทํานองนี้อีก 2 – 3 ตัวอยาง ใหนกเรียนหาคําตอบจากสื่อ และครูเขียนสรุปไว
                                                             ั
บนกระดาน เพื่อนําไปใชสอนการหาผลลบทศนิยมโดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน และ
วิธีลัดตอไป
          สําหรับกรณีทตวตั้งเปนทศนิยม 2 ตําแหนง ตัวลบเปนทศนิยม 1 ตําแหนง เชน 0.65 – 0.3 มีแนวทาง
                        ี่ ั
การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อดังนี้
ตัวอยาง 0.65 – 0.3 =
          ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
               - ตัวตั้งและตัวลบเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(ตัวตั้งเปนทศนิยม 2 ตําแหนง ตัวลบเปนทศนิยม 1
                   ตําแหนง)
               - ผูสอนนํากระดาษตารางรอย ดังภาพ มาใหนักเรียนระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง โดย
                   อาจนํากระดาษดังกลาวติดบนกระดานและใหตวแทนออกมาระบายสี หรือแจกเปนงานกลุม
                                                                  ั
                   หรืองานเดียวก็ได
                             ่




            - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง ซึ่งจะไดดังนี้
                  ั




            - เราจะหาผลลบของโจทยขอนี้ไดอยางไร(ระบายสีแทน 0.3 ซึ่งเปนตัวลบทับลงไปในสวนที่
              ระบายสีไวแลวในกระดาษตารางรอย สีเดิมที่เหลืออยูคือผลลบที่ตองการ)
                                                                           
            - แลวเราจะระบายสีทบลงไปเพื่อแทน 0.3 ซึ่งเปนตัวลบไดอยางไร(เนื่องจาก 0.3 = 0.30
                                    ั
              ดังนั้นจึงเปลี่ยน 0.3 เปน 0.30)


108                            สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

             - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวลบทับลงไปในสวนทีระบายสีไวแลว
                   ั                                                     ่
                 ซึ่งนักเรียนอาจจะระบายสีไดดังนี้




             - มีสวนที่ระบายสีเดิมเหลืออยูกี่สวนจาก 100 สวน(35 สวนจาก 100 สวน)
             - ดังนั้น ผลลบของโจทยขอนีคือ….(0.35)
                                         ้
          ผูสอนเขียนสรุปผลลบบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้ 0.65 - 0.3 = 0.65 – 0.30
                                                                   = 0.35
และใหนักเรียนสังเกตวา การลบทศนิยมที่มีจานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน เราอาจหาผลลบไดโดยทําให
                                            ํ
ทศนิยมทั้งสองมีจํานวนตําแหนงทศนิยมเทากันกอนแลวจึงหาผลลบเหมือนกับการลบทศนิยมที่มจํานวน    ี
ตําแหนงทศนิยมเทากัน
          ผูสอนอาจยกตัวอยางทํานองนี้อีก 2 – 3 ตัวอยาง ใหนกเรียนหาคําตอบจากสื่อ และครูเขียนสรุปไว
                                                             ั
บนกระดาน เพื่อนําไปใชสอนการหาผลลบทศนิยมโดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน และ
วิธีลัดตอไป

2. ใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน
ตัวอยาง 0.7 + 0.12 =
                        7 12
         0.7 + 0.12 = 10 + 100
                        7 × 10
                    = 10 × 10 + 10012

                       70
                    = 100 + 10012

                    = 7010012
                           +

                        82
                    = 100

                     =     0.82




                                  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                       109
คณิตศาสตรประถมศึกษา

ตัวอยาง 0.65 – 0.3 =
                       65    3
         0.65 – 0.3 = 100 - 10
                      65     3 × 10
                    = 100 - 10 × 10
                          65      30
                       = 100 - 100
                          65 - 30
                       = 100
                          35
                       = 100

                        = 0.35
          จากตัวอยางจะเห็นวา การสอนเรื่องการบวก การลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน
โดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน นักเรียนตองมีความรูพนฐานในเรื่องตอไปนี้
                                                                  ื้
               - การเขียนทศนิยมใหอยูในรูปเศษสวน
               - การเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยม
                                            
               - การบวก การลบเศษสวนที่ตวสวนไมเทากันและตัวสวนเปน 10 และ 100
                                               ั
ซึ่งถานักเรียนมีพื้นฐานเรื่องใดไมดี ผูสอนควรทําการทบทวนใหกบนักเรียนกอน
                                                              ั

3. วิธีลัด
          จากการบวกทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากันโดยใชสื่อ สามารถนํามาสูวิธีลัดไดดังตัวอยาง
ตอไปนี้

ตัวอยาง 0.7 + 0.12 =
                   จากการใชสื่อจะเห็นวา ขั้นแรกเราใชตารางสิบระบายสี 7 สวนใน 10 สวนเพื่อแทนคา 0.7
                   แตเมื่อตองระบายสีเพิ่มเพื่อแทนคา 0.12 เรามีความจําเปนตองแบงตารางเพิ่มตามแนวนอน
                   อีก 10 สวนเพือใหเปนตารางรอย ดังนั้น 0.7 จึงเปลี่ยนไปเปน 0.70 และสามารถระบายสี
                                  ่
                   เพิ่มอีก 12 สวนใน 100 สวนลงไปในตารางได ทําใหมีสวนที่ระบายสีทั้งหมด 82 สวนใน
                   100 สวน หรือมีผลบวกเทากับ 0.82
ใหนกเรียนสังเกต
    ั
        0.7 + 0.12 เทากับ 0.70 + 0.12 เทากับ 0.82            70 + 12 = 82

จะพบวาเมื่อทําใหจํานวนตําแหนงทศนิยมของตัวตั้งและตัวบวกเทากันแลวเราสามารถหาผลบวกไดเหมือนกับ
การบวกจํานวนนับ คือ นําจํานวนที่อยูในหลักเดียวกันมาบวกกัน โดยเขียนเปนวิธีลัดไดดงนี้
                                                                                  ั



110                             สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณิตศาสตรประถมศึกษา

        0.7 + 0.12 = 0.70 + 0.12                              0.70
                                                                   +
                   = 0.82                     หรือ            0.12
                                                              0.82
         ผูสอนยกตัวอยางการบวกทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน เพิ่มเติมอีก 2 – 3 ตัวอยาง
โดยเชื่อมโยงมาจากการใชสื่อ
ตัวอยาง 0.65 – 0.3 =
                   จากการใชสื่อจะเห็นวา ขั้นแรกเราใชตารางรอยระบายสี 65 สวนใน 100 สวนเพื่อแทนคา
                   0.65 แตเมื่อตองระบายสีทับลงไปในสวนที่ระบายสีไวเดิมเพื่อแสดงการลบ ซึ่งมีตวลบ   ั
                   เทากับ 0.3 เรามีความจําเปนตองเปลี่ยน 0.3 เปน 0.30 โดยใชความรูพื้นฐานเดิมเรื่องทศนิยม
                                                                                     
                   ที่เทากัน ดังนันเมื่อเปลี่ยนเปน 0.30 แลวเราก็สามารถระบายสีทบลงไป 30 สวนใน 100 สวน
                                   ้                                              ั
ได ทําใหเหลือสวนที่ระบายสีไวเดิม 35 สวนใน 100 สวน หรือมีผลลบเทากับ 0.35

ใหนกเรียนสังเกต
    ั                                                         65 - 30 = 35
        0.65 - 0.3 เทากับ 0.65 - 0.30 เทากับ 0.35
จะพบวาเมื่อทําใหจํานวนตําแหนงทศนิยมของตัวตั้งและตัวลบเทากันแลวเราสามารถหาผลลบไดเหมือนกับ
การลบจํานวนนับ คือ นําจํานวนที่อยูในหลักเดียวกันมาลบกัน โดยเขียนเปนวิธีลัดไดดงนี้
                                                                                ั
        0.65 - 0.3 = 0.65 - 0.30                       0.65
                                                            -
                     = 0.35                หรือ        0.30
                                                       0.35

        ผูสอนยกตัวอยางการลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากันเพิ่มเติมอีก 2 – 3 ตัวอยาง
โดยเชื่อมโยงมาจากการใชสื่อ

กิจกรรมเสริมการบวก ลบทศนิยม
                                              BLACKJACK




                  ที่มา : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/blackjack.html

                                   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี                        111
ทศนิยมม.1
ทศนิยมม.1
ทศนิยมม.1

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2kroojaja
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารYeah Pitloke
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมkanjana2536
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามคูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามMath and Brain @Bangbon3
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนkanjana2536
 
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์พัน พัน
 
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)peter dontoom
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6KruGift Girlz
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfssusera0c3361
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8kanjana2536
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติสรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
 
ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรม
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามคูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
 
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
 
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 

Viewers also liked

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วนบทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วนsawed kodnara
 
Introduction m20201
Introduction m20201Introduction m20201
Introduction m20201aispretty
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
คู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟคู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการkanjana2536
 
การคูณและการหาร
การคูณและการหารการคูณและการหาร
การคูณและการหารtheandewxx
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานNittaya Noinan
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนkanjana2536
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 

Viewers also liked (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วนบทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 1 ทศนิยมและเศษส่วน
 
Introduction m20201
Introduction m20201Introduction m20201
Introduction m20201
 
Unit 3
Unit 3Unit 3
Unit 3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
คู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟคู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟ
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
 
การคูณและการหาร
การคูณและการหารการคูณและการหาร
การคูณและการหาร
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 

Similar to ทศนิยมม.1

bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1Manas Panjai
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานPreecha Yeednoi
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 

Similar to ทศนิยมม.1 (8)

bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
Math
MathMath
Math
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 

ทศนิยมม.1

  • 1. คณิตศาสตรประถมศึกษา 6. ทศนิยม และการบวก การลบทศนิยม จุดประสงคของการอบรม เพื่อใหผูเขารับการอบรม 1. ไดรับความรูความเขาใจเกียวกับ ่ • ความหมาย การอานและการเขียนทศนิยม • หลัก คาประจําหลัก และคาของเลขโดดในแตละหลัก และการเขียนในรูปกระจาย • การเปรียบเทียบทศนิยม • ทศนิยมกับการนําไปใช • การบวกทศนิยม • การลบทศนิยม 2. ไดแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่องทศนิยม และการบวก ลบทศนิยม สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด 1. ทศนิยมเปนสัญลักษณใชเขียนแทนจํานวน เชน 0.1, 0.25, 3.254 2. การอานทศนิยม ตัวเลขหนาจุดทศนิยมใหอานแบบจํานวนนับ ตัวเลขหลังจุดทศนิยมใหอาน แบบเรียงตัว เชน 0.1 อานวา ศูนยจุดหนึ่ง 135.69 อานวา หนึ่งรอยสามสิบหาจุดหกเกา 3. เลขโดดหลังจุดทศนิยมในตําแหนงที่หนึ่ง เรียกวา ทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง เลขโดดหลัง จุดทศนิยมในตําแหนงที่สอง เรียกวา ทศนิยมตําแหนงที่สอง เลขโดดหลังจุดทศนิยม ในตําแหนงที่สาม เรียกวา ทศนิยมตําแหนงที่สาม 4. จํานวนเลขโดดหลังจุดทศนิยมเปนการบอกวา จํานวนนันเปนทศนิยมกี่ตําแหนง เชน ้ 1.28 เปนทศนิยมสองตําแหนง 6.039 เปนทศนิยมสามตําแหนง 5. เลขโดดที่อยูหลังจุดทศนิยมในตําแหนงทีหนึ่ง อยูในหลักสวนสิบ มีคาประจําหลัก  ่ 1 เปน 10 หรือ 0.1 เลขโดดที่อยูหลังจุดทศนิยมในตําแหนงที่สอง อยูในหลักสวนรอย  1 มีคาประจําหลักเปน 100 หรือ 0.01 เลขโดดที่อยูหลังจุดทศนิยมในตําแหนงที่สาม 1 อยูในหลักสวนพัน มีคาประจําหลักเปน 1000 หรือ 0.001 6. การเขียนแสดงทศนิยมใด ๆ ในรูปกระจายเปนการเขียนในรูปการบวกคาของเลขโดด ในหลักตาง ๆ ของทศนิยมนัน ้ 7. การเปรียบเทียบทศนิยมไมเกินสามตําแหนง อาจใชการเปรียบเทียบทีละหลัก โดยเปรียบเทียบ คาของเลขโดดหนาจุดทศนิยมกอน ถาเทากันจึงเปรียบเทียบคาของเลขโดดหลังจุดทศนิยม ในหลักสวนสิบ(ทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง) ถาเทากันอีกจึงเปรียบเทียบคาของเลขโดดใน หลักสวนรอย(ทศนิยมตําแหนงที่สอง) และถาเทากันอีกจึงเปรียบเทียบคาของเลขโดดใน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 85
  • 2. คณิตศาสตรประถมศึกษา หลักสวนพัน(ทศนิยมตําแหนงที่สาม) 8. ทศนิยมกับเศษสวนมีความสัมพันธกน คือทศนิยมสามารถเขียนในรูปเศษสวนได ทศนิยม ั หนึ่งตําแหนง ทศนิยมสองตําแหนง และทศนิยมสามตําแหนงสามารถเขียนในรูปเศษสวน ที่มีตัวสวนเปน 10 เปน 100 และเปน 1000 ตามลําดับ และเศษสวนที่มีตัวสวนเปน 10, 100 และ 1000 สามารถเขียนเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง สองตําแหนง และสามตําแหนงตามลําดับ 9. การหาคาประมาณใกลเคียงทศนิยมหนึ่งตําแหนงของทศนิยมใด อาจทําไดโดยพิจารณาคาของ เลขโดดในหลักสวนรอยของทศนิยมนัน ถามีคาตั้งแต 0.05 ขึ้นไป ใหประมาณเปนทศนิยม ้ หนึ่งตําแหนงที่มากกวาทศนิยมนัน ถามีคานอยกวา 0.05 ใหประมาณเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง ้ ที่นอยกวาทศนิยมนัน ้ 10. การหาคาประมาณใกลเคียงทศนิยมสองตําแหนงของทศนิยมใด อาจทําไดโดยพิจารณาคาของ เลขโดด ในหลักสวนพันของทศนิยมนัน ถามีคาตั้งแต 0.005 ขึ้นไป ใหประมาณเปนทศนิยม ้ สองตําแหนงที่มากกวาทศนิยมนัน ถามีคานอยกวา 0.005 ใหประมาณเปนทศนิยมสองตําแหนง ้ ที่นอยกวาทศนิยมนัน้ 11. การบวกทศนิยม ใชหลักการเดียวกันกับการบวกจํานวนนับคือ นําจํานวนที่อยูในหลักเดียวกัน มาบวกกัน ถาผลบวกในหลักใดเปนสองหลักใหทดจํานวนที่ครบสิบไปรวมกับผลบวกของ จํานวนในหลักถัดไปทางซายมือ 12. การลบทศนิยม ใชหลักการเดียวกันกับการลบจํานวนนับคือ นําจํานวนที่อยูในหลักเดียวกัน มาลบกัน ถาตัวเลขในหลักใดของตัวตั้งนอยกวาตัวเลขในหลักนันของตัวลบ จะตองกระจายตัวตั้ง ้ จากหลักที่อยูถัดไปทางซายมือมารวมกับจํานวนในหลักนั้นแลวจึงลบกัน  ทศนิยม การบอกปริมาณของสิ่งของหรือจํานวนในชีวิตประจําวัน เชน ความกวาง ความยาว น้ําหนัก อุณหภูมิของอากาศ การคิดภาษี ฯลฯ บางครั้งไมสามารถบอกปริมาณที่แทจริงเปนจํานวนเต็มได เนื่องจาก การใชหนวยทีเ่ ปนจํานวนเต็มอยางเดียวไมเพียงพอ ยังมีปริมาณที่เปนเศษของหนวยหรือไมเต็มหนวย จึงตองมี การเขียนตัวเลขแทนปริมาณเหลานั้นอีกอยางหนึ่ง เรียกวา ทศนิยม ซึ่งมีการตกลงที่เปนสากล ดังนี้ ♦ การเขียนทศนิยม ใช “ . ” เรียกวา จุดทศนิยม คั่นระหวางจํานวนนับกับเศษของหนวย เชน 3 . 1 2 เศษของหนวย จุดทศนิยม จํานวนนับ 86 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 3. คณิตศาสตรประถมศึกษา ♦ การอานทศนิยม ตัวเลขหนาจุดทศนิยมอานแบบจํานวนนับ ตัวเลขหลังจุดทศนิยมอานแบบเรียงตัว เชน 0.02 อานวา ศูนยจดศูนยสอง ุ 1.50 อานวา หนึ่งจุดหาศูนย 12.235 อานวา สิบสองจุดสองสามหา ♦ ความหมายของทศนิยม ทศนิยมที่มีตวเลขหลังจุดทศนิยม 1 ตัว เปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง ตัวเลขที่อยูหลังจุดทศนิยมแสดง ั จํานวนวามีกี่สวนใน 10 สวนที่เทา ๆ กัน เชน 0.1 0.3 1.0 1.4 2.7 จะเห็นวา 0.1 และ 0.3 มีตัวเลข 0 อยูหนาจุดทศนิยม แสดงวา 0.1 และ 0.3 เปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงทีมากกวา 0 แตนอยกวา 1 ่ 1.0 เปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงที่เทากับ 1 หรือ จํานวนนับ 1 เขียนในรูปทศนิยมหนึ่งตําแหนงได 1.0 1.4 และ 2.7 มีตัวเลข 1 และ 2 อยูหนาจุดทศนิยม แสดงวา 1.4 และ 2.7 เปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงทีมากกวา 1 ่ ทศนิยมที่มีตวเลขหลังจุดทศนิยม 2 ตัว เปนทศนิยมสองตําแหนง ตัวเลขหลังจุดทศนิยมแสดงจํานวน ั วามีกี่สวนใน 100 สวนที่เทา ๆ กัน จากจุดทศนิยมนับไปทางขวามือตัวเลขตัวทีหนึ่งเปนทศนิยมตําแหนงทีหนึ่ง ่ ่ ตัวเลขตัวที่สองเปนทศนิยมตําแหนงที่สอง เชน 0.09 ทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง ทศนิยมตําแหนงที่สอง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 87
  • 4. คณิตศาสตรประถมศึกษา 0.25 ทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง ทศนิยมตําแหนงที่สอง 1.00 2.36 0.09 และ 0.25 เปนทศนิยมสองตําแหนงทีนอยกวา 1 ่ 1.00 เปนทศนิยมสองตําแหนงที่เทากับ 1 หรือ จํานวนนับ 1 เขียนในรูป ทศนิยมสองตําแหนงได 1.00 2.36 เปนทศนิยมสองตําแหนงทีมากกวา 1 ่ ♦ การเขียนทศนิยมสองตําแหนง ใหสังเกตความแตกตางระหวาง 0.06 กับ 0.60 และ 0.6 ดังนี้ ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 0.06 0.60 0.6 จากภาพที่ 1 สวนที่ระบายสีมี 6 สวนใน 100 สวน จะเขียนเปนทศนิยมสองตําแหนงแตมีตวเลข 6 ั เพียงตัวเดียว จึงตองเติมตัวเลข 0 หนาตัวเลข 6 อีกหนึงตัว ดังนัน 6 สวนใน 100 สวน จึงเขียนแทนดวย ่ ้ 0.06 การเติมตัวเลข 0 อีกหนึ่งตัวดังกลาวจะเติมหลังตัวเลข 6 ไมได เพราะเมื่อเขียนในรูปทศนิยมจะได 0.60 ซึ่งหมายความวามี 60 สวนใน 100 สวน (ดังภาพที่ 2) แตถาไมเติมตัวเลข 0 เมื่อเขียนในรูปทศนิยมจะได 0.6 ซึ่งหมายความวา มี 6 สวนใน 10 สวน (ดังภาพที่ 3) ซึ่ง 0.6 = 0.60 88 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 5. คณิตศาสตรประถมศึกษา การพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับทศนิยม ในกรณีที่เปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง อาจนําแผนภาพทีแสดงทศนิยมตังแต 0.1 ถึง 1.0 ่ ้ 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1 หรือ 1.0 เมื่อสังเกตจะพบวา 0.5 เทากับครึ่งของ 1 พอดี 0.1 , 0.2 , 0.3 , และ 0.4 มากกวา 0 แตนอยกวาครึ่ง  0.6 , 0.7 , 0.8 , และ 0.9 มากกวาครึ่ง แตนอยกวา 1 ในกรณีที่เปนทศนิยมสองตําแหนง อาจนําแผนภาพแสดงประกอบ 0.49 0.50 0.99 1 หรือ 1.00 เมื่อสังเกตจะพบวา ทศนิยมที่ตัวเลขหนาจุดทศนิยมเปน 0 เปนทศนิยมที่มากกวา 0 แตนอยกวา 1 โดยที่ 0.01 ถึง 0.49 มากกวา 0 แตนอยกวาครึ่ง 0.50 เทากับครึ่งพอดี 0.51 ถึง 0.99 มากกวาครึ่ง แตนอยกวา 1  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 89
  • 6. คณิตศาสตรประถมศึกษา คาของเลขโดดตามคาประจําหลัก คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงทีหนึ่ง เทากับ 1 ของคาประจําหลักของหลักหนวย และ ่ 10 คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สอง เทากับ 1 ของคาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่หนึ่ง 10 คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สาม เทากับ 1 ของคาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สอง และจาก 10 คาประจําหลักหนวยเทากับ 1 ดังนั้นคาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่หนึ่งเทากับ 1 คูณ 1 เทากับ 1 10 10 หรือ 0.1 คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สองเทากับ 1 คูณ 1 เทากับ 1 หรือ 0.01 และ 10 10 100 1 1 คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สามเทากับ 1 คูณ 100 เทากับ 1000 หรือ 0.001 10 สรุปวาคาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่หนึ่งตัวสวนเปน 10 คาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สองมี ตัวสวนเปน 100 และคาประจําหลักของทศนิยมตําแหนงที่สามมีตัวสวนเปน 1000 จึงเรียกชื่อหลักของทศนิยม ตําแหนงทีหนึงวา หลักสวนสิบ เรียกชื่อหลักของทศนิยมตําแหนงที่สองวาหลักสวนรอย และเรียกชื่อหลักของ ่ ่ ทศนิยมตําแหนงที่สามวาหลักสวนพัน ซึงสามารถเขียนเปนตารางแสดงชื่อหลัก และคาประจําหลัก ดังนี้ ่ ชื่อหลัก หลักรอย หลักสิบ หลักหนวย หลักสวนสิบ หลักสวนรอย หลักสวนพัน คาประจําหลัก 100 10 1 1 หรือ 0.1 1 หรือ 0.01 1 10 100 1000 หรือ 0.001 ตัวอยาง คาของเลขโดดตามคาประจําหลัก 216.397 2 อยูในหลักรอย มีคาเปน 200 1 อยูในหลักสิบ มีคาเปน 10 6 อยูในหลักหนวย มีคาเปน 6 3 อยูในหลักสวนสิบ มีคาเปน 3 หรือ 0.3 10 9 9 อยูในหลักสวนรอย มีคาเปน 100 หรือ 0.09 7 7 อยูในหลักสวนพัน มีคาเปน 1000 หรือ 0.007 การเขียนทศนิยมในรูปกระจาย การเขียนทศนิยมในรูปกระจาย เปนการกระจายคาของเลขโดดในหลักตาง ๆ ทีละหลัก แลวนําคา ของเลขโดดแตละหลักมาเขียนในรูปการบวก เชน 429.753 สามารถเขียนในรูปกระจายได ดังนี้ 90 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 7. คณิตศาสตรประถมศึกษา 4 2 9. 7 5 3 400 20 9 0.7 0.05 0.003 429.75 = 400 + 20 + 9 + 0.7 + 0.05 + 0.003 ในกรณีที่มีเลขโดดหลักใดหลักหนึ่งเปน 0 เมื่อเขียนในรูปกระจายอาจเขียน 0 หรือไมเขียน 0 ก็ได เชน 108.32 สามารถเขียนในรูปกระจาย ดังนี้ 108.32 = 100 + 0 + 8 + 0.3 + 0.02 หรือ 108.32 = 100 + 8 + 0.3 + 0.02 การเขียนตัวเลข 0 ตอทายทศนิยม การเขียนตัวเลข 0 ตอทายทศนิยม หรือตัดตัวเลข 0 ตัวทายสุดของทศนิยมใด ๆ ไมทําใหคาของ ทศนิยมนันเปลี่ยนไปหรือทศนิยมนันมีคาเทาเดิม ถาตองการเขียนทศนิยมหนึ่งตําแหนงใหเปนทศนิยม ้ ้ สองตําแหนงแลวยังคงมีคาเทาเดิม ทําไดโดยเติม 0 ตอทายทศนิยมตําแหนงทีหนึงอีก 1 ตัว เชน ่ ่ 0.2 = 0.20 0.9 = 0.90 1.5 = 1.50 หรือถาตองการเขียนทศนิยมสองตําแหนงที่ตัวทายสุดเปน 0 ใหเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงที่มีคาเทาเดิมทําได โดยตัด 0 ตัวทายสุดออกไป 1 ตัว เชน 0.60 = 0.6 2.10 = 2.1 5.80 = 5.8 การเปรียบเทียบทศนิยม การเปรียบเทียบทศนิยม ใหเปรียบเทียบจํานวนที่อยูในหลักเดียวกันทีละหลัก โดยเริมจากจํานวน ่ ที่อยูหนาจุดทศนิยม ซึ่งเปนจํานวนเต็มหนวยกอน ถาจํานวนใดมีคามากกวา ทศนิยมนั้นก็จะมีคามากกวา ถาจํานวนที่อยูหนาจุดทศนิยมมีคาเทากัน ใหเปรียบเทียบจํานวนที่อยูหลังจุดทศนิยมในตําแหนงที่หนึ่ง สอง   ตามลําดับ เชน เปรียบเทียบ 1.5 กับ 1.3 เลขโดดในหลักหนวย มีคาเทากัน คือ 1 เทากับ 1 จึงเปรียบเทียบ 5 และ 3 ในหลักสวนสิบ หรือทศนิยมตําแหนงทีหนึ่ง ซึ่งคาของ 5 มากกวาคาของ 3 ดังนั้น 1.5 มากกวา 1.3 ่ หรือ 1.3 นอยกวา 1.5 หรือ 1.5 > 1.3 หรือ 1.3 < 1.5 การเปรียบเทียบทศนิยมสองตําแหนงกับทศนิยมสองตําแหนงสามารถใชวิธีการเชนเดียวกันกับการ เปรียบเทียบทศนิยมหนึ่งตําแหนงกับทศนิยมหนึ่งตําแหนง สําหรับการเปรียบเทียบทศนิยมหนึ่งตําแหนงกับทศนิยมสองตําแหนงอาจทําไดโดยเปลี่ยนทศนิยม หนึ่งตําแหนงใหเปนทศนิยมสองตําแหนงกอน แลวจึงเปรียบเทียบทีละหลัก เชน เปรียบเทียบ 2.3 กับ 2.34 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 91
  • 8. คณิตศาสตรประถมศึกษา เขียน 2.3 เปนทศนิยมสองตําแหนงได 2.30 นํา 2.30 และ 2.34 มาเปรียบเทียบกันทีละหลัก เลขโดดใน หลักหนวย คือ 2 มีคาเทากัน เลขโดดในหลักสวนสิบ คือ 3 มีคาเทากัน เลขโดดในหลักสวนรอย คาของ 0  นอยกวาคาของ 4 จะได 2.30 นอยกวา 2.34 ดังนั้น 2.3 นอยกวา 2.34 หรือ 2.34 มากกวา 2.3 หรือ 2.3 < 2.34 หรือ 2.34 > 2.3 การเปรียบเทียบทศนิยมหนึ่งตําแหนงกับทศนิยมสองตําแหนงในกรณีทเี่ ลขโดดในหลักสวนสิบมีคา ไมเทากัน อาจใชการเปรียบเทียบคาของเลขโดดที่อยูในหลักเดียวกันทีละหลักเชนเดียวกับจํานวนนับ โดยไม ตองเขียนทศนิยมหนึ่งตําแหนงเปนทศนิยมสองตําแหนงก็ได เชน เปรียบเทียบ 2.5 กับ 2.48 เลขโดดใน หลักหนวยมีคาเทากัน คือ 2 เทากับ 2 คาของเลขโดดในหลักสวนสิบ 5 มากกวา 4 จึงสรุปไดวา 2.5  มากกวา 2.48 หรือ 2.48 นอยกวา 2.5 หรือ 2.5 > 2.48 หรือ 2.48 < 2.5 ความสัมพันธระหวางทศนิยมกับเศษสวน ทศนิยมกับเศษสวนมีความสัมพันธกัน คือทศนิยมสามารถเขียนในรูปเศษสวนได ทศนิยมหนึ่ง ตําแหนง ทศนิยมสองตําแหนงสามารถเขียนในรูปเศษสวนที่มีตวสวนเปน 10 เปน 100 ตามลําดับ เชน ั 0.4 = 4 10 6 16 1.6 = 1 10 = 10 5 0.05 = 100 27 327 3.27 = 3 100 = 100 และเศษสวนก็สามารถเขียนในรูปทศนิยมได โดยเขียนเศษสวนที่มีตวสวนเปน 10 และ 100 ในรูปทศนิยม ั และสรุปวาเศษสวนแทหรือจํานวนคละ ที่มีตัวสวนเปน 10 เขียนเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงได โดยจํานวน ที่เปนตัวเศษจะเปนทศนิยมตําแหนงทีหนึง เศษเกินที่มตัวสวนเปน 10 เขียนเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนงได ่ ่ ี โดยอาจเขียนเศษเกินในรูปจํานวนคละกอนหรืออาจเขียนจํานวนที่เปนตัวเศษใหเปนทศนิยมหนึ่งตําแหนง เชน 4 10 = 0.4 9 2 10 = 2.9 12 = 1 2 = 1.2 10 10 หรือ 1012 = 1.2 สําหรับการเขียนเศษสวนทีมีตัวสวนเปน 100 ใหอยูในรูปทศนิยมสองตําแหนง อาจใชวิธีการเดียวกัน ่  กับการเขียนเศษสวนที่มีตวสวนเปน 10 ใหอยูในรูปทศนิยมหนึ่งตําแหนงและสรุปวา เศษสวนแท ที่มีตวสวน ั ั เปน 100 ตัวเศษเปนจํานวนที่มีสองหลักเขียนเปนทศนิยมสองตําแหนงได โดยจํานวนที่เปนตัวเศษจะเปน 92 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 9. คณิตศาสตรประถมศึกษา ทศนิยมตําแหนงที่หนึ่งและที่สองตามลําดับ ถาตัวเศษเปนจํานวนที่มีหลักเดียว เมื่อเขียนเปนทศนิยมสอง ตําแหนงตองเติม 0 อีก 1 ตัว 45 = 0.45 100 7 100 = 0.07 115 15 100 = 1 100 = 1.15 เพื่อใหมองเห็นความสัมพันธระหวางทศนิยมกับเรื่องอื่น ๆ จึงเสนอสิ่งที่นารูเกี่ยวกับทศนิยมเพิ่มเติมไว ดังนี้ 1. จํานวนนับทุกจํานวนสามารถเขียนในรูปทศนิยมได เชน จํานวนนับ ทศนิยม 5 5.0 5.00 5.000 10 10.0 10.00 10.000 234 234.0 234.00 234.000 2. การเปรียบเทียบคาของจํานวนเงินที่มหนวยเปนสตางคกบ 1 บาท ดังนี้ ี ั 100 สตางค เทากับ 1 บาท 1 สตางค เทากับ 0.01 บาท 5 สตางค เทากับ 0.05 บาท 25 สตางค เทากับ 0.25 บาท 50 สตางค เทากับ 0.50 บาท 75 สตางค เทากับ 0.75 บาท 100 สตางค เทากับ 1.00 บาท 3. การวัดความยาวที่มีหนวยเปนนิ้ว เชน 1.5 นิ้ว หมายถึง 1 นิ้วครึ่ง ไมใช 1 นิ้วกับ 5 ชอง 1 นิ้ว ไมไดแบงเปน 10 ชอง สีเทียนยาว 1.5 นิ้ว 4. การใชจุด “ . ” เกี่ยวกับเวลา เชน 2.5 ชั่วโมง หมายถึง 2 ชั่วโมงครึ่ง หรือ 2 ชั่วโมง 30 นาที 2.50 น. หมายถึง 2 นาฬิกา 50 นาที สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 93
  • 10. คณิตศาสตรประถมศึกษา กิจกรรมเสริมทศนิยม BEAT THE CLOCK ที่มา : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/beatclock.html 1. สงตัวแทนออกมาแขงขัน(แขงเปนรายกลุม หรือรายบุคคลก็ได)  2. ครูเปนผูกําหนดระดับความยากงายของเกม(มี 2 ระดับคือ Beginner และ Advanced) 3. ครูเปนผูกําหนดความเร็วของการจับเวลา(มี 3 ระดับคือ Slow Medium และ Fast) 4. กลุมใดหรือคนใดทําไดถูกตองมากที่สุดภายในเวลาที่กําหนดเปนผูชนะ วิธีการเขาสูเกม 1. เขาสูเว็บไซต : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/beatclock.html หมายเหตุ : เพื่อความสะดวกในการนําไปใช ครูควร Save Offline เกมนี้ไวในคอมพิวเตอร 2. ปรากฏหนาตาง 2.1 เลือกที่จะเลนคนเดียว คลิกปุม clock 2.2 ใสชื่อผูเลน(ชื่อจริง หรือชื่อสมมติก็ได เลือกที่จะเลนกับเพื่อนอีกคน คลิกปุม แตเปนภาษาอังกฤษ) player 94 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 11. คณิตศาสตรประถมศึกษา 2.3 เลือกระดับความยากงายของเกม 2.4 เลือกระดับความเร็วของการจับเวลา มี 2 ระดับคือ Beginner และ Advanced มี 3 ระดับคือ Slow Medium และ Fast หลังจากเลือกแลว จะปรากฏปุม Next ใหกด หลังจากเลือกแลว จะปรากฏปุม Let’s Play ปุม Next ใหกดปุม Let’s Play เพื่อเขาสูเกม 2.5 ถาเลือกเลนคนเดียวจะปรากฏหนาตาของเกมคลายๆกับหนาตางดานซายมือ ถาเลือกเลนกับเพื่อนจะปรากฏหนาตาของเกมคลายๆกับหนาตางดานขวามือ วิธการเลน ี 1. ใชเมาสคลิกที่แผนสี่เหลียมจะปรากฏแผนตารางมีสวนที่แรเงา ่ 2. ใหพิมพทศนิยมแสดงความหมายของสวนที่แรเงานัน ้ 3. เมื่อพิมพทศนิยมเสร็จแลว ใชเมาสคลิกที่รูปนาฬิกาที่จับเวลา 4. เข็มนาฬิกาจะหยุดเดิน และโปรแกรมจะบอกคุณวาทศนิยมที่พิมพลงไปนั้นถูกหรือผิด ถาผิดโปรแกรมก็จะบอกวาที่ถกคือทศนิยมใด ู 5. เริ่มเลนตอโดยการใชเมาสคลิกที่รูปนาฬิกาทีจับเวลา ่ 6. เกมจบเมือเข็มนาฬิกาเดินครบ 1 รอบ ่ 7. สามารถดูวาทําไดถูกกี่ขอ ผิดกี่ขอจากขอความใตรูปนาฬิกา  8. สามารถเปดหรือปดเสียงไดจากรูปลําโพงดานบนขวามือของเกม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 95
  • 12. คณิตศาสตรประถมศึกษา Concentration ที่มา : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/concentration.html 1. สงตัวแทนออกมาแขงขัน(แขงเปนรายกลุม หรือรายบุคคลก็ได) 2. ครูเปนผูกําหนดระดับของการเลน(มี 2 ระดับคือ Beginner หงายบัตรได 4 ครั้งและ Advanced หงายบัตรได 3 ครั้ง) 3. กลุมใดหรือคนใดหงายบัตรจับคูทศนิยมทีเ่ ทากันไดครบกอนที่ Game Over จะเปนผูชนะ (อาจมีผูชนะหลายกลุมหรือหลายคนได) วิธการเขาสูเกม ี 1. เขาสูเว็บไซต : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/concentration.html หมายเหตุ : เพื่อความสะดวกในการนําไปใช ครูควร Save Offline เกมนีไวในคอมพิวเตอร ้ 2. ปรากฏหนาตาง 2.1 เลือกระดับของการเลนเกมมี 2 ระดับคือ Beginner หงายบัตรได 4 ครั้งและ Advanced หงายบัตรได 3 ครั้ง 2.2 หงายบัตรที่เปนสีแดงและสีเขียว เพื่อหาทศนิยมที่เทากัน ถาเปนทศนิยมที่เทากัน บัตรทั้ง 2 ใบที่หงายขึ้นจะหายไป ถาไมใชทศนิยมที่เทากันบัตรจะคว่ําไวเหมือนเดิม 96 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 13. คณิตศาสตรประถมศึกษา วิธการเลน ี 1. ใชเมาสคลิกที่บัตรสีเขียวและสีแดง บัตรทั้งสองสีจะหงายขึ้น 2. ถาเปนทศนิยมที่เทากัน บัตรทั้ง 2 ใบที่หงายขึ้นจะหายไป ถาไมใชทศนิยมที่เทากันบัตรจะ คว่ําไวเหมือนเดิม 3. ดําเนินการเชนเดียวกับขอ 2 ไปเรื่อยๆ จนกวาจะจับคูบัตรที่เปนทศนิยมที่เทากันหมดหรือ  จํานวนครั้งที่กําหนดไวตอนกําหนดระดับของการเลนหมด(เชน กําหนดไววาหงายบัตรได 4 ครั้ง ถาหงายเกิน 4 ครั้ง การเลนเกมก็จะยุต(Game Over)) ิ PlaceValue Strategy ที่มา : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/placevalue.html 1. สงตัวแทนออกมาแขงขัน(แขงเปนรายกลุม หรือรายบุคคลก็ได)  2 ครูเปนผูกําหนดวาจะใหเลนเกมการเปรียบเทียบทศนิยม 3 ตําแหนง หรือ 4 ตําแหนง 3 กลุมใดหรือคนใดชนะการเปรียบเทียบทศนิยมได 2 ครั้งกอนจะเปนผูชนะ วิธการเขาสูเกม ี 1. เขาสูเว็บไซต : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/placevalue.html หมายเหตุ : เพื่อความสะดวกในการนําไปใช ครูควร Save Offline เกมนี้ไวในคอมพิวเตอร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 97
  • 14. คณิตศาสตรประถมศึกษา 2. ปรากฏหนาตาง 2.1 เลือกวาจะใหเลนเกมการเปรียบเทียบทศนิยม 3 ตําแหนง หรือ 4 ตําแหนง 2.2 เลือกวาจะเลนแขงกับคอมพิวเตอร 2.4 ใสชื่อผูเลน หรือกับเพื่อน 2.3 คลิกที่ปุม SPIN เข็มที่วงลอจะหมุน เข็มหยุดหมุนตรงกับ ตัวเลขใด ใหผเู ลนกําหนดวาใหใสตวเลขนันที่หลักใด ั ้ (หลักสวนสิบ หรือหลักสวนรอย หรือหลักสวนพัน) โดย ใชเมาสไปคลิกในชองตารางที่ตองการใสตัวเลข ตัวเลขจะ ปรากฏในชองตารางที่ผูเลนเลือก 98 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 15. คณิตศาสตรประถมศึกษา วิธการเลน ี 1. ใชเมาสคลิกที่ปุม SPIN เข็มที่วงลอจะหมุน 2. เข็มหยุดหมุนตรงกับตัวเลขใด ใหผูเลนกําหนดวาใหใสตัวเลขนันที่หลักใด (หลักสวนสิบ ้ หรือหลักสวนรอย หรือหลักสวนพัน) โดยใชเมาสไปคลิกในชองตารางที่ตองการใสตัวเลข ตัวเลขจะปรากฏในชองตารางที่ผูเลนเลือก 3. ผูเลนคนที่สองดําเนินการเชนเดียวกับคนแรก(ขอ 1 และ 2) แตถากําหนดวาเลนกับ คอมพิวเตอร คอมพิวเตอรจะดําเนินการตามขอ 1 และ 2 เองอัตโนมัติ 4. เมื่อปรากฏตัวเลขจนครบทุกชองในตารางแลว โปรแกรมจะบอกวาใครเปนผูชนะ ผูชนะ คือผูที่ไดทศนิยมที่มีคามากกวา และไดคะแนน 1 คะแนน 5. ผูที่ไดคะแนน 2 คะแนนกอนเปนผูชนะ การบวก การลบทศนิยม อาจจัดกิจกรรมการเรียนรูไดดังนี้ 1. ใชสื่อการเรียนรู 2. ใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน 3. วิธีลัด การบวก การลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงเทากัน 1. ใชสื่อการเรียนรู ในที่นี้จะใชตารางสิบ และตารางรอยเปนสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องการบวก การลบทศนิยมที่มีผลลัพธไมเกินทศนิยมสองตําแหนง ตารางสิบ ตารางรอย กอนที่จะนําสือนี้ไปใชสอนเรื่องการบวก การลบทศนิยม ครูผูสอนควรทบทวนความรูพื้นฐานในเรือง ่ ่ ความหมายของทศนิยม ทศนิยมที่เทากัน โดยใชตารางสิบ และตารางรอยกับนักเรียนกอน ดังตัวอยาง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 99
  • 16. คณิตศาสตรประถมศึกษา • ความหมายของทศนิยม ผูสอนอาจทบทวนความรูในเรื่องความหมายของทศนิยม โดยใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้  สวนที่ระบายสีเขียนแทนดวยทศนิยมไดอยางไร(0.3) สวนที่ระบายสีเขียนแทนดวยทศนิยมไดอยางไร(0.25) • ทศนิยมที่เทากัน ผูสอนอาจทบทวนความรูเรืองทศนิยมที่เทากัน โดยใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ ่ - จากภาพทั้งสอง สวนที่ระบายสีแทนดวยทศนิยมไดอยางไร (0.4 กับ 0.40 ตามลําดับ) - นักเรียนคิดวา 0.4 กับ 0.40 มีคาเทากันหรือไม เพราะเหตุใด (เทากัน เพราะสวนที่ระบายสีมีขนาดเทากัน) ผูสอนเขียนบนกระดานใหนักเรียนดูดังนี้ 0.4 = 0.40 ผูสอนอาจยกตัวอยางเพิ่มเติมอีกสัก 2 – 3 ตัวอยาง และรวมกันสรุปกับนักเรียนวา การเขียนตัวเลข 0 ตอทายทศนิยมใดๆ ไมทําใหคาของทศนิยมนันเปลี่ยนไป  ้ เชน 0.4 = 0.40 0.6 = 0.60 100 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 17. คณิตศาสตรประถมศึกษา ตัวอยาง 0.27 + 0.38 = ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ - ตัวตั้งและตัวบวกเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(2 ตําแหนง) - ถาเราจะใชกระดาษตารางชวยในการหาคําตอบ นักเรียนจะใชกระดาษตารางสิบหรือ กระดาษตารางรอย เพราะเหตุใด(กระดาษตารางรอย เพราะสามารถระบายสีแทนทศนิยมที่ เปนตัวตั้งและตัวบวกซึ่งเปนทศนิยมสองตําแหนงได) - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง ซึ่งจะไดดังนี้ ั 0.27 - เราจะหาผลบวกของโจทยขอนี้ไดอยางไร(ระบายสีแทน 0.38 เพิ่มลงไปในกระดาษ ตารางรอย) - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวบวก ซึ่งนักเรียนอาจจะระบายสีไดดงนี้ ั ั 0.27 + 0.38 - มีสวนที่ระบายสีทั้งหมดกี่สวนจาก 100 สวน(65 สวนจาก 100 สวน)  - ดังนั้น ผลบวกของโจทยขอนี้คือ….(0.65) ผูสอนเขียนสรุปผลบวกบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้ 0.27 + 0.38 = 0.65 ตัวอยาง 0.62 – 0.46 = ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ - ตัวตั้งและตัวลบเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(2 ตําแหนง) - ถาเราจะใชกระดาษตารางชวยในการหาคําตอบ นักเรียนจะใชกระดาษตารางสิบหรือ กระดาษตารางรอย เพราะเหตุใด(กระดาษตารางรอย เพราะสามารถระบายสีแทนทศนิยม ที่เปนตัวตั้งและตัวลบซึ่งเปนทศนิยมสองตําแหนงได) - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง ซึ่งจะไดดังนี้ ั สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 101
  • 18. คณิตศาสตรประถมศึกษา 0.62 - เราจะหาผลลบของโจทยขอนี้ไดอยางไร(ระบายสีแทน 0.46 ซึ่งเปนตัวลบทับลงไปในสวน ที่ระบายสีไวแลวในกระดาษตารางรอย สีเดิมที่เหลืออยูคอผลลบที่ตองการ) ื - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวลบทับลงไปในสวนทีระบายสีไวแลว ั ่ ซึ่งนักเรียนอาจจะระบายสีไดดังนี้ 0.62 – 0.46 - มีสวนที่ระบายสีเดิมเหลืออยูกี่สวนจาก 100 สวน(16 สวนจาก 100 สวน) - ดังนั้น ผลลบของโจทยขอนีคือ….(0.16) ้ ผูสอนเขียนสรุปผลลบบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้ 0.62 - 0.46 = 0.16 2. ใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน ตัวอยาง 0.27 + 0.38 = 27 38 0.27 + 0.38 = 100 + 100 = 2710038 + 65 = 100 = 0.65 ตัวอยาง 0.62 – 0.46 = 62 46 0.62 – 0.46 = 100 - 100 = 62 - 46 100 16 = 100 = 0.16 102 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 19. คณิตศาสตรประถมศึกษา จากตัวอยางจะเห็นวา การสอนเรื่องการบวก การลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมเทากัน โดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน นักเรียนตองมีความรูพนฐานในเรื่องตอไปนี้ ื้ - การเขียนทศนิยมใหอยูในรูปเศษสวน - การเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยม  - การบวก การลบเศษสวนที่ตวสวนเทากันและตัวสวนเปน 10 หรือ 100 ั ซึ่งถานักเรียนมีพื้นฐานเรื่องใดไมดี ผูสอนควรทําการทบทวนใหกับนักเรียนกอน 3. วิธีลัด จากการบวกลบทศนิยมที่มีจานวนตําแหนงทศนิยมเทากันโดยใชสื่อ สามารถนํามาสูวิธีลัดไดดงตัวอยาง ํ ั ตอไปนี้ ตัวอยาง 0.27 + 0.38 = 0.27 + 0.38 มีสวนที่ระบายสีแสดงตัวตั้งอยู 27 สวน ระบายสีเพิ่มอีก 38 สวน รวมมีสวนที่ระบายสี 27 + 38 = 65 ซึ่ง 65 สวนในที่นี้คือ 65 สวนใน 100 สวน สามารถเขียนเปนทศนิยมได เปน 0.65 ดังนั้น 0.27 + 0.38 = 0.65 สามารถเขียนแสดงการบวกในแนวตั้งไดดงนี้ ั 0.27 + 0.38 = วิธีทํา 0.27 + 0.38 0.65 ตอบ ๐.๖๕ ผูสอนแนะนํานักเรียนวา จะสังเกตวา 0.27 และ 0.38 นอยกวา 0.50 และ เนื่องจากครึ่งบวกกับครึ่งจะเทากับ 1 ดังนัน 0.27 + 0.38 จะมีผลบวกนอยกวา 1 ้ ตัวอยาง 0.62 - 0.46 = 0.62 - 0.46 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 103
  • 20. คณิตศาสตรประถมศึกษา มีสวนที่ระบายสีแสดงตัวตั้งอยู 62 สวน ระบายสีทับลงไปในสวนที่ระบายสีไวแลวใน ตารางรอยอีก 46 สวน สีเดิมที่เหลืออยูคือผลลบที่ตองการ ดังนันเหลือสีเดิมอยู ้ 62 - 46 = 16 ซึ่ง 16 สวนในที่นี้คือ 16 สวนใน 100 สวน สามารถเขียนเปนทศนิยมไดเปน 0.16 ดังนั้น 0.62 - 0.46 = 0.16 สามารถเขียนแสดงการลบในแนวตั้งไดดังนี้ 0.62 - 0.46 = วิธีทํา 0.62 - 0.46 0.16 ตอบ ๐.๑๖ การบวก การลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน 1. ใชสื่อการเรียนรู ตัวอยาง 0.7 + 0.12 = ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ - ตัวตั้งและตัวบวกเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(ตัวตั้งเปนทศนิยม 1 ตําแหนง ตัวบวกเปนทศนิยม 2 ตําแหนง) - ผูสอนนํากระดาษตารางสิบ ดังภาพ มาใหนักเรียนระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง โดย อาจนํากระดาษดังกลาวติดบนกระดานและใหตวแทนออกมาระบายสี หรือแจกเปนงาน ั กลุมหรืองานเดี่ยวก็ได เมื่อนักเรียนระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้งเสร็จแลว อาจไดดังตัวอยาง - ผูสอนถามนักเรียนวา เราจะระบายสีเพิ่มลงไปในตารางเพือแทน 0.12 ที่เปนตัวบวกได ่ อยางไร(แบงตารางออกเปน 10 สวนตามแนวนอน เพื่อใหเปนตารางรอย) 104 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 21. คณิตศาสตรประถมศึกษา - ผูสอนทําการแบงตารางออกเปน 10 สวนตามแนวนอน จะไดดังภาพ - ผูสอนถามนักเรียนวา สวนทีแรเงาแทนทศนิยมใด(0.70) ่ - ผูสอนและนักเรียนรวมกันสรุปวา 0.7 = 0.70 - ผูสอนใหนักเรียนระบายสีเพิมลงไปในตารางเพื่อแทน 0.12 ที่เปนตัวบวกไดดงภาพ ่ ั - ผูสอนถามนักเรียนวามีสวนที่ระบายสีทั้งหมดกี่สวนจาก 100 สวนและเขียนเปนทศนิยมได   อยางไร(82 สวนจาก 100 สวน และเขียนเปนทศนิยมได 0.82) - ดังนั้น ผลบวกของโจทยขอนี้คือ….(0.82) ผูสอนเขียนสรุปผลบวกบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้ 0.7 + 0.12 = 0.70 + 0.12 = 0.82 และใหนักเรียนสังเกตวา การบวกทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน เราอาจหาผลบวกไดโดยทําให ทศนิยมทั้งสองมีจํานวนตําแหนงทศนิยมเทากันกอนแลวจึงหาผลบวกเหมือนกับการบวกทศนิยมทีมีจํานวน ่ ตําแหนงทศนิยมเทากัน ผูสอนอาจยกตัวอยางทํานองนี้อีก 2 – 3 ตัวอยาง ใหนกเรียนหาคําตอบจากสื่อ และครูเขียนสรุปไว ั บนกระดาน เพื่อนําไปใชสอนการหาผลบวกทศนิยมโดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน และ วิธีลัดตอไป ตัวอยางที่ผานมาเปนกรณีทตัวตั้งเปนทศนิยม 1 ตําแหนง ตัวบวกเปนทศนิยม 2 ตําแหนง ในทางกลับกัน ี่ ถาตัวตั้งเปนทศนิยม 2 ตําแหนงและตัวบวกเปนทศนิยม 1 ตําแหนง เชน 0.12 + 0.7 อาจมีแนวทางการจัดกิจกรรม การเรียนรูโดยใชสื่อดังนี้ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 105
  • 22. คณิตศาสตรประถมศึกษา ตัวอยาง 0.12 + 0.7 = ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ - ตัวตั้งและตัวบวกเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(ตัวตั้งเปนทศนิยม 2 ตําแหนง ตัวบวกเปนทศนิยม 1 ตําแหนง) - ผูสอนนํากระดาษตารางรอย ดังภาพ มาใหนักเรียนระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง โดยอาจนํากระดาษดังกลาวติดบนกระดานและใหตวแทนออกมาระบายสี หรือแจกเปน ั งานกลุมหรืองานเดี่ยวก็ได - ผูสอนถามนักเรียนวา เราจะระบายสีเพิ่มลงไปในตารางเพือแทน 0.7 ที่เปนตัวบวกได ่ อยางไร(เนื่องจาก 0.7 = 0.70 ดังนั้นเปลี่ยน 0.7 เปน 0.70) - ผูสอนใหนักเรียนระบายสีเพิมลงไปในตารางเพื่อแทน 0.70 ที่เปนตัวบวก ซึ่งอาจจะได ่ ดังภาพ - ผูสอนถามนักเรียนวามีสวนที่ระบายสีทั้งหมดกี่สวนจาก 100 สวนและเขียนเปนทศนิยมได   อยางไร(82 สวนจาก 100 สวน และเขียนเปนทศนิยมได 0.82) - ดังนั้น ผลบวกของโจทยขอนี้คือ….(0.82) ผูสอนเขียนสรุปผลบวกบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้ 0.12 + 0.7 = 0.12 + 0.70 = 0.82 และใหนักเรียนสังเกตวา การบวกทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน เราอาจหาผลบวกไดโดยทําให ทศนิยมทั้งสองมีจํานวนตําแหนงทศนิยมเทากันกอนแลวจึงหาผลบวกเหมือนกับการบวกทศนิยมทีมีจํานวน ่ ตําแหนงทศนิยมเทากัน ผูสอนอาจยกตัวอยางทํานองนี้อีก 2 – 3 ตัวอยาง ใหนกเรียนหาคําตอบจากสื่อ และครูเขียนสรุปไว ั บนกระดาน เพื่อนําไปใชสอนการหาผลบวกทศนิยมโดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน และ วิธีลัดตอไป 106 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 23. คณิตศาสตรประถมศึกษา ตอไปนี้เปนตัวอยางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องการลบทศนิยมที่มีจานวนตําแหนงทศนิยม ํ ไมเทากัน ตัวอยาง 0.5 – 0.34 = ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ - ตัวตั้งและตัวลบเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(ตัวตั้งเปนทศนิยม 1 ตําแหนง ตัวลบเปนทศนิยม 2 ตําแหนง) - ผูสอนนํากระดาษตารางสิบ ดังภาพ มาใหนักเรียนระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง โดยอาจนํากระดาษดังกลาวติดบนกระดานและใหตวแทนออกมาระบายสี หรือแจกเปน ั งานกลุมหรืองานเดี่ยวก็ได - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง ซึ่งอาจจะไดดังนี้ ั - เราจะหาผลลบของโจทยขอนี้ไดอยางไร(ระบายสีแทน 0.34 ซึ่งเปนตัวลบทับลงไปในสวน ที่ระบายสีไวแลวในกระดาษตารางสิบ สีเดิมที่เหลืออยูคอผลลบที่ตองการ) ื  - แลวเราจะระบายสีทบลงไปเพื่อแทน 0.34 ซึ่งเปนตัวลบไดอยางไร(แบงสวนเพิ่มตาม ั แนวนอนอีก 10 สวน เพื่อทําใหเปนตารางรอย) - ผูสอนทําการแบงสวนเพิ่มตามแนวนอนอีก 10 สวนเทา ๆ กัน จะไดดังภาพ - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวลบทับลงไปในสวนทีระบายสีไวแลว ซึ่ง ั ่ นักเรียนอาจจะระบายสีไดดงนี้ ั สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 107
  • 24. คณิตศาสตรประถมศึกษา - มีสวนที่ระบายสีเดิมเหลืออยูกี่สวนจาก 100 สวน(16 สวนจาก 100 สวน) - ดังนั้น ผลลบของโจทยขอนีคือ….(0.16) ้ ผูสอนเขียนสรุปผลลบบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้ 0.5 - 0.34 = 0.50 – 0.34 = 0.16 และใหนักเรียนสังเกตวา การลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน เราอาจหาผลลบไดโดยทําให ทศนิยมทั้งสองมีจํานวนตําแหนงทศนิยมเทากันกอนแลวจึงหาผลลบเหมือนกับการลบทศนิยมที่มจํานวน ี ตําแหนงทศนิยมเทากัน ผูสอนอาจยกตัวอยางทํานองนี้อีก 2 – 3 ตัวอยาง ใหนกเรียนหาคําตอบจากสื่อ และครูเขียนสรุปไว ั บนกระดาน เพื่อนําไปใชสอนการหาผลลบทศนิยมโดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน และ วิธีลัดตอไป สําหรับกรณีทตวตั้งเปนทศนิยม 2 ตําแหนง ตัวลบเปนทศนิยม 1 ตําแหนง เชน 0.65 – 0.3 มีแนวทาง ี่ ั การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อดังนี้ ตัวอยาง 0.65 – 0.3 = ผูสอนใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ - ตัวตั้งและตัวลบเปนทศนิยมกี่ตําแหนง(ตัวตั้งเปนทศนิยม 2 ตําแหนง ตัวลบเปนทศนิยม 1 ตําแหนง) - ผูสอนนํากระดาษตารางรอย ดังภาพ มาใหนักเรียนระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง โดย อาจนํากระดาษดังกลาวติดบนกระดานและใหตวแทนออกมาระบายสี หรือแจกเปนงานกลุม ั หรืองานเดียวก็ได ่ - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวตั้ง ซึ่งจะไดดังนี้ ั - เราจะหาผลลบของโจทยขอนี้ไดอยางไร(ระบายสีแทน 0.3 ซึ่งเปนตัวลบทับลงไปในสวนที่ ระบายสีไวแลวในกระดาษตารางรอย สีเดิมที่เหลืออยูคือผลลบที่ตองการ)  - แลวเราจะระบายสีทบลงไปเพื่อแทน 0.3 ซึ่งเปนตัวลบไดอยางไร(เนื่องจาก 0.3 = 0.30 ั ดังนั้นจึงเปลี่ยน 0.3 เปน 0.30) 108 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 25. คณิตศาสตรประถมศึกษา - ใหนกเรียนออกมาระบายสีแทนทศนิยมที่เปนตัวลบทับลงไปในสวนทีระบายสีไวแลว ั ่ ซึ่งนักเรียนอาจจะระบายสีไดดังนี้ - มีสวนที่ระบายสีเดิมเหลืออยูกี่สวนจาก 100 สวน(35 สวนจาก 100 สวน) - ดังนั้น ผลลบของโจทยขอนีคือ….(0.35) ้ ผูสอนเขียนสรุปผลลบบนกระดานอีกครั้ง ดังนี้ 0.65 - 0.3 = 0.65 – 0.30 = 0.35 และใหนักเรียนสังเกตวา การลบทศนิยมที่มีจานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน เราอาจหาผลลบไดโดยทําให ํ ทศนิยมทั้งสองมีจํานวนตําแหนงทศนิยมเทากันกอนแลวจึงหาผลลบเหมือนกับการลบทศนิยมที่มจํานวน ี ตําแหนงทศนิยมเทากัน ผูสอนอาจยกตัวอยางทํานองนี้อีก 2 – 3 ตัวอยาง ใหนกเรียนหาคําตอบจากสื่อ และครูเขียนสรุปไว ั บนกระดาน เพื่อนําไปใชสอนการหาผลลบทศนิยมโดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน และ วิธีลัดตอไป 2. ใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน ตัวอยาง 0.7 + 0.12 = 7 12 0.7 + 0.12 = 10 + 100 7 × 10 = 10 × 10 + 10012 70 = 100 + 10012 = 7010012 + 82 = 100 = 0.82 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 109
  • 26. คณิตศาสตรประถมศึกษา ตัวอยาง 0.65 – 0.3 = 65 3 0.65 – 0.3 = 100 - 10 65 3 × 10 = 100 - 10 × 10 65 30 = 100 - 100 65 - 30 = 100 35 = 100 = 0.35 จากตัวอยางจะเห็นวา การสอนเรื่องการบวก การลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน โดยใชความสัมพันธของทศนิยมและเศษสวน นักเรียนตองมีความรูพนฐานในเรื่องตอไปนี้ ื้ - การเขียนทศนิยมใหอยูในรูปเศษสวน - การเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยม  - การบวก การลบเศษสวนที่ตวสวนไมเทากันและตัวสวนเปน 10 และ 100 ั ซึ่งถานักเรียนมีพื้นฐานเรื่องใดไมดี ผูสอนควรทําการทบทวนใหกบนักเรียนกอน ั 3. วิธีลัด จากการบวกทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากันโดยใชสื่อ สามารถนํามาสูวิธีลัดไดดังตัวอยาง ตอไปนี้ ตัวอยาง 0.7 + 0.12 = จากการใชสื่อจะเห็นวา ขั้นแรกเราใชตารางสิบระบายสี 7 สวนใน 10 สวนเพื่อแทนคา 0.7 แตเมื่อตองระบายสีเพิ่มเพื่อแทนคา 0.12 เรามีความจําเปนตองแบงตารางเพิ่มตามแนวนอน อีก 10 สวนเพือใหเปนตารางรอย ดังนั้น 0.7 จึงเปลี่ยนไปเปน 0.70 และสามารถระบายสี ่ เพิ่มอีก 12 สวนใน 100 สวนลงไปในตารางได ทําใหมีสวนที่ระบายสีทั้งหมด 82 สวนใน 100 สวน หรือมีผลบวกเทากับ 0.82 ใหนกเรียนสังเกต ั 0.7 + 0.12 เทากับ 0.70 + 0.12 เทากับ 0.82 70 + 12 = 82 จะพบวาเมื่อทําใหจํานวนตําแหนงทศนิยมของตัวตั้งและตัวบวกเทากันแลวเราสามารถหาผลบวกไดเหมือนกับ การบวกจํานวนนับ คือ นําจํานวนที่อยูในหลักเดียวกันมาบวกกัน โดยเขียนเปนวิธีลัดไดดงนี้ ั 110 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 27. คณิตศาสตรประถมศึกษา 0.7 + 0.12 = 0.70 + 0.12 0.70 + = 0.82 หรือ 0.12 0.82 ผูสอนยกตัวอยางการบวกทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากัน เพิ่มเติมอีก 2 – 3 ตัวอยาง โดยเชื่อมโยงมาจากการใชสื่อ ตัวอยาง 0.65 – 0.3 = จากการใชสื่อจะเห็นวา ขั้นแรกเราใชตารางรอยระบายสี 65 สวนใน 100 สวนเพื่อแทนคา 0.65 แตเมื่อตองระบายสีทับลงไปในสวนที่ระบายสีไวเดิมเพื่อแสดงการลบ ซึ่งมีตวลบ ั เทากับ 0.3 เรามีความจําเปนตองเปลี่ยน 0.3 เปน 0.30 โดยใชความรูพื้นฐานเดิมเรื่องทศนิยม  ที่เทากัน ดังนันเมื่อเปลี่ยนเปน 0.30 แลวเราก็สามารถระบายสีทบลงไป 30 สวนใน 100 สวน ้ ั ได ทําใหเหลือสวนที่ระบายสีไวเดิม 35 สวนใน 100 สวน หรือมีผลลบเทากับ 0.35 ใหนกเรียนสังเกต ั 65 - 30 = 35 0.65 - 0.3 เทากับ 0.65 - 0.30 เทากับ 0.35 จะพบวาเมื่อทําใหจํานวนตําแหนงทศนิยมของตัวตั้งและตัวลบเทากันแลวเราสามารถหาผลลบไดเหมือนกับ การลบจํานวนนับ คือ นําจํานวนที่อยูในหลักเดียวกันมาลบกัน โดยเขียนเปนวิธีลัดไดดงนี้ ั 0.65 - 0.3 = 0.65 - 0.30 0.65 - = 0.35 หรือ 0.30 0.35 ผูสอนยกตัวอยางการลบทศนิยมที่มีจํานวนตําแหนงทศนิยมไมเทากันเพิ่มเติมอีก 2 – 3 ตัวอยาง โดยเชื่อมโยงมาจากการใชสื่อ กิจกรรมเสริมการบวก ลบทศนิยม BLACKJACK ที่มา : http://www.decimalsquares.com/dsGames/games/blackjack.html สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 111