SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
บทที่ 1
------------------------------------- ระบบเลขฐาน (Number System)
หัวขอสําคัญ
            1.   ระบบตัวเลข
            2.   ระบบตัวเลขฐานสิบ
            3.   ระบบเลขฐานสอง
            4.   ระบบเลขฐานแปด
            5.   ระบบเลขฐานสิบหก
            6.   แบบฝกหัด

1.1 ระบบตัวเลข (Number Systems)
           ระบบตัวเลขทางพีชคณิตที่นยมใชในระบบดิจิตอลมีอยู 4 ระบบ คือ
                                       ิ
           ระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System) จะมีเลขฐานเปน 10 นั่นคือ จะใช
สัญลักษณหรือหลักที่แตกตางกันเทากับ 10 ในการแสดงคาของตัวเลข
           ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System ) จะมีเลขฐานเปน 2 นั่นคือ จะใช
สัญลักษณหรือหลักที่แตกตางกันเทากับ 2 ในการแสดงคาของตัวเลข
           ระบบเลขฐานแปด (Octal Number System) จะมีเลขฐานเปน 8 นั่นคือ จะใช
สัญลักษณหรือหลักที่แตกตางกันเทากับ 8 ในการแสดงคาของตัวเลข
           ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number System) จะมีเลขฐานเปน 16 นั่นคือ
จะใชสัญลักษณหรือหลักทีแตกตางกันเทากับ 16 ในการแสดงคาของตัวเลข
                        ่

1.2 ระบบตัวเลขฐานสิบ
                 กอนที่จะเรียนรูระบบเลขฐานอื่นๆ จําเปนที่จะตองเรียนรูคุณลักษณะของระบบ
เลขฐานสิบกอนระบบเลขฐานสิบนี้จะมีเลขฐานเปนสิบและคือระบบที่มีคาตามตําแหนงซึ่ง
หมายความวา คาของมันในแตละหลักจะขึ้นอยูกับตําแหนงของมัน ซึ่งมีคุณลักษณะดังตอไปนีคือ้
                 1) ฐาน (Base)
                     ฐานของระบบตัวเลขจะถูกกําหนดเปนคาของตัวเลขในแตละหลัก               ซึ่ง
สามารถเกิดขึ้นในแตละตําแหนงในระบบตัวเลข
2 ดิจิตอลประยุกต 31041003                     ระบบเลขฐาน                        พงษ พร
สัทธา
                      ระบบเลขฐานสิบจะมีฐานเปนเลข 10 ซึ่งหมายความวาแตละหลักของมัน
จะประกอบดวยเลข 10 ตัว เลขเหลานี้ คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 โดยที่ตัวเลขเหลานี้อาจจะถูก
ใชอยูในแตละตําแหนงของตัวเลขในระบบนี้ได ตัวอยางการเขียนเลขฐาน เชน 456 จะเขียนเปนเลข
ฐาน 10 คือ (456)10 หรือ 456 ตามปกติจะเปนที่รกันวาถาตัวเลขที่ไมมีเลขฐานเขียนอยูคือตัวเลข
                                                 ู
ฐาน 10
                   2) คาของตําแหนง (Position Value)
                      คาของตัวเลขในแตละหลักจะมีคาคงที่และขึ้นอยูกับตําแหนงของมัน
(หรือน้ําหนักของมัน) ตัวอยางเชนคาของ 2 ในตัวเลข 200 จะไมเทากับคาของ 2 ในตัวเลข 20 เปน
ตน ในลักษณะ เชนเดียวกันคาของ 3 ในแตละหลักจะมีคาแตกตางกันดังรูปที่ 1.1




                            รูปที่ 1.1 แสดงคาของ 3 ในแตละหลักในระบบเลขฐาน 10

         ในลักษณะคลาย ๆ กัน เชน เลข (4,831)10 สามารถแตกคาในแตละหลักออกมาไดดงนี้ คือ
                                                                                ั

                (4,831)10      =   4 x 103 + 8 x 102         + 3 x 101 + 1 x 100

                                   หลักที่ 4     หลักที่ 3      หลักที่ 2      หลักที่ 1

                    ซึ่งจะเห็นไดวาตัวเลข 1 ในหลักที่ 1 จะมีคาต่ําสุด ซึ่งเลข 1 นี้เราเรียกวา หลักที่มี
                                  
คานอยที่สุด หรือ LSD (Least Significant Digit) ขณะที่เลข 4 ในหลักที่ 4 จะมีคาสูงสุดซึ่งจะถูก
เรียกวาหลักทีมีคาสูงสุดหรือ MSD (Most Significant Digit)
              ่
                    สวนตัวเลขฐานสิบที่ประกอบดวยทศนิยมสามารถเขียนคาในแตละตําแหนงของ
ทศนิยมไดเชนเดียวกัน ตัวอยางเชน 4,831.263 สามารถแตกคาในแตละหลักออกมาไดดังนี้คือ

                    4,831.263 = 4 x103+ 8x102 + 3x101 + 1x100 + 2x10-1+ 6x10-2+ 3x10-3
3 ดิจิตอลประยุกต 31041003                      ระบบเลขฐาน                     พงษ พร
สัทธา
                   ซึ่งจะเห็นไดชดเจนวาเลขยกกําลัง 10 ทางดานซายของจุดทศนิยมจะมีคาเริ่มตั้งแต
                                 ั
0 เปนตนไป สวนเลขยกกําลัง 10 ทางดานขวาของจุดทศนิยมจะมีคาเริ่มตั้งแต -1 เปนตนไป
1.3 ระบบเลขฐานสอง
                   ระบบเลขฐานสองจะเหมือนกับระบบเลขฐานสิบ คือ ประกอบดวยฐานและคา
ของตําแหนงในแตละหลัก
                   1) ฐาน (Base)
                        ฐานของระบบเลขฐานสองคือ 2 เพราะวาใชเลข 2 หลักคือ 0 และ 1 ในทาง
ดิจิตอล จะเรียกหลักของเลขฐานสองวาบิท (bit) ตัวเลขในระบบเลขฐานสองทุกจํานวนจะ
ประกอบดวยตัวเลข 0 และ 1 เทานั้น ตัวอยางเชน 10, 100 และ 1001 ซึ่งอานวา หนึ่ง-ศูนย, หนึ่ง-
ศูนย-ศูนย
และหนึง-ศูนย-ศูนย-หนึ่ง ตามลําดับ เพื่อหลีกเลี่ยงการสับสนในการอานคาตัวเลขในระบบ
         ่
เลขฐานสิบอีกวิธีหนึ่งที่สามารถปองกันความสับสนในการอานคาในระบบเลขฐานสอง และระบบ
เลขฐานสิบ คือ เขียนเลขฐานหอยไว ตัวอยาง เชน 1010, 10010, 3,62510 เปนเลขฐานสิบ 102 , 1002,
10012 เปนเลขฐานสอง เปนตน
                   2) คาของตําแหนง (Position Value)
                        คาของตําแหนงในระบบเลขฐานสองจะมีลกษณะเหมือนกับเลขฐานสิบ
                                                                ั
คือ คาในแตละหลักจะมีน้ําหนักตางกัน อยางไรก็ตามคาของตําแหนงในแตละบิทจะสอดคลองกับ
เลขยกกําลัง 2 คาของตําแหนงทางดานซายของจุดทศนิยมจะเพิ่มขึ้นจากเลขยกกําลัง 0 ของ 2 ไป
ตามลําดับ สวนคาของตําแหนงทางดานขวาของจุดทศนิยมจะลดลงจากเลขยกกําลัง -1 ของ 2 ไป
ตามลําดับ ตัวอยางเชน การกระจายคาของ 1010.1012 ดังรูปที่ 1.2

                MSB                                                             LSB

                  1          0        1       0      i         1        0        1

                  23        22       21       20              2-1      2-2       2-3

              รูปที่ 1.2 การกระจายคาของ 1010.1012 ในลักษณะเลขยกกําลังของ 2
4 ดิจิตอลประยุกต 31041003                        ระบบเลขฐาน                   พงษ พร
สัทธา
                         จะเห็นไดวาคาของบิทที่ 4 ทางดานซายของจุดทศนิยมจะมีคาสูงสุด และ
ถูกเรียกวา หลักที่มีคามากทีสุด ในลักษณะคลาย ๆ กัน บิทที่ 3 ทางดานขวาของจุดทศนิยมจะมีคา
                             ่                                                              
ต่ําสุด และถูกเรียกวาหลักทีมีคานอยที่สุด หรือ LSD ( Least Significant Digit) ตัวอยางของคา
                               ่
เสมือนทางเลขฐานสิบของเลขฐานสองของ 1010.1012 สามารถแสดงไดดังนี้คือ
                               1010.1012 = (1x23)+(0x22)+(1x21)+(0x20)+(1x2-1)+(0x2-2)+(1x2-3)
คาทางเลขฐานสิบของ             1010.1012 = 8 + 0 + 2 + 0 + 1 + 0 + 1
                                                                       2                8
                                        = 10.62510

                        ตามที่กลาวมาแลวขางตนวาคาของตําแหนงของเลขฐานสองจะมีลักษณะคือ
คาของเลขทางดานซายของจุดทศนิยมจะมีคาเพิ่มขึ้นตามเลขยกกําลังของ 2 โดยเริ่มจากเลขยกกําลัง
0 เปนตนไป สวนคาของเลขทางดานขวาของจุดทศนิยมจะมีคาลดลงตามเลขยกกําลังของ 2 โดย
เริ่มจากเลขยกกําลัง-1 เปนตนไป ดังรูปที่ 1.3

 คาของตําแหนงในเลขฐานสอง                   24 23 22 21 20 . 2-1 2-2 2-3 2-4
 คาของตําแหนงเสมือนทางฐาน                  16 8 4 2 1 . 1 1 1 1
                                                                           2    4   8       16
 สิบของเลขฐานสอง

                            รูปที่ 1.3 คาของตําแหนงในเลขฐานสอง

การเปลี่ยนเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ (Binary to Decimal Conversion)
                ขั้นตอนในการเปลี่ยนเลขจํานวนเต็มในฐานสองเปนฐานสิบ ทําไดดังนี้คือ
                1. เขียนเลขฐานสองทั้งหมดโดยเรียงแตละหลักหรือแตละบิทเปนแถวเดียวกัน
                2. เขียนคาของแตละตําแหนงในรูปฐานสิบ คือ 1, 2, 4, 8, . . . โดยเริ่มจากขวาไป
ซาย
                3. นําขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 คูณกันในแตละบิท
                4. นําคาแตละหลักในขั้นตอนที่ 3 มาบวกกัน

ตัวอยางที่ 1.1 ใหเปลี่ยนเลข 101112 ไปเปนเลขฐานสิบ
วิธีทํา
                      ขั้นตอนที่ 1      1x      0x      1x      1x         1x
                      ขั้นตอนที่ 2      16      8       4       2          1
5 ดิจิตอลประยุกต 31041003                    ระบบเลขฐาน                          พงษ พร
สัทธา
                     ขั้นตอนที่ 3    16       0        4        2         1
                     ขั้นตอนที่ 4  16 + 0 + 4 + 2 + 1 = 2310
                          ดังนั้น  101112 = 2310                         ***
                     เลขฐานสองจะแปลงเปนเลขฐานสิบไดดังตัวอยางในตารางที่ 1.1


เศษสวนของระบบเลขฐานสอง (Binary Fractions)
        ขั้นตอนการแปลงเศษสวนของเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบจะมีขั้นตอนเดียวกับการแปลง
เลขจํานวนเต็มฐานสองเปนเลขฐานสิบจะแตกตางกันเพียงเลขยกกําลังเทานั้น

ตัวอยางที่ 1.2 ใหเปลี่ยน 0.11102 เปนเลขฐาน 10
วิธีทํา
               ขั้นตอนที่ 1    0        .      1          1       1          0
             ขั้นตอนที่ 2                       1
                                                2
                                                          1       1
                                                                  8
                                                                              1
                                                                             16
                                                          4
             ขั้นตอนที่ 3                .      1         1       1
                                                                      0
                                                2         4       8
             ขั้นตอนที่ 4                       1   + 1 + 1 + 0 = 0.87510
                                                2     4       8
                 ∴             0.11102          = 0.87510              ***

ตัวอยางที่ 1.3 ใหแปลงเลขฐานสอง 111.10112
วิธีทํา
                ขั้นตอนที่ 1  0      .     1              1       1          0
             ขั้นตอนที่ 2                       1
                                                2
                                                          1       1
                                                                  8
                                                                              1
                                                                             16
                                                          4
             ขั้นตอนที่ 3                .      1         1       1
                                                                      0
                                                2         4       8
             ขั้นตอนที่ 4                       1   + 1 + 1 + 0 = 0.87510
                                                2     4       8
                 ∴             0.11102          = 0.87510              ***

วิธีแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบโดยใชวิธี Double-Dadd
        วิธี Double-Dadd เปนวิธีการแปลงเลขฐานสองที่มีขนาดใหญไปเปนเลขฐานสิบ ซึ่งมี 3
ขั้นตอนดังตอไปนี้คือ
6 ดิจิตอลประยุกต     31041003                ระบบเลขฐาน                     พงษ พร
สัทธา
               1.    คูณบิทแรกทางซายสุดดวย 2 และบวกบิทถัดไปและคูณดวย 2
               2.    ผลรวมจะเพิ่มเปน 2 เทาและบวกคานีกับบิทถัดไป
                                                         ้
               3.    ทําตามขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 จนถึงบิททางขวาสุด




ตัวอยางที่ 1.4 ใหเปลี่ยนเลข 1110112 เปนเลขฐานสิบโดยใชวิธี Double-Dadd
วิธีทํา                  1      1       0      1     1



 2 x 1 = 2, 2 + 1 = 3, 3 x 2 = 6, 6 + 0 = 6, 6 x 2 = 12, 12 + 1 = 13, 13 x 2 = 26, 26 + 1 =
                                             2710
                                  ∴ 110112 = 2710         ***
การเปลี่ยนเลขฐานสิบเปนเลขฐานสอง

                  1) จํานวนเต็ม (Integers)
                      การเปลี่ยนเลขจํานวนเต็มฐานสิบเปนเลขฐานสองทําไดโดยวิธีที่เรียกวาวิธี
ดับเบิ้ลแดบเบิล (Double-Dabble Method) ซึ่งก็คือวิธีการหารดวย 2 วิธีนี้ทําไดโดยใช 2 หาร
              ้
ดวยเลขฐานสิบและเขียนเศษไวในในแตละครั้งของการหาร เศษที่ไดจะถูกเขียนในลําดับที่กลับกัน
คือจากลางขึ้นบน ตัวอยางเชนการเปลี่ยนคา 2910 เปนเลขฐานสองทําไดดังนี้ คือ
                         2) 29                    เศษ
                         2) 14                           1                 บน
                           2) 7                          0
                            2) 3                  1
                                1                        1                 ลาง
                ∴ จะได 2910 = 111012

                 2) เศษสวน (Fractions)
7 ดิจิตอลประยุกต 31041003                    ระบบเลขฐาน                       พงษ พร
สัทธา
                      ตัวเลขฐานสิบที่เปนจุดทศนิยมสามารถเปลี่ยนเปนเลขฐานสองไดโดยใช
วิธีการคูณดวยสอง (Multiply-by-two Method) และบันทึกคาทดในตําแหนงจํานวนเต็ม ตัวเลขทด
นี้
จะถูกเรียงไปดานหนาหรือจากบนลงลาง ตัวอยางเชน 0.937510 สามารถเปลี่ยนเปนเลขฐานสองได
ดังนี้ คือ
                         0.9375 x 2 = 1.875           = 0.875          ทด 1          บน
                         0.875 x 2 = 1.75             = 0.75           ทด 1
                         0.75 x 2       = 1.5         = 0.5            ทด 1
                         0.5 x 2        = 1.0         = 0.0            ทด 1          ลาง
                         ∴ 0.937510 = 0.11112
ตัวอยางที่ 1.5 ใหเปลี่ยน 0.72510 เปนเลขฐานสอง
วิธีทา ํ
                         0.725 x 2 = 1.45             = 0.45           ทด 1
                         0.45 x 2 = 0.9               = 0.9            ทด 0
                         0.9 x 2        = 1.8         = 0.8            ทด 1
                         0.8 x 2        = 1.6         = 0.6            ทด 1
                         0.6 x 2        = 1.2         = 0.2            ทด 1
                         0.2 x 2        = 0.4         = 0.4            ทด 0
                         0.4 x 2        = 0.8         = 0.8            ทด 0
                จะเห็นวาจะคูณใหลงตัวจนเปน 0 ไมได ดังนั้นจะได 0.72510 ≈ 0.10111002

ตัวอยางที่ 1.6 ใหเปลี่ยน 75.87510 เปนเลขฐานสอง
วิธีทํา         แปลงตัวเลขออกเปน 2 สวน คือ จํานวนเต็ม 7510 และทศนิยม 0.87510 มาแปลง
                เปนเลขฐานสองซึ่งทําไดดังนี้คือ
                จํานวน               2) 75           บน
                                     2) 37       1
                                     2) 18       1
                                       2) 9      0
                                       2) 4      1
8 ดิจิตอลประยุกต 31041003                       ระบบเลขฐาน                        พงษ พร
สัทธา
                                2) 2   1
                                  1    0    ลาง
                จะได 7510 = 10110112
        ทศนิยม        0.875 x 2 = 1.75     = 0.75                           ทด 1           บน
                      0.7 x 2   = 1.5      = 0.5                            ทด 1
                      0.5 x 2   = 1.0      = 0.0                            ทด 1           ลาง
        จะได         0.87510   = 0.1112
        ดังนั้น       75.87510 = 1011011.1112                                ***




การเลื่อนตําแหนงของจุดทศนิยม
         ถาจุดทศนิยมในระบบเลขฐานสิบถูกเลื่อนไปทางขวา คาของตัวเลขจะถูกคูณดวย 10
ตัวอยาง เชน เมื่อจุดทศนิยมของ 9.4310 ถูกเลื่อนไปทางขวาหนึ่งตําแหนงจะกลายเปน 94.310 นั่นก็
คือมันจะมีคาเพิ่มขึ้น 10 เทา แตถาเลื่อนจุดมาทางซายจะทําใหคาลดลง 1 เทา ถาเลื่อนจุดทศนิยม
             
                                                                       10
ของ 9.4310 มาทางซายหนึ่งจุดจะได 0.94310 คือคาลดลง     1   เทา
                                                        10


                   สวนในระบบเลขฐานสองนั้น การเลื่อนจุดทศนิยมหนึงจุดนั้นก็คือการคูณหรือ
                                                                          ่
หารดวย 2 นั่นเอง ตัวอยางเชน 101.02 มีคาเทากับ 52 ถาเลื่อนจุดไปทางขวาหนึ่งจุดจะมีคาเทากับ
10102 ซึ่งก็คือ 1010 มีคาเปน 2 เทาจากเดิม แตถาเลื่อนจุดไปทางซายหนึ่งจุดจะมีคาเทากับ 10.102
ซึ่งมีคาเทากับ 2.510 นั่นก็คือมีคาลดลง 1 เทานั้นเอง
                                      2

การคํานวณเลขฐานสอง
        การใชงานของเลขฐานสองมีการใชงานในการคํานวณพื้นฐานใน 4 ลักษณะ ดังตอไปนี้คือ
           1. การบวก      ( addition)
           2. การลบ       (subtraction)
           3. การคูณ      (multiplication)
           4. การหาร      (division)
9 ดิจิตอลประยุกต 31041003                       ระบบเลขฐาน                 พงษ พร
สัทธา
              การบวก เปนการใชงานทีสําคัญที่สุด การใชวิธีคอมพลีเมนตจะใชชวยการหาผลลบ
                                        ่
โดยใชวิธีการบวกกัน ซึ่งในคอมพิวเตอรดิจิตอลจะนิยมใชการลบโดยวิธีคอมพลีเมนต จะทําใหใช
จํานวนของฮารดแวรลดลง เพราะวาจะใชเพียงแควงจรดิจิตอลชนิดบวกกันเทานัน ในทํานองเดียวกัน
                                                                        ้
คือการคูณกันสามารถทําไดโดยการบวกกันแบบซ้ํา ๆ กัน สวนการหารคือการลบกันแบบซ้ํา ๆ กัน
นี่จึงเปนเหตุผลที่วาการบวกกันจะมีการใชงานมากที่สุดในวงจรดิจิตอล
                     1) การบวกกันของเลขฐานสอง (Binary Addition)
                      หลักเกณฑที่ชวยในการบวกเลขฐานสองมี 4 ขอดังนี้คือ
                                   
                      1. 0 + 0 = 0
                      2. 0 + 1 = 1
                      3. 1 + 0 = 1
                      4. 1 + 1 = 1 0 หรือเทากับ 0 ทด 1



เชน การบวกเลขฐานสอง 2 จํานวน คือ 1102 และ 1112 สามารถทําไดดังนี้คือ
                    110              คอลัมนที่ 1 0 + 1 =             1
                          +
                    111              คอลัมนที่ 2 1 + 1 =             0 ทด 1
                   11012             คอลัมนที่ 3 1 + 1 + ทด 1 = 10 + 1 = 112

ตัวอยางที่ 1.7 ใหหาผลบวกของ 1011012 กับ 1101112
วิธีทํา
                        ทด        11111
                                 101101 +
                                 110111
                                 11001002
ขั้นตอนการบวกกันมีดังนี้คือ
                1. คอลัมนที่ 1 : 1 + 1 = 0 ทด 1
                2. คอลัมนที่ 2 : 0 + 1 = 1+ ทด 1 (จากคอลัมนที่ 1)     = 0 ทด 1
                3. คอลัมนที่ 3 : 1 + 1 = 0 ทด 1+ ทด 1 (จากคอลัมนที่ 2) =       1
                ทด 1
                4. คอลัมนที่ 4 : 1 + 0 = 1+ทด 1 (จากคอลัมนที่ 3)      = 0 ทด 1
10 ดิจิตอลประยุกต 31041003            ระบบเลขฐาน                          พงษ พร
สัทธา
             5. คอลัมนที่ 5 : 0 + 1 = 1+ ทด 1 (จากคอลัมนที่ 4)           = 0 ทด 1
             6. คอลัมนที่ 6 : 1 + 1 = 1 + ทด 1( จากคอลัมนที่ 5)          = 112

ตัวอยางที่ 1.8 ใหหาผลบวกของ 100012 กับ 111112

วิธีทํา                         10001
                                      +
                                11111
                                1100002                          ***

               2) การลบกันของเลขฐานสอง (Binary Subtraction)
                 หลักเกณฑของการลบกันของเลขฐานสองมี 4 ขอ ดังนี้คือ
                 1. 0 - 0 = 0
                 2. 1 - 0 = 1
                 3. 1 - 1 = 0
                 4. 0 - 1 = 1 ยืม 1 จากคอลัมนถัดไป หรือ 10 - 10 = 1

ตัวอยางที่ 1.9 ใหหาคาของ 10102 ลบกับ 1102
วิธีทํา
                         1
                       1 0 10
                             -
                         110
                         1002                   ***
                       จะเห็นไดวาในคอลัมนที่ 3 จะยืมคอลัมนที่ 4 มา 1

การคอมพลีเมนตของตัวเลข (Complement of a number)
                 การลบกันในงานดิจิตอลนิยมใชคอมพลีเมนตของเลขฐานสอง 2 ในการ
ลบกัน คือ
                 1) 1'S คอมพลีเมนต (1'S complement)
                     1'S คอมพลีเมนตของเลขฐานสองทําไดโดยเปลี่ยนเลข 0 แตละตัวใหเปน
1 และเปลี่ยนเลข 1 แตละตัวใหเปน 0 ตัวอยางเชน 1'S คอมพลีเมนตของ 1012 คือ 0102 และของ
101012 คือ 010102 เปนตน

                 2) 2'S คอมพลีเมนต (2'S complement)
11 ดิจิตอลประยุกต 31041003                ระบบเลขฐาน                   พงษ พร
สัทธา
                     2'S คอมพลีเมนตของเลขฐานสองทําไดโดยบวกดวย 1 กับ 1'S คอมพลีเมนต
ซึ่งแสดงความสัมพันธไดดังสมการที่ 1.1 คือ

                    2'S คอมพลีเมนต      =       1'S คอมพลีเมนต + 1 --------1.1

                       ตัวอยางการหา 2'S คอมพลีเมนต 1002 1'S คอมพลีเมนตของมัน 01102
เมื่อ ทําเปน 2'S คอมพลีเมนต คือบวกดวย 1 จะไดเทากับ 1112 เปนตน
                       การลบโดยใชวิธีคอมพลีเมนตคือการลดวิธีการลบดวยการใชวิธีการบวก ซึ่งวิธี
นี้จะนิยมใชกนมากในงานทางดานดิจิตอลดวยเหตุผลดังตอไปนี้ คือ
               ั
                       (1) จะใชเพียงแควงจรบวกเลขเทานั้น ซึ่งวงจรบวกเลขจะเปนวงจรที่งายกวา
วงจรการลบเลข
                       (2) วงจรดิจตอลจะทํางานไดงายกวาในการรับคอมพลีเมนต
                                    ิ




                   3) การลบเลขฐานสองโดยใช 1'S คอมพลีเมนต
                      การลบเลขฐานสองโดยใช 1'S คอมพลีเมนต คือ การลบโดยใชผลบวกของ
1'S คอมพลีเมนต ซึ่งแปลงมาจากตัวลบบวกกับตัวตั้งเดิม โดยผลลัพธสุดทายที่ไดจะไดจากการนํา
ตัวทดจากการบวกนี้มาบวกกับผลลัพธของการบวกโดยไมรวมตัวทดนั้น
                      หลักเกณฑของการลบเลขฐานสองโดยใช 1'S คอมพลีเมนต มีดังนี้คือ
                      (1) หา 1'S คอมพลีเมนตของตัวลบ โดยการเปลี่ยนเลข 0 เปน 1 และ
เปลี่ยนเลข 1 เปน 0
                      (2) บวก 1'S คอมพลีเมนตเขากับตัวตั้งของการลบ
                      (3) กําหนดตัวทดจากการบวกรอบสุดทาย (end-around carry) ซึ่งจะมีคา
เปน 0 หรือ 1
                      (4) ถาไมมีตัวทดจากการบวกรอบสุดทาย หรือตัวทดเทากับ 0 ก็แสดงวา
ผลลัพธจะมีคาเปนลบและจะตองทําคอมพลีเมนตอีกครังหนึ่ง
                                                      ้
                      (5) ถาตัวทดเปน 1 ก็นําตัวทดนั้นมาบวกกับผลบวกนันก็จะไดผลลัพธทันที
                                                                      ้
ตัวอยางที่ 1.10 ใหหาคาของ 1102 ลบดวย 1002 โดยใช 1'S คอมพลีเมนต
12 ดิจิตอลประยุกต 31041003              ระบบเลขฐาน                           พงษ พร
สัทธา
วิธีทํา      1'S คอมพลีเมนต 1002 = 0112
                                   110
                                        +
                                   011
                    ตัวทด 1        001
                                     1
                                   0102
                    ∴ 1102 - 1002           = 102                       ***

ตัวอยางที่ 1.11 ใหหาคาผลลบของ 10112 ลบดวย 11102 โดยใช 1'S คอมพลีเมนต
วิธีทํา          1'S คอมพลีเมนตของ 11102 = 00012
                                      1011
                                          +
                                      0001
                                      1100 2

                        ไมมีตัวทด

ดังนั้นตองทําคอมพลีเมนตอีกครั้งหนึ่ง และใสเครื่องหมายลบไวดานหนา
                       ∴ 1011 2 - 1110 2 = - 00112

                  4) การลบเลขฐานสองโดยใช 2'S คอมพลีเมนต
                     ขั้นตอนของการลบเลขฐานสองโดยใช 2'S คอมพลีเมนตทําไดดังนี้ คือ
                     (1) หาคา 2'S คอมพลีเมนตของตัวลบ
                     (2) บวกคา 2'S กับตัวตั้ง
                     (3) ตัดตัวทดตัวสุดทายทิ้ง
                     (4) ถาตัวทดเปน 1 คําตอบจะกลายเปนบวกและไมตองทําคอมพลีเมนตอีก
                     (5) ถาตัวทดเปน 0 หรือไมมีตัวทด คําตอบจะกลายเปนลบและจะตองทํา
2'S คอมพลีเมนตอกครั้ง
                ี

ตัวอยางที่ 1.12 ใหหาคาผลลบของ 1011 2 ลบดวย 1000 2 โดยใช 2'S คอมพลีเมนต
วิธีทํา          1'S คอมพลีเมนตของตัวลบ =           0111
13 ดิจิตอลประยุกต 31041003                ระบบเลขฐาน                   พงษ พร
สัทธา
             2'S คอมพลีเมนต                =       0111 + 1 = 10002
                                   1011
                                       +
                                   1000
                                 1 0011
                                               ตัดตัวทดทิ้ง
                         ∴ 10112 - 10002 = -00112                     ***
ตัวอยางที่ 1.13 ใหหาคาผลลบของ 1100 2 ลบดวย 1101 2 โดยใช 2'S คอมพลีเมนต
วิธีทํา          1'S คอมพลีเมนตของตัวลบ =              0010
                 2'S คอมพลีเมนต               =        0010 + 1 = 0011
                                        1100
                                             +
                                        0011
                                        1111
                                               ไมมีตัวทด
                         ดังนั้นตองทํา 2'S คอมพลีเมนตอีกครั้งหนึ่งและคําตอบออกมาจะมี
เครื่องหมายลบ
                 1'S คอมพลีเมนตของ 1111 =              0000
                 2'S คอมพลีเมนตของ 1111 =              0000 + 1 = 0001
                         ∴ 11002 - 11012 = -00012                     ***
                     5) การคูณกันของเลขฐานสอง
                   หลักเกณฑการคูณกันของเลขฐานสองอยางงาย ๆ มี 4 ขอ คือ
                         1. 0 x 0 = 0
                         2. 0 x 1 = 0
                         3. 1 x 0 = 0
                         4. 1 x 1 = 1
ตัวอยางที่ 1.14 ใหหาผลคูณของ 1012 กับ 100 2
วิธีทํา                                 101
                                           x
                                        100
                                        000
14 ดิจิตอลประยุกต 31041003                    ระบบเลขฐาน             พงษ พร
สัทธา
                                 000
                                101
                                   10100
            ∴ 1012 x 1002 = 101002                                     ***

ตัวอยางที่ 1.15 ใหหาผลคูณของ 10012 กับ 1010 2
วิธีทํา                                1001
                                          x
                                       1010
                                       0000
                                     1001
                                    0000
                                    1001
                                       1011010
               ∴ 10012 x 10102 = 10110102                       ***

                 6) การหารกันของเลขฐานสอง
              การหารกันของเลขฐานสองจะเหมือนกับเลขฐานสิบ นั่นคือการหารดวย 0 จะไมมี
ความหมายหรือหาคาไมได กฎเกณฑของการหารเลขฐานสองมี 2 ขอ ดังตอไปนี้ คือ
                     1. 0 ÷ 1 = 0 หรือ 0 = 0
                                          1
                      2. 1 ÷ 1 = 1 หรือ   1     =1
                                          1
ตัวอยางที่ 1.16 ใหหาคาของ 110002 ÷ 1002
วิธีทํา
                                            110
                                      100 11000

                                              100
                                               100
                                               100
                                                 00

                   7) การเลื่อนตัวเลขฐานสองจากซายไปขวา
15 ดิจิตอลประยุกต 31041003                       ระบบเลขฐาน                     พงษ พร
สัทธา
                  การเลื่อนตัวเลขฐานสองไปทางซายหรือทางขวาหนึ่งขันมีคาเทากับการคูณ
                                                                         ้
หรือการหารดวย 2 ในระบบเลขฐานสิบ
                  เมื่อเลขฐานสอง 110002 (หรือเทากับ 2410) ถูกเลื่อนไปทางซายหนึ่งขั้น และ
กลายเปน 1100002 (หรือเทากับ 4810) ซึ่งมีคาเปน 2 เทาของ 2410 ถาเลื่อนเลขตัวนี้ไปทางขวาหนึ่ง
ขั้นจะได 011002 (หรือเทากับ 1210) ซึ่งมีคานอยลงเปน 2 เทาของ 2410

              1.2.6 การแสดงเลขฐานสองเปนสัญญาณทางไฟฟา
                    ตามที่ทราบมาแลวขางตนวาเลขฐานสองสามารถแสดงออกมาไดเปนเลข 0 และ 1
ซึ่งมันงายตอการคํานวณเทานั้น        แตในทางปฏิบติมีปญหาอยูวาทําอยางไรจึงจะใชขอมูลของ
                                                      ั           
เลขฐานสองในวงจรลอจิกของดิจิตอลคอมพิวเตอรได ซึ่งในลักษณะนี้สัญญาณทางไฟฟา จะถูก
แสดงออกมาเปน 2 ชนิด คือ 0 และ 1 โดยสัญญาณที่ถูกเลือกใหแสดงคาเปนลอจิก 1 และ 0 จะตอง
มีคาตายตัว เพราะวาความเร็วและความแมนยําคือสิ่งสําคัญอันดับแรกของวงจรดิจิตอล
                    ดังนั้นสัญญาณทางไฟฟาจะตองมีคุณสมบัติดังนี้ คือ
                    1. ตองใชไดกับวงจรที่ความเร็วอยางเหมาะสม
                    2. สัญญาณเหลานี้จะตองงายตอการใชงานกับสวนอื่น
                    3. จะตองยากที่จะทําใหเกิดความสับสนกับสัญญาณอื่น ๆ ได
                    ในรูปที่ 1.4 จะแสดงสัญญาณหลาย ๆ คูที่มีคุณสมบัติตามตองการ ซึ่งจะเห็นได
วาสัญญาณพัลซซึ่งแทนลอจิก 1 จะไมมการบิดเบี้ยวจนไดลอจิกเปน 0 หรือเปนพัลซลบหรือไม
                                        ี
เปนพัลซได สวนในรูปที่ 1.5 จะแสดงคูของสัญญาณที่ใชแทนเลขฐานสองในลักษณะตาง ๆ กัน
16 ดิจิตอลประยุกต 31041003                ระบบเลขฐาน                     พงษ พร
สัทธา
                รูปที่ 1.4 คูของสัญญาณทางไฟฟาที่เหมาะที่จะใชงานกับวงจรดิจตอล 1
                                                                            ิ




                       รูปที่ 1.5 การแสดงคูของสัญญาณทางไฟฟาเปนดิจิตอล




1.4 ระบบเลขฐานแปด (Octal Number System)
           ก. ฐาน
              เลขฐานแปดจะมีฐานเปน 8 ซึ่งหมายความวามันจะประกอบดวยเลข 8 ตัวที่
สามารถถูกแทนลงในแตละหลักคือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 โดยที่เลข 0 ถึง 7 จะมีความหมาย
เหมือนกันกับในระบบเลขฐานสิบ
              การนับเลขที่มีคามากกวา 7 ทําไดดังนี้
                0        1         2        3           4    5       6     7
               10       11        12        13          14   15     16     17
               20       21        22        23          24   25     26     27
               30       31        32        33          34   35     36     37

           ข. คาของตําแหนง
17 ดิจิตอลประยุกต 31041003                   ระบบเลขฐาน                      พงษ พร
สัทธา
                 คาของตําแหนงหรือน้ําหนักในแตละหลักจะมีคาตางกันเทากับเลขยกกําลังของ 8
ซึ่งมีลักษณะดังตอไปนี้คือ




                                  84 83 82 81 80 . 8-1 8-2 8-3 8-4

                                                   จุดทศนิยมฐานแปด

ตัวอยางที่ 1.17 ใหหาคาของ 4758 ในระบบเลขฐานสิบ
วิธีทํา                  4758 =       4x82 + 7x81 + 5x80
                                =     256 + 56 +5
                 ∴ 4758 =             31710                       ***

            1.4.1 การเปลี่ยนเลขฐานแปดเปนเลขฐานสิบ
                  การเปลี่ยนเลขฐานแปดเปนเลขฐานสิบทําไดตามขั้นตอนเชนเดียวกับในหัวขอที่
1.1.3 คือ
                       1.   เขียนเลขฐานแปดโดยเรียงแตละหลักเปนแถวเดียวกัน
                       2.   เขียนน้ําหนักในแตละหลัก
                       3.   นําขั้นตอนที่ 1 คูณกับขั้นตอนที่ 3 ในแตละหลัก
                       4.   นําคาในแตละหลักในขันตอนที่ 3 มาบวกกัน
                                                   ้

เชน การเปลี่ยนเลข 216.2038 เปนเลขฐานสิบทําไดดังนี้คอ
                                                      ื
      ขั้นตอนที่ 1           2        1      6       .     2      0          3
      ขั้นตอนที่ 282         81       80           8-1     8-2    8-3
      ขั้นตอนที่ 3       2x82 81        6              2       0
                                                       8
      ขั้นตอนที่ 4       2x82 + 81+ 6 + + 0 + 33 = 142.255859410
                                      2
                                      8       8
         ∴ 216.2038             =       142.255859410
หรือทําไดดังนี้คือ 216.2038 =          2x82 + 1x81 + 6x80 + 2x8-1 + 0x8-2 + 3x8-3
                                                     2          3
                                =       128 + 8 + 6 +8 + 0 +   8   3
18 ดิจิตอลประยุกต 31041003                       ระบบเลขฐาน                    พงษ พร
สัทธา
          ∴        216.2038        =        142.255859410

ตัวอยางที่ 1.18   ใหหาคาของ 168.7158 เปนเลขฐานสิบ
วิธีทํา ขั้นตอนที่ 1     1      6           8      .       7      1       5
        ขั้นตอนที่ 2     82     81          80             8-1    8-2     8-3
                                                                   1
        ขั้นตอนที่ 3     64     48          8              7
                                                                  64
                                                                          5
                                                                          3
                                                           8              8
        ขั้นตอนที่ 4     64 + 48 + 8 +        + +                 =       120.900390610
           ∴ 168.7158           =           120.900390610                 ***
หรือทําไดดังนี้คือ168.7158     =           2x82 + 6x81 + 8x80 + 7x8-1 + 1x8-2 + 5x8-3
                                =           64 + 48 + 8 +8 +64 5
                                                         7     1
                                                                   + 3
                                                                  8
           ∴ 168.7158           =           120.900390610                 ***

               1.4.2 การเปลี่ยนเลขฐานสิบเปนเลขฐานแปด

                   วิธีการเปลี่ยนเลขฐานสิบเปนเลขฐานแปดจะมีลักษณะเหมือน ๆ กับการแปลง
เลขฐานสิบเปนเลขฐานสอง จะแตกตางกันเพียงใช 8 เปนแฟคเตอรในการหารสําหรับเลขฐานสิบ
ที่เปนจํานวนเต็มและจะใช 8 เปนแฟคเตอรในการคูณเมื่อเลขฐานสิบมีคาเปนจุดทศนิยมที่นอยกวา
หนึ่ง




ตัวอยางที่ 1.19 ใหเปลี่ยน 32510 เปนเลขฐานแปด
วิธีทํา                           8 ) 325
                                                                                   บน
                                    8 )40                   เหลือเศษ 5
                                        5                   เหลือเศษ 0             ลาง
                           ∴       32510 =          5058            ***

ตัวอยางที่ 1.20 ใหเปลี่ยน 0.32510 เปนเลขฐานแปด
วิธีทํา                   0.325 x 8       =     2.60 =              0.60 ทด 7
                                                                                    บน



                                                                                    ลาง
19 ดิจิตอลประยุกต 31041003                ระบบเลขฐาน                    พงษ พร
สัทธา
                    0.60 x 8  =              4.80 =       0.80 ทด 4
                    0.80 x 8                 =       6.40 =    0.40 ทด 6
                    0.4 x 8   =              3.20 =       0.20 ทด 3
                    ∴ 0.32510 ≈              0.24638           ***

                        0.096 x 8 =          0.768 =        0.768 ทด 0
                        ∴ 0.87610 ≈          0.700408             ***

ตัวอยางที่ 1.21 ใหเปลี่ยน 512.62510 เปนเลขฐานแปด
วิธีทํา          แยกจํานวนเต็มและทศนิยมแยกกันคํานวณจะไดดังนี้คอ
                                                               ื

               จํานวนเต็ม     8 )512
                                                                            บน
                                8 )64               0
                                 8 )8               0
                                    1               0
                                                                           ลาง
                        ∴     51210          =      10008
               ทศนิยม         0.625 x 8      =      5.0 =          0.0     ทด 5
                        ∴     0.625 10              =       0.58
                        ∴     512.625 10     =      1000.58                ***



             1.4.3 การเปลี่ยนเลขฐานสองเปนเลขฐานแปด
                   การเปลี่ยนเลขฐานสองเปนเลขฐานแปดทีงายที่สุดจะใชวิธีไบนารีไตรเพล็ท
                                                          ่
(binarytriplet method) คือจัดเลขฐานสองออกมาเปนกลุม กลุมละ 3 บิท โดยเริ่มจากจุดทศนิยม
ถากลุมทาย ๆ จัดไมไดครบ 3 บิทก็เติมศูนยทดานหนาเพิ่ม ตัวอยางเชน ตองการเปลี่ยน
                                               ี่
11010112 เปนเลขฐานแปดจะทําไดดังนี้คอ ื
                                       1101011
                                                  จัดเปนกลุมละ 3 บิท
                                  00
20 ดิจิตอลประยุกต 31041003                   ระบบเลขฐาน                   พงษ พร
สัทธา
             เติม 0 เพิ่ม              1 101 011

                                   1     5   3
                        ∴       11010112   =   1538

ตัวอยางที่ 1.22 ใหเปลี่ยน 10100102 เปนเลขฐานแปด
วิธีทํา                                  1010010
                                               จัดกลุม 3 บิท
                           001 010 010

                         1        2      2
                        ∴       10100102        =       1228         ***


             1.4.4 การเปลี่ยนเลขฐานแปดเปนเลขฐานสอง
                   ขั้นตอนการเปลี่ยนเลขฐานแปดเปนเลขฐานสองจะมีลักษณะกลับกับการเปลี่ยน
เลขฐานสองเปนเลขฐานแปดคือ แตละหลักของเลขฐานแปดจะถูกแปลงเปนเลขฐานสอง 3 บิท
ตัวอยางเชน การแปลง 5248 เปนเลขฐานสองทําไดดังนีคือ
                                                   ้

                                        5       2       4

                                         101 010 100
                                 ∴ 5248 =        1010101002                 ***
ตัวอยางที่ 1.23 ใหเปลี่ยน 64.328 เปนเลขฐานสอง
วิธีทํา                         6       4       .       3       2
                               110       100            011     010
                               ∴        64.328 =        110100.0110102               ***

            1.4.5 ขอดีของระบบเลขฐานแปด
21 ดิจิตอลประยุกต 31041003                ระบบเลขฐาน                     พงษ พร
สัทธา
                ขอดีที่สําคัญของระบบเลขฐานแปด คือ มีความยาวนอยกวาระบบเลขฐานสอง
อยู 1 เทา ดังนั้นการใชงานของคอมพิวเตอรคงทําไดงายกวาในการรับหรือสงขอมูลอินพุตและ
          3
เอาทพุท การพิมพออกทางเครื่องพิมพจะทําไดสะดวกกวาและงายทีจะอานขอมูล นอกจากนัน
                                                             ่                    ้
การเปลี่ยนเลขฐานสองเปนเลขฐานแปดและการเปลี่ยนเลขฐานแปดเปนเลขฐานสองยังทําไดงาย
และรวดเร็ว

1.5 ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number System)
      คุณลักษณะของระบบเลขฐานสิบหกมีดังนี้คือ
              1. มีฐานเปน 16 ดวยเหตุนี้จึงใหเลข 16 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C,
D, E, F
              2. คาในแตละตําแหนงหรือในแตละหลักจะมีน้ําหนักเพิ่มขึ้นเทากับเลขยกกําลัง
ของ 16 เมื่อเลขฐานสิบหกอยูทางดานซายของจุดทศนิยม และจะมีคาลดลงตามเลขยกกําลังของ 16
เมื่อมันอยูทางดานขวาของจุดทศนิยม
              การใชงานหลัก ๆ ของเลขฐานในระบบนี้คือจะใชงานกับเครื่องจักรที่ทํางานเปนไบต
และมันจะถูกใชสําหรับกําหนดแอดเดรสของเลขฐานสองที่แตกตางกันที่ถูกเก็บในหนวยความจํา
ของคอมพิวเตอร
              1.5.1 การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบหก
                    วิธีที่งายคือ แยกเลขฐานสองออกเปนกลุม ๆ ละ 4 บิท ก็จะไดเลขฐานสิบหก
ออกมา
ตัวอยางที่ 1.24 ใหเปลี่ยน 101011002 เปนเลขฐานสิบหก
วิธีทํา
                                         1010        1100

                                           A           C
                         ∴ 10101100 2 = AC16

                1.5.2 การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสอง
                 ขั้นตอนการเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสองจะกลับกับขั้นตอนการเปลี่ยน
เลขฐานสองเปนฐานสิบหก คือ นําแตละหลักของเลขฐานสิบหกมาแตกเปน 4 บิท ตัวอยาง เชน
การเปลี่ยนเลข 4A316 เปนเลขฐานสองทําไดดังนี้คือ
22 ดิจิตอลประยุกต 31041003                  ระบบเลขฐาน                          พงษ พร
สัทธา
                                        4           A         3

                                        0100     1010     0011
                          ∴ 4A316         =     100101000112           ***
ตัวอยางที่ 1.25 ใหเปลี่ยน 2C616 เปนเลขฐานสอง
วิธีทํา
                                        2           C         6

                                     0010          1100     0110
                       ∴ 2C616         =          10110001102          ***

ตัวอยางที่ 1.26 ใหเปลี่ยน 52E.6D216 เปนเลขฐานสอง
วิธีทํา
                  5        2        E         .         6         D          2

                0101     0010 1110                    0110 1101 0010
                       ∴ 52E.6D2 16               = 10100101110.0110110100102
                       ***

               1.5.3 การเปลี่ยนเลขฐานสิบเปนเลขฐานสิบหก
                  การเปลี่ยนเลขฐานสิบเปนเลขฐานสิบหกทําได 2 วิธีคือ
                  1) เปลี่ยนจากเลขฐานสิบเปนเลขฐานสองกอน และเปลี่ยนเลขฐานสองเปน
เลขฐานสิบหก
                 2) ใชเลข 16 หาร ซึ่งเรียกวิธีนวา เฮ็ก - แด็บเบิล (hex-dabble method)
                                                ี้ 


ตัวอยางที่ 1.27 ใหเปลี่ยน 9810 เปนเลขฐานสิบหก
วิธีทํา
        ใชวิธีที่ 1              2 ) 98
                                  2) 49         0
23 ดิจิตอลประยุกต 31041003        ระบบเลขฐาน                             พงษ พร
สัทธา
                          1) 24     1
                          2) 12     0
                            2) 6    0
                            2) 3    0
                               1    1
                      ∴ 9810 = 11000102
                    11000102 = 0110 00102 = 62 16
                    ∴ 9810 = 6216             ***

                       ใชวิธีที่ 2   16) 98
                                                  6 เหลือเศษ 2
                                 ∴ 9810 = 6216                          ***
                1.5.4 การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสิบ
                   การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกทําได 2 วิธี คือ
                   1) เปลี่ยนเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสองและเปลี่ยนเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ
                   2) ใหเลขยกกําลังของ 16 ตามคาของแตละตําแหนงหรือน้ําหนักในแตละหลัก
ตัวอยางที่ 1.28 ใหเปลี่ยนเลขฐานสิบดังตอไปนี้เปนเลขฐานสอง เลขฐานแปดและเลขฐานสิบหก
                 ก) 45
                 ข) 128
วิธีทํา          ก) 45 10
                                         2 ) 45
                                         2 ) 22           1
                                         5 ) 11           0
                                          2) 5            1
                                          2) 2            1
                                              1           0
                 ∴ 45 10         =       1011012                        ***
                     1011012 =           101 1012         =    558
                 ∴ 4510             = 558                               ***
24 ดิจิตอลประยุกต 31041003                 ระบบเลขฐาน      พงษ พร
สัทธา
                    1011012 =           0010 11012 = 2D16
             ∴ 4510         =           2D16

               ข) 12810
                                  2) 128
                                   2)64  0
                                   2)32  0
                                   2)16  0
                                    2)8  0
                                    2)   4     0
                                    2)2  0
                                      1  0
               ∴   12810          = 100000002
                 100000002        = 010 000 0002 = 2008
               ∴ 12810            = 2008             ***
                 100000002        = 1000 00002 = 8016
               ∴ 12810            = 8016             ***




แบบทดสอบทายบท
คําชี้แจง ใหนกศึกษาตอบคําถามตอไปนี้ใหถูกตอง
              ั
25 ดิจิตอลประยุกต 31041003                  ระบบเลขฐาน              พงษ พร
สัทธา
1. ใหเปลี่ยนเลขฐานสองตอไปนี้เปนเลขฐานสิบ
    ก. 11010                                  ข. 100011
2. ใหเปลี่ยนเลขฐานสิบตอไปนี้เปนเลขฐานสอง
    ก. 3.037510                               ข. 6.2510
3. ใหบวกเลขฐานสองดังตอไปนี้
    ก. 1001 + 1010                            ข. 1010 + 101
4. ใหบวกเลขฐานสองของ 1011.012 กับ 1001.112
5. ใหลบเลขฐานสองดังตอไปนี้
    ก. 111 – 101                              ข. 1000 – 11
6. ใหหาคาผลลัพธของตัวเลขเหลานี้โดยใชเลขฐานสอง
    ก. 6410 – 3210                            ข. 710 + 1110
7. ใหหาผลลัพธของ 100011 ลบกับ 111010
8. ใหหา 1’S คอมพลีเมนตของเลขฐานสองตอไปนี้
    ก. 10101                                  ข. 1111
9. ใหหา 2’S คอมพลีเมนตของเลขฐานสองตอไปนี้
    ก. 1010                                   ข. 10011.11
10. ใหใช 1’S คอมพลีเมนต และ 2’S คอมพลีเมนตในการลบกันของเลขฐานสองดังตอไปนี้
    ก. 100011 – 111010                        ข. 1111 – 1011
    ค. 110011 – 100101                        ง. 10010 – 10111
11. ใหหาผลคูณของเลขฐานสองดังตอไปนี้
    ก. 1110 x 111                             ข. 1011 x 101
    ค. 10101 x 101                            ง. 1100 x 101
12. ใหหาผลลัพธของการหารกันของเลขฐานสองดังตอไปนี้
    ก. 1100010 ÷111                           ข. 1110011 ÷ 101
    ค. 11011 ÷ 100                            ง. 110110 ÷ 1011
26 ดิจิตอลประยุกต 31041003   ระบบเลขฐาน   พงษ พร
สัทธา

More Related Content

What's hot

ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานjibjoy_butsaya
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานAE Mct
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
Base
BaseBase
Basesa
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงdefeat overcome
 
04 data representation
04 data representation04 data representation
04 data representationteaw-sirinapa
 
09 multi arrays
09 multi arrays09 multi arrays
09 multi arraysa-num Sara
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]sawinee
 

What's hot (13)

ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
Base
BaseBase
Base
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
Emaj001
Emaj001Emaj001
Emaj001
 
04 data representation
04 data representation04 data representation
04 data representation
 
09 multi arrays
09 multi arrays09 multi arrays
09 multi arrays
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 

Similar to ระบบเลขฐาน

การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานพัน พัน
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)Patchara Wioon
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานNakamaru Yuichi
 
58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ssManunya Museanko
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองNunnaphat Chadajit
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองNunnaphat Chadajit
 
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานพัน พัน
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลjoetreerawut
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลjoetreerawut
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1Manas Panjai
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)waralee63
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลjoetreerawut
 
การคำนวน
การคำนวนการคำนวน
การคำนวนKrutoon Apiwan
 

Similar to ระบบเลขฐาน (19)

การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss
 
01
0101
01
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
ทศนิยมม.1
ทศนิยมม.1ทศนิยมม.1
ทศนิยมม.1
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
การคำนวน
การคำนวนการคำนวน
การคำนวน
 

More from Preecha Yeednoi

More from Preecha Yeednoi (6)

Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Number
NumberNumber
Number
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
 
Emaj001
Emaj001Emaj001
Emaj001
 
2 1 แบบรูป
2 1 แบบรูป2 1 แบบรูป
2 1 แบบรูป
 
5.3แบบรูป2
5.3แบบรูป25.3แบบรูป2
5.3แบบรูป2
 

ระบบเลขฐาน

  • 1. บทที่ 1 ------------------------------------- ระบบเลขฐาน (Number System) หัวขอสําคัญ 1. ระบบตัวเลข 2. ระบบตัวเลขฐานสิบ 3. ระบบเลขฐานสอง 4. ระบบเลขฐานแปด 5. ระบบเลขฐานสิบหก 6. แบบฝกหัด 1.1 ระบบตัวเลข (Number Systems) ระบบตัวเลขทางพีชคณิตที่นยมใชในระบบดิจิตอลมีอยู 4 ระบบ คือ ิ ระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System) จะมีเลขฐานเปน 10 นั่นคือ จะใช สัญลักษณหรือหลักที่แตกตางกันเทากับ 10 ในการแสดงคาของตัวเลข ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System ) จะมีเลขฐานเปน 2 นั่นคือ จะใช สัญลักษณหรือหลักที่แตกตางกันเทากับ 2 ในการแสดงคาของตัวเลข ระบบเลขฐานแปด (Octal Number System) จะมีเลขฐานเปน 8 นั่นคือ จะใช สัญลักษณหรือหลักที่แตกตางกันเทากับ 8 ในการแสดงคาของตัวเลข ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number System) จะมีเลขฐานเปน 16 นั่นคือ จะใชสัญลักษณหรือหลักทีแตกตางกันเทากับ 16 ในการแสดงคาของตัวเลข ่ 1.2 ระบบตัวเลขฐานสิบ กอนที่จะเรียนรูระบบเลขฐานอื่นๆ จําเปนที่จะตองเรียนรูคุณลักษณะของระบบ เลขฐานสิบกอนระบบเลขฐานสิบนี้จะมีเลขฐานเปนสิบและคือระบบที่มีคาตามตําแหนงซึ่ง หมายความวา คาของมันในแตละหลักจะขึ้นอยูกับตําแหนงของมัน ซึ่งมีคุณลักษณะดังตอไปนีคือ้ 1) ฐาน (Base) ฐานของระบบตัวเลขจะถูกกําหนดเปนคาของตัวเลขในแตละหลัก ซึ่ง สามารถเกิดขึ้นในแตละตําแหนงในระบบตัวเลข
  • 2. 2 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา ระบบเลขฐานสิบจะมีฐานเปนเลข 10 ซึ่งหมายความวาแตละหลักของมัน จะประกอบดวยเลข 10 ตัว เลขเหลานี้ คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 โดยที่ตัวเลขเหลานี้อาจจะถูก ใชอยูในแตละตําแหนงของตัวเลขในระบบนี้ได ตัวอยางการเขียนเลขฐาน เชน 456 จะเขียนเปนเลข ฐาน 10 คือ (456)10 หรือ 456 ตามปกติจะเปนที่รกันวาถาตัวเลขที่ไมมีเลขฐานเขียนอยูคือตัวเลข ู ฐาน 10 2) คาของตําแหนง (Position Value) คาของตัวเลขในแตละหลักจะมีคาคงที่และขึ้นอยูกับตําแหนงของมัน (หรือน้ําหนักของมัน) ตัวอยางเชนคาของ 2 ในตัวเลข 200 จะไมเทากับคาของ 2 ในตัวเลข 20 เปน ตน ในลักษณะ เชนเดียวกันคาของ 3 ในแตละหลักจะมีคาแตกตางกันดังรูปที่ 1.1 รูปที่ 1.1 แสดงคาของ 3 ในแตละหลักในระบบเลขฐาน 10 ในลักษณะคลาย ๆ กัน เชน เลข (4,831)10 สามารถแตกคาในแตละหลักออกมาไดดงนี้ คือ ั (4,831)10 = 4 x 103 + 8 x 102 + 3 x 101 + 1 x 100 หลักที่ 4 หลักที่ 3 หลักที่ 2 หลักที่ 1 ซึ่งจะเห็นไดวาตัวเลข 1 ในหลักที่ 1 จะมีคาต่ําสุด ซึ่งเลข 1 นี้เราเรียกวา หลักที่มี  คานอยที่สุด หรือ LSD (Least Significant Digit) ขณะที่เลข 4 ในหลักที่ 4 จะมีคาสูงสุดซึ่งจะถูก เรียกวาหลักทีมีคาสูงสุดหรือ MSD (Most Significant Digit) ่ สวนตัวเลขฐานสิบที่ประกอบดวยทศนิยมสามารถเขียนคาในแตละตําแหนงของ ทศนิยมไดเชนเดียวกัน ตัวอยางเชน 4,831.263 สามารถแตกคาในแตละหลักออกมาไดดังนี้คือ 4,831.263 = 4 x103+ 8x102 + 3x101 + 1x100 + 2x10-1+ 6x10-2+ 3x10-3
  • 3. 3 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา ซึ่งจะเห็นไดชดเจนวาเลขยกกําลัง 10 ทางดานซายของจุดทศนิยมจะมีคาเริ่มตั้งแต ั 0 เปนตนไป สวนเลขยกกําลัง 10 ทางดานขวาของจุดทศนิยมจะมีคาเริ่มตั้งแต -1 เปนตนไป 1.3 ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานสองจะเหมือนกับระบบเลขฐานสิบ คือ ประกอบดวยฐานและคา ของตําแหนงในแตละหลัก 1) ฐาน (Base) ฐานของระบบเลขฐานสองคือ 2 เพราะวาใชเลข 2 หลักคือ 0 และ 1 ในทาง ดิจิตอล จะเรียกหลักของเลขฐานสองวาบิท (bit) ตัวเลขในระบบเลขฐานสองทุกจํานวนจะ ประกอบดวยตัวเลข 0 และ 1 เทานั้น ตัวอยางเชน 10, 100 และ 1001 ซึ่งอานวา หนึ่ง-ศูนย, หนึ่ง- ศูนย-ศูนย และหนึง-ศูนย-ศูนย-หนึ่ง ตามลําดับ เพื่อหลีกเลี่ยงการสับสนในการอานคาตัวเลขในระบบ ่ เลขฐานสิบอีกวิธีหนึ่งที่สามารถปองกันความสับสนในการอานคาในระบบเลขฐานสอง และระบบ เลขฐานสิบ คือ เขียนเลขฐานหอยไว ตัวอยาง เชน 1010, 10010, 3,62510 เปนเลขฐานสิบ 102 , 1002, 10012 เปนเลขฐานสอง เปนตน 2) คาของตําแหนง (Position Value) คาของตําแหนงในระบบเลขฐานสองจะมีลกษณะเหมือนกับเลขฐานสิบ ั คือ คาในแตละหลักจะมีน้ําหนักตางกัน อยางไรก็ตามคาของตําแหนงในแตละบิทจะสอดคลองกับ เลขยกกําลัง 2 คาของตําแหนงทางดานซายของจุดทศนิยมจะเพิ่มขึ้นจากเลขยกกําลัง 0 ของ 2 ไป ตามลําดับ สวนคาของตําแหนงทางดานขวาของจุดทศนิยมจะลดลงจากเลขยกกําลัง -1 ของ 2 ไป ตามลําดับ ตัวอยางเชน การกระจายคาของ 1010.1012 ดังรูปที่ 1.2 MSB LSB 1 0 1 0 i 1 0 1 23 22 21 20 2-1 2-2 2-3 รูปที่ 1.2 การกระจายคาของ 1010.1012 ในลักษณะเลขยกกําลังของ 2
  • 4. 4 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา จะเห็นไดวาคาของบิทที่ 4 ทางดานซายของจุดทศนิยมจะมีคาสูงสุด และ ถูกเรียกวา หลักที่มีคามากทีสุด ในลักษณะคลาย ๆ กัน บิทที่ 3 ทางดานขวาของจุดทศนิยมจะมีคา ่  ต่ําสุด และถูกเรียกวาหลักทีมีคานอยที่สุด หรือ LSD ( Least Significant Digit) ตัวอยางของคา ่ เสมือนทางเลขฐานสิบของเลขฐานสองของ 1010.1012 สามารถแสดงไดดังนี้คือ 1010.1012 = (1x23)+(0x22)+(1x21)+(0x20)+(1x2-1)+(0x2-2)+(1x2-3) คาทางเลขฐานสิบของ 1010.1012 = 8 + 0 + 2 + 0 + 1 + 0 + 1 2 8 = 10.62510 ตามที่กลาวมาแลวขางตนวาคาของตําแหนงของเลขฐานสองจะมีลักษณะคือ คาของเลขทางดานซายของจุดทศนิยมจะมีคาเพิ่มขึ้นตามเลขยกกําลังของ 2 โดยเริ่มจากเลขยกกําลัง 0 เปนตนไป สวนคาของเลขทางดานขวาของจุดทศนิยมจะมีคาลดลงตามเลขยกกําลังของ 2 โดย เริ่มจากเลขยกกําลัง-1 เปนตนไป ดังรูปที่ 1.3 คาของตําแหนงในเลขฐานสอง 24 23 22 21 20 . 2-1 2-2 2-3 2-4 คาของตําแหนงเสมือนทางฐาน 16 8 4 2 1 . 1 1 1 1 2 4 8 16 สิบของเลขฐานสอง รูปที่ 1.3 คาของตําแหนงในเลขฐานสอง การเปลี่ยนเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ (Binary to Decimal Conversion) ขั้นตอนในการเปลี่ยนเลขจํานวนเต็มในฐานสองเปนฐานสิบ ทําไดดังนี้คือ 1. เขียนเลขฐานสองทั้งหมดโดยเรียงแตละหลักหรือแตละบิทเปนแถวเดียวกัน 2. เขียนคาของแตละตําแหนงในรูปฐานสิบ คือ 1, 2, 4, 8, . . . โดยเริ่มจากขวาไป ซาย 3. นําขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 คูณกันในแตละบิท 4. นําคาแตละหลักในขั้นตอนที่ 3 มาบวกกัน ตัวอยางที่ 1.1 ใหเปลี่ยนเลข 101112 ไปเปนเลขฐานสิบ วิธีทํา ขั้นตอนที่ 1 1x 0x 1x 1x 1x ขั้นตอนที่ 2 16 8 4 2 1
  • 5. 5 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา ขั้นตอนที่ 3 16 0 4 2 1 ขั้นตอนที่ 4 16 + 0 + 4 + 2 + 1 = 2310 ดังนั้น 101112 = 2310 *** เลขฐานสองจะแปลงเปนเลขฐานสิบไดดังตัวอยางในตารางที่ 1.1 เศษสวนของระบบเลขฐานสอง (Binary Fractions) ขั้นตอนการแปลงเศษสวนของเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบจะมีขั้นตอนเดียวกับการแปลง เลขจํานวนเต็มฐานสองเปนเลขฐานสิบจะแตกตางกันเพียงเลขยกกําลังเทานั้น ตัวอยางที่ 1.2 ใหเปลี่ยน 0.11102 เปนเลขฐาน 10 วิธีทํา ขั้นตอนที่ 1 0 . 1 1 1 0 ขั้นตอนที่ 2 1 2 1 1 8 1 16 4 ขั้นตอนที่ 3 . 1 1 1 0 2 4 8 ขั้นตอนที่ 4 1 + 1 + 1 + 0 = 0.87510 2 4 8 ∴ 0.11102 = 0.87510 *** ตัวอยางที่ 1.3 ใหแปลงเลขฐานสอง 111.10112 วิธีทํา ขั้นตอนที่ 1 0 . 1 1 1 0 ขั้นตอนที่ 2 1 2 1 1 8 1 16 4 ขั้นตอนที่ 3 . 1 1 1 0 2 4 8 ขั้นตอนที่ 4 1 + 1 + 1 + 0 = 0.87510 2 4 8 ∴ 0.11102 = 0.87510 *** วิธีแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบโดยใชวิธี Double-Dadd วิธี Double-Dadd เปนวิธีการแปลงเลขฐานสองที่มีขนาดใหญไปเปนเลขฐานสิบ ซึ่งมี 3 ขั้นตอนดังตอไปนี้คือ
  • 6. 6 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 1. คูณบิทแรกทางซายสุดดวย 2 และบวกบิทถัดไปและคูณดวย 2 2. ผลรวมจะเพิ่มเปน 2 เทาและบวกคานีกับบิทถัดไป ้ 3. ทําตามขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 จนถึงบิททางขวาสุด ตัวอยางที่ 1.4 ใหเปลี่ยนเลข 1110112 เปนเลขฐานสิบโดยใชวิธี Double-Dadd วิธีทํา 1 1 0 1 1 2 x 1 = 2, 2 + 1 = 3, 3 x 2 = 6, 6 + 0 = 6, 6 x 2 = 12, 12 + 1 = 13, 13 x 2 = 26, 26 + 1 = 2710 ∴ 110112 = 2710 *** การเปลี่ยนเลขฐานสิบเปนเลขฐานสอง 1) จํานวนเต็ม (Integers) การเปลี่ยนเลขจํานวนเต็มฐานสิบเปนเลขฐานสองทําไดโดยวิธีที่เรียกวาวิธี ดับเบิ้ลแดบเบิล (Double-Dabble Method) ซึ่งก็คือวิธีการหารดวย 2 วิธีนี้ทําไดโดยใช 2 หาร ้ ดวยเลขฐานสิบและเขียนเศษไวในในแตละครั้งของการหาร เศษที่ไดจะถูกเขียนในลําดับที่กลับกัน คือจากลางขึ้นบน ตัวอยางเชนการเปลี่ยนคา 2910 เปนเลขฐานสองทําไดดังนี้ คือ 2) 29 เศษ 2) 14 1 บน 2) 7 0 2) 3 1 1 1 ลาง ∴ จะได 2910 = 111012 2) เศษสวน (Fractions)
  • 7. 7 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา ตัวเลขฐานสิบที่เปนจุดทศนิยมสามารถเปลี่ยนเปนเลขฐานสองไดโดยใช วิธีการคูณดวยสอง (Multiply-by-two Method) และบันทึกคาทดในตําแหนงจํานวนเต็ม ตัวเลขทด นี้ จะถูกเรียงไปดานหนาหรือจากบนลงลาง ตัวอยางเชน 0.937510 สามารถเปลี่ยนเปนเลขฐานสองได ดังนี้ คือ 0.9375 x 2 = 1.875 = 0.875 ทด 1 บน 0.875 x 2 = 1.75 = 0.75 ทด 1 0.75 x 2 = 1.5 = 0.5 ทด 1 0.5 x 2 = 1.0 = 0.0 ทด 1 ลาง ∴ 0.937510 = 0.11112 ตัวอยางที่ 1.5 ใหเปลี่ยน 0.72510 เปนเลขฐานสอง วิธีทา ํ 0.725 x 2 = 1.45 = 0.45 ทด 1 0.45 x 2 = 0.9 = 0.9 ทด 0 0.9 x 2 = 1.8 = 0.8 ทด 1 0.8 x 2 = 1.6 = 0.6 ทด 1 0.6 x 2 = 1.2 = 0.2 ทด 1 0.2 x 2 = 0.4 = 0.4 ทด 0 0.4 x 2 = 0.8 = 0.8 ทด 0 จะเห็นวาจะคูณใหลงตัวจนเปน 0 ไมได ดังนั้นจะได 0.72510 ≈ 0.10111002 ตัวอยางที่ 1.6 ใหเปลี่ยน 75.87510 เปนเลขฐานสอง วิธีทํา แปลงตัวเลขออกเปน 2 สวน คือ จํานวนเต็ม 7510 และทศนิยม 0.87510 มาแปลง เปนเลขฐานสองซึ่งทําไดดังนี้คือ จํานวน 2) 75 บน 2) 37 1 2) 18 1 2) 9 0 2) 4 1
  • 8. 8 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 2) 2 1 1 0 ลาง จะได 7510 = 10110112 ทศนิยม 0.875 x 2 = 1.75 = 0.75 ทด 1 บน 0.7 x 2 = 1.5 = 0.5 ทด 1 0.5 x 2 = 1.0 = 0.0 ทด 1 ลาง จะได 0.87510 = 0.1112 ดังนั้น 75.87510 = 1011011.1112 *** การเลื่อนตําแหนงของจุดทศนิยม ถาจุดทศนิยมในระบบเลขฐานสิบถูกเลื่อนไปทางขวา คาของตัวเลขจะถูกคูณดวย 10 ตัวอยาง เชน เมื่อจุดทศนิยมของ 9.4310 ถูกเลื่อนไปทางขวาหนึ่งตําแหนงจะกลายเปน 94.310 นั่นก็ คือมันจะมีคาเพิ่มขึ้น 10 เทา แตถาเลื่อนจุดมาทางซายจะทําใหคาลดลง 1 เทา ถาเลื่อนจุดทศนิยม  10 ของ 9.4310 มาทางซายหนึ่งจุดจะได 0.94310 คือคาลดลง 1 เทา 10 สวนในระบบเลขฐานสองนั้น การเลื่อนจุดทศนิยมหนึงจุดนั้นก็คือการคูณหรือ ่ หารดวย 2 นั่นเอง ตัวอยางเชน 101.02 มีคาเทากับ 52 ถาเลื่อนจุดไปทางขวาหนึ่งจุดจะมีคาเทากับ 10102 ซึ่งก็คือ 1010 มีคาเปน 2 เทาจากเดิม แตถาเลื่อนจุดไปทางซายหนึ่งจุดจะมีคาเทากับ 10.102 ซึ่งมีคาเทากับ 2.510 นั่นก็คือมีคาลดลง 1 เทานั้นเอง 2 การคํานวณเลขฐานสอง การใชงานของเลขฐานสองมีการใชงานในการคํานวณพื้นฐานใน 4 ลักษณะ ดังตอไปนี้คือ 1. การบวก ( addition) 2. การลบ (subtraction) 3. การคูณ (multiplication) 4. การหาร (division)
  • 9. 9 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา การบวก เปนการใชงานทีสําคัญที่สุด การใชวิธีคอมพลีเมนตจะใชชวยการหาผลลบ ่ โดยใชวิธีการบวกกัน ซึ่งในคอมพิวเตอรดิจิตอลจะนิยมใชการลบโดยวิธีคอมพลีเมนต จะทําใหใช จํานวนของฮารดแวรลดลง เพราะวาจะใชเพียงแควงจรดิจิตอลชนิดบวกกันเทานัน ในทํานองเดียวกัน ้ คือการคูณกันสามารถทําไดโดยการบวกกันแบบซ้ํา ๆ กัน สวนการหารคือการลบกันแบบซ้ํา ๆ กัน นี่จึงเปนเหตุผลที่วาการบวกกันจะมีการใชงานมากที่สุดในวงจรดิจิตอล 1) การบวกกันของเลขฐานสอง (Binary Addition) หลักเกณฑที่ชวยในการบวกเลขฐานสองมี 4 ขอดังนี้คือ  1. 0 + 0 = 0 2. 0 + 1 = 1 3. 1 + 0 = 1 4. 1 + 1 = 1 0 หรือเทากับ 0 ทด 1 เชน การบวกเลขฐานสอง 2 จํานวน คือ 1102 และ 1112 สามารถทําไดดังนี้คือ 110 คอลัมนที่ 1 0 + 1 = 1 + 111 คอลัมนที่ 2 1 + 1 = 0 ทด 1 11012 คอลัมนที่ 3 1 + 1 + ทด 1 = 10 + 1 = 112 ตัวอยางที่ 1.7 ใหหาผลบวกของ 1011012 กับ 1101112 วิธีทํา ทด 11111 101101 + 110111 11001002 ขั้นตอนการบวกกันมีดังนี้คือ 1. คอลัมนที่ 1 : 1 + 1 = 0 ทด 1 2. คอลัมนที่ 2 : 0 + 1 = 1+ ทด 1 (จากคอลัมนที่ 1) = 0 ทด 1 3. คอลัมนที่ 3 : 1 + 1 = 0 ทด 1+ ทด 1 (จากคอลัมนที่ 2) = 1 ทด 1 4. คอลัมนที่ 4 : 1 + 0 = 1+ทด 1 (จากคอลัมนที่ 3) = 0 ทด 1
  • 10. 10 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 5. คอลัมนที่ 5 : 0 + 1 = 1+ ทด 1 (จากคอลัมนที่ 4) = 0 ทด 1 6. คอลัมนที่ 6 : 1 + 1 = 1 + ทด 1( จากคอลัมนที่ 5) = 112 ตัวอยางที่ 1.8 ใหหาผลบวกของ 100012 กับ 111112 วิธีทํา 10001 + 11111 1100002 *** 2) การลบกันของเลขฐานสอง (Binary Subtraction) หลักเกณฑของการลบกันของเลขฐานสองมี 4 ขอ ดังนี้คือ 1. 0 - 0 = 0 2. 1 - 0 = 1 3. 1 - 1 = 0 4. 0 - 1 = 1 ยืม 1 จากคอลัมนถัดไป หรือ 10 - 10 = 1 ตัวอยางที่ 1.9 ใหหาคาของ 10102 ลบกับ 1102 วิธีทํา 1 1 0 10 - 110 1002 *** จะเห็นไดวาในคอลัมนที่ 3 จะยืมคอลัมนที่ 4 มา 1 การคอมพลีเมนตของตัวเลข (Complement of a number) การลบกันในงานดิจิตอลนิยมใชคอมพลีเมนตของเลขฐานสอง 2 ในการ ลบกัน คือ 1) 1'S คอมพลีเมนต (1'S complement) 1'S คอมพลีเมนตของเลขฐานสองทําไดโดยเปลี่ยนเลข 0 แตละตัวใหเปน 1 และเปลี่ยนเลข 1 แตละตัวใหเปน 0 ตัวอยางเชน 1'S คอมพลีเมนตของ 1012 คือ 0102 และของ 101012 คือ 010102 เปนตน 2) 2'S คอมพลีเมนต (2'S complement)
  • 11. 11 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 2'S คอมพลีเมนตของเลขฐานสองทําไดโดยบวกดวย 1 กับ 1'S คอมพลีเมนต ซึ่งแสดงความสัมพันธไดดังสมการที่ 1.1 คือ 2'S คอมพลีเมนต = 1'S คอมพลีเมนต + 1 --------1.1 ตัวอยางการหา 2'S คอมพลีเมนต 1002 1'S คอมพลีเมนตของมัน 01102 เมื่อ ทําเปน 2'S คอมพลีเมนต คือบวกดวย 1 จะไดเทากับ 1112 เปนตน การลบโดยใชวิธีคอมพลีเมนตคือการลดวิธีการลบดวยการใชวิธีการบวก ซึ่งวิธี นี้จะนิยมใชกนมากในงานทางดานดิจิตอลดวยเหตุผลดังตอไปนี้ คือ ั (1) จะใชเพียงแควงจรบวกเลขเทานั้น ซึ่งวงจรบวกเลขจะเปนวงจรที่งายกวา วงจรการลบเลข (2) วงจรดิจตอลจะทํางานไดงายกวาในการรับคอมพลีเมนต ิ 3) การลบเลขฐานสองโดยใช 1'S คอมพลีเมนต การลบเลขฐานสองโดยใช 1'S คอมพลีเมนต คือ การลบโดยใชผลบวกของ 1'S คอมพลีเมนต ซึ่งแปลงมาจากตัวลบบวกกับตัวตั้งเดิม โดยผลลัพธสุดทายที่ไดจะไดจากการนํา ตัวทดจากการบวกนี้มาบวกกับผลลัพธของการบวกโดยไมรวมตัวทดนั้น หลักเกณฑของการลบเลขฐานสองโดยใช 1'S คอมพลีเมนต มีดังนี้คือ (1) หา 1'S คอมพลีเมนตของตัวลบ โดยการเปลี่ยนเลข 0 เปน 1 และ เปลี่ยนเลข 1 เปน 0 (2) บวก 1'S คอมพลีเมนตเขากับตัวตั้งของการลบ (3) กําหนดตัวทดจากการบวกรอบสุดทาย (end-around carry) ซึ่งจะมีคา เปน 0 หรือ 1 (4) ถาไมมีตัวทดจากการบวกรอบสุดทาย หรือตัวทดเทากับ 0 ก็แสดงวา ผลลัพธจะมีคาเปนลบและจะตองทําคอมพลีเมนตอีกครังหนึ่ง ้ (5) ถาตัวทดเปน 1 ก็นําตัวทดนั้นมาบวกกับผลบวกนันก็จะไดผลลัพธทันที ้ ตัวอยางที่ 1.10 ใหหาคาของ 1102 ลบดวย 1002 โดยใช 1'S คอมพลีเมนต
  • 12. 12 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา วิธีทํา 1'S คอมพลีเมนต 1002 = 0112 110 + 011 ตัวทด 1 001 1 0102 ∴ 1102 - 1002 = 102 *** ตัวอยางที่ 1.11 ใหหาคาผลลบของ 10112 ลบดวย 11102 โดยใช 1'S คอมพลีเมนต วิธีทํา 1'S คอมพลีเมนตของ 11102 = 00012 1011 + 0001 1100 2 ไมมีตัวทด ดังนั้นตองทําคอมพลีเมนตอีกครั้งหนึ่ง และใสเครื่องหมายลบไวดานหนา ∴ 1011 2 - 1110 2 = - 00112 4) การลบเลขฐานสองโดยใช 2'S คอมพลีเมนต ขั้นตอนของการลบเลขฐานสองโดยใช 2'S คอมพลีเมนตทําไดดังนี้ คือ (1) หาคา 2'S คอมพลีเมนตของตัวลบ (2) บวกคา 2'S กับตัวตั้ง (3) ตัดตัวทดตัวสุดทายทิ้ง (4) ถาตัวทดเปน 1 คําตอบจะกลายเปนบวกและไมตองทําคอมพลีเมนตอีก (5) ถาตัวทดเปน 0 หรือไมมีตัวทด คําตอบจะกลายเปนลบและจะตองทํา 2'S คอมพลีเมนตอกครั้ง ี ตัวอยางที่ 1.12 ใหหาคาผลลบของ 1011 2 ลบดวย 1000 2 โดยใช 2'S คอมพลีเมนต วิธีทํา 1'S คอมพลีเมนตของตัวลบ = 0111
  • 13. 13 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 2'S คอมพลีเมนต = 0111 + 1 = 10002 1011 + 1000 1 0011 ตัดตัวทดทิ้ง ∴ 10112 - 10002 = -00112 *** ตัวอยางที่ 1.13 ใหหาคาผลลบของ 1100 2 ลบดวย 1101 2 โดยใช 2'S คอมพลีเมนต วิธีทํา 1'S คอมพลีเมนตของตัวลบ = 0010 2'S คอมพลีเมนต = 0010 + 1 = 0011 1100 + 0011 1111 ไมมีตัวทด ดังนั้นตองทํา 2'S คอมพลีเมนตอีกครั้งหนึ่งและคําตอบออกมาจะมี เครื่องหมายลบ 1'S คอมพลีเมนตของ 1111 = 0000 2'S คอมพลีเมนตของ 1111 = 0000 + 1 = 0001 ∴ 11002 - 11012 = -00012 *** 5) การคูณกันของเลขฐานสอง หลักเกณฑการคูณกันของเลขฐานสองอยางงาย ๆ มี 4 ขอ คือ 1. 0 x 0 = 0 2. 0 x 1 = 0 3. 1 x 0 = 0 4. 1 x 1 = 1 ตัวอยางที่ 1.14 ใหหาผลคูณของ 1012 กับ 100 2 วิธีทํา 101 x 100 000
  • 14. 14 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 000 101 10100 ∴ 1012 x 1002 = 101002 *** ตัวอยางที่ 1.15 ใหหาผลคูณของ 10012 กับ 1010 2 วิธีทํา 1001 x 1010 0000 1001 0000 1001 1011010 ∴ 10012 x 10102 = 10110102 *** 6) การหารกันของเลขฐานสอง การหารกันของเลขฐานสองจะเหมือนกับเลขฐานสิบ นั่นคือการหารดวย 0 จะไมมี ความหมายหรือหาคาไมได กฎเกณฑของการหารเลขฐานสองมี 2 ขอ ดังตอไปนี้ คือ 1. 0 ÷ 1 = 0 หรือ 0 = 0 1 2. 1 ÷ 1 = 1 หรือ 1 =1 1 ตัวอยางที่ 1.16 ใหหาคาของ 110002 ÷ 1002 วิธีทํา 110 100 11000 100 100 100 00 7) การเลื่อนตัวเลขฐานสองจากซายไปขวา
  • 15. 15 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา การเลื่อนตัวเลขฐานสองไปทางซายหรือทางขวาหนึ่งขันมีคาเทากับการคูณ ้ หรือการหารดวย 2 ในระบบเลขฐานสิบ เมื่อเลขฐานสอง 110002 (หรือเทากับ 2410) ถูกเลื่อนไปทางซายหนึ่งขั้น และ กลายเปน 1100002 (หรือเทากับ 4810) ซึ่งมีคาเปน 2 เทาของ 2410 ถาเลื่อนเลขตัวนี้ไปทางขวาหนึ่ง ขั้นจะได 011002 (หรือเทากับ 1210) ซึ่งมีคานอยลงเปน 2 เทาของ 2410 1.2.6 การแสดงเลขฐานสองเปนสัญญาณทางไฟฟา ตามที่ทราบมาแลวขางตนวาเลขฐานสองสามารถแสดงออกมาไดเปนเลข 0 และ 1 ซึ่งมันงายตอการคํานวณเทานั้น แตในทางปฏิบติมีปญหาอยูวาทําอยางไรจึงจะใชขอมูลของ ั  เลขฐานสองในวงจรลอจิกของดิจิตอลคอมพิวเตอรได ซึ่งในลักษณะนี้สัญญาณทางไฟฟา จะถูก แสดงออกมาเปน 2 ชนิด คือ 0 และ 1 โดยสัญญาณที่ถูกเลือกใหแสดงคาเปนลอจิก 1 และ 0 จะตอง มีคาตายตัว เพราะวาความเร็วและความแมนยําคือสิ่งสําคัญอันดับแรกของวงจรดิจิตอล ดังนั้นสัญญาณทางไฟฟาจะตองมีคุณสมบัติดังนี้ คือ 1. ตองใชไดกับวงจรที่ความเร็วอยางเหมาะสม 2. สัญญาณเหลานี้จะตองงายตอการใชงานกับสวนอื่น 3. จะตองยากที่จะทําใหเกิดความสับสนกับสัญญาณอื่น ๆ ได ในรูปที่ 1.4 จะแสดงสัญญาณหลาย ๆ คูที่มีคุณสมบัติตามตองการ ซึ่งจะเห็นได วาสัญญาณพัลซซึ่งแทนลอจิก 1 จะไมมการบิดเบี้ยวจนไดลอจิกเปน 0 หรือเปนพัลซลบหรือไม ี เปนพัลซได สวนในรูปที่ 1.5 จะแสดงคูของสัญญาณที่ใชแทนเลขฐานสองในลักษณะตาง ๆ กัน
  • 16. 16 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา รูปที่ 1.4 คูของสัญญาณทางไฟฟาที่เหมาะที่จะใชงานกับวงจรดิจตอล 1 ิ รูปที่ 1.5 การแสดงคูของสัญญาณทางไฟฟาเปนดิจิตอล 1.4 ระบบเลขฐานแปด (Octal Number System) ก. ฐาน เลขฐานแปดจะมีฐานเปน 8 ซึ่งหมายความวามันจะประกอบดวยเลข 8 ตัวที่ สามารถถูกแทนลงในแตละหลักคือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 โดยที่เลข 0 ถึง 7 จะมีความหมาย เหมือนกันกับในระบบเลขฐานสิบ การนับเลขที่มีคามากกวา 7 ทําไดดังนี้ 0 1 2 3 4 5 6 7 10 11 12 13 14 15 16 17 20 21 22 23 24 25 26 27 30 31 32 33 34 35 36 37 ข. คาของตําแหนง
  • 17. 17 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา คาของตําแหนงหรือน้ําหนักในแตละหลักจะมีคาตางกันเทากับเลขยกกําลังของ 8 ซึ่งมีลักษณะดังตอไปนี้คือ 84 83 82 81 80 . 8-1 8-2 8-3 8-4 จุดทศนิยมฐานแปด ตัวอยางที่ 1.17 ใหหาคาของ 4758 ในระบบเลขฐานสิบ วิธีทํา 4758 = 4x82 + 7x81 + 5x80 = 256 + 56 +5 ∴ 4758 = 31710 *** 1.4.1 การเปลี่ยนเลขฐานแปดเปนเลขฐานสิบ การเปลี่ยนเลขฐานแปดเปนเลขฐานสิบทําไดตามขั้นตอนเชนเดียวกับในหัวขอที่ 1.1.3 คือ 1. เขียนเลขฐานแปดโดยเรียงแตละหลักเปนแถวเดียวกัน 2. เขียนน้ําหนักในแตละหลัก 3. นําขั้นตอนที่ 1 คูณกับขั้นตอนที่ 3 ในแตละหลัก 4. นําคาในแตละหลักในขันตอนที่ 3 มาบวกกัน ้ เชน การเปลี่ยนเลข 216.2038 เปนเลขฐานสิบทําไดดังนี้คอ ื ขั้นตอนที่ 1 2 1 6 . 2 0 3 ขั้นตอนที่ 282 81 80 8-1 8-2 8-3 ขั้นตอนที่ 3 2x82 81 6 2 0 8 ขั้นตอนที่ 4 2x82 + 81+ 6 + + 0 + 33 = 142.255859410 2 8 8 ∴ 216.2038 = 142.255859410 หรือทําไดดังนี้คือ 216.2038 = 2x82 + 1x81 + 6x80 + 2x8-1 + 0x8-2 + 3x8-3 2 3 = 128 + 8 + 6 +8 + 0 + 8 3
  • 18. 18 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา ∴ 216.2038 = 142.255859410 ตัวอยางที่ 1.18 ใหหาคาของ 168.7158 เปนเลขฐานสิบ วิธีทํา ขั้นตอนที่ 1 1 6 8 . 7 1 5 ขั้นตอนที่ 2 82 81 80 8-1 8-2 8-3 1 ขั้นตอนที่ 3 64 48 8 7 64 5 3 8 8 ขั้นตอนที่ 4 64 + 48 + 8 + + + = 120.900390610 ∴ 168.7158 = 120.900390610 *** หรือทําไดดังนี้คือ168.7158 = 2x82 + 6x81 + 8x80 + 7x8-1 + 1x8-2 + 5x8-3 = 64 + 48 + 8 +8 +64 5 7 1 + 3 8 ∴ 168.7158 = 120.900390610 *** 1.4.2 การเปลี่ยนเลขฐานสิบเปนเลขฐานแปด วิธีการเปลี่ยนเลขฐานสิบเปนเลขฐานแปดจะมีลักษณะเหมือน ๆ กับการแปลง เลขฐานสิบเปนเลขฐานสอง จะแตกตางกันเพียงใช 8 เปนแฟคเตอรในการหารสําหรับเลขฐานสิบ ที่เปนจํานวนเต็มและจะใช 8 เปนแฟคเตอรในการคูณเมื่อเลขฐานสิบมีคาเปนจุดทศนิยมที่นอยกวา หนึ่ง ตัวอยางที่ 1.19 ใหเปลี่ยน 32510 เปนเลขฐานแปด วิธีทํา 8 ) 325 บน 8 )40 เหลือเศษ 5 5 เหลือเศษ 0 ลาง ∴ 32510 = 5058 *** ตัวอยางที่ 1.20 ใหเปลี่ยน 0.32510 เปนเลขฐานแปด วิธีทํา 0.325 x 8 = 2.60 = 0.60 ทด 7 บน ลาง
  • 19. 19 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 0.60 x 8 = 4.80 = 0.80 ทด 4 0.80 x 8 = 6.40 = 0.40 ทด 6 0.4 x 8 = 3.20 = 0.20 ทด 3 ∴ 0.32510 ≈ 0.24638 *** 0.096 x 8 = 0.768 = 0.768 ทด 0 ∴ 0.87610 ≈ 0.700408 *** ตัวอยางที่ 1.21 ใหเปลี่ยน 512.62510 เปนเลขฐานแปด วิธีทํา แยกจํานวนเต็มและทศนิยมแยกกันคํานวณจะไดดังนี้คอ ื จํานวนเต็ม 8 )512 บน 8 )64 0 8 )8 0 1 0 ลาง ∴ 51210 = 10008 ทศนิยม 0.625 x 8 = 5.0 = 0.0 ทด 5 ∴ 0.625 10 = 0.58 ∴ 512.625 10 = 1000.58 *** 1.4.3 การเปลี่ยนเลขฐานสองเปนเลขฐานแปด การเปลี่ยนเลขฐานสองเปนเลขฐานแปดทีงายที่สุดจะใชวิธีไบนารีไตรเพล็ท ่ (binarytriplet method) คือจัดเลขฐานสองออกมาเปนกลุม กลุมละ 3 บิท โดยเริ่มจากจุดทศนิยม ถากลุมทาย ๆ จัดไมไดครบ 3 บิทก็เติมศูนยทดานหนาเพิ่ม ตัวอยางเชน ตองการเปลี่ยน ี่ 11010112 เปนเลขฐานแปดจะทําไดดังนี้คอ ื 1101011 จัดเปนกลุมละ 3 บิท 00
  • 20. 20 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา เติม 0 เพิ่ม 1 101 011 1 5 3 ∴ 11010112 = 1538 ตัวอยางที่ 1.22 ใหเปลี่ยน 10100102 เปนเลขฐานแปด วิธีทํา 1010010 จัดกลุม 3 บิท 001 010 010 1 2 2 ∴ 10100102 = 1228 *** 1.4.4 การเปลี่ยนเลขฐานแปดเปนเลขฐานสอง ขั้นตอนการเปลี่ยนเลขฐานแปดเปนเลขฐานสองจะมีลักษณะกลับกับการเปลี่ยน เลขฐานสองเปนเลขฐานแปดคือ แตละหลักของเลขฐานแปดจะถูกแปลงเปนเลขฐานสอง 3 บิท ตัวอยางเชน การแปลง 5248 เปนเลขฐานสองทําไดดังนีคือ ้ 5 2 4 101 010 100 ∴ 5248 = 1010101002 *** ตัวอยางที่ 1.23 ใหเปลี่ยน 64.328 เปนเลขฐานสอง วิธีทํา 6 4 . 3 2 110 100 011 010 ∴ 64.328 = 110100.0110102 *** 1.4.5 ขอดีของระบบเลขฐานแปด
  • 21. 21 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา ขอดีที่สําคัญของระบบเลขฐานแปด คือ มีความยาวนอยกวาระบบเลขฐานสอง อยู 1 เทา ดังนั้นการใชงานของคอมพิวเตอรคงทําไดงายกวาในการรับหรือสงขอมูลอินพุตและ 3 เอาทพุท การพิมพออกทางเครื่องพิมพจะทําไดสะดวกกวาและงายทีจะอานขอมูล นอกจากนัน ่ ้ การเปลี่ยนเลขฐานสองเปนเลขฐานแปดและการเปลี่ยนเลขฐานแปดเปนเลขฐานสองยังทําไดงาย และรวดเร็ว 1.5 ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number System) คุณลักษณะของระบบเลขฐานสิบหกมีดังนี้คือ 1. มีฐานเปน 16 ดวยเหตุนี้จึงใหเลข 16 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C, D, E, F 2. คาในแตละตําแหนงหรือในแตละหลักจะมีน้ําหนักเพิ่มขึ้นเทากับเลขยกกําลัง ของ 16 เมื่อเลขฐานสิบหกอยูทางดานซายของจุดทศนิยม และจะมีคาลดลงตามเลขยกกําลังของ 16 เมื่อมันอยูทางดานขวาของจุดทศนิยม การใชงานหลัก ๆ ของเลขฐานในระบบนี้คือจะใชงานกับเครื่องจักรที่ทํางานเปนไบต และมันจะถูกใชสําหรับกําหนดแอดเดรสของเลขฐานสองที่แตกตางกันที่ถูกเก็บในหนวยความจํา ของคอมพิวเตอร 1.5.1 การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบหก วิธีที่งายคือ แยกเลขฐานสองออกเปนกลุม ๆ ละ 4 บิท ก็จะไดเลขฐานสิบหก ออกมา ตัวอยางที่ 1.24 ใหเปลี่ยน 101011002 เปนเลขฐานสิบหก วิธีทํา 1010 1100 A C ∴ 10101100 2 = AC16 1.5.2 การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสอง ขั้นตอนการเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสองจะกลับกับขั้นตอนการเปลี่ยน เลขฐานสองเปนฐานสิบหก คือ นําแตละหลักของเลขฐานสิบหกมาแตกเปน 4 บิท ตัวอยาง เชน การเปลี่ยนเลข 4A316 เปนเลขฐานสองทําไดดังนี้คือ
  • 22. 22 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 4 A 3 0100 1010 0011 ∴ 4A316 = 100101000112 *** ตัวอยางที่ 1.25 ใหเปลี่ยน 2C616 เปนเลขฐานสอง วิธีทํา 2 C 6 0010 1100 0110 ∴ 2C616 = 10110001102 *** ตัวอยางที่ 1.26 ใหเปลี่ยน 52E.6D216 เปนเลขฐานสอง วิธีทํา 5 2 E . 6 D 2 0101 0010 1110 0110 1101 0010 ∴ 52E.6D2 16 = 10100101110.0110110100102 *** 1.5.3 การเปลี่ยนเลขฐานสิบเปนเลขฐานสิบหก การเปลี่ยนเลขฐานสิบเปนเลขฐานสิบหกทําได 2 วิธีคือ 1) เปลี่ยนจากเลขฐานสิบเปนเลขฐานสองกอน และเปลี่ยนเลขฐานสองเปน เลขฐานสิบหก 2) ใชเลข 16 หาร ซึ่งเรียกวิธีนวา เฮ็ก - แด็บเบิล (hex-dabble method) ี้  ตัวอยางที่ 1.27 ใหเปลี่ยน 9810 เปนเลขฐานสิบหก วิธีทํา ใชวิธีที่ 1 2 ) 98 2) 49 0
  • 23. 23 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 1) 24 1 2) 12 0 2) 6 0 2) 3 0 1 1 ∴ 9810 = 11000102 11000102 = 0110 00102 = 62 16 ∴ 9810 = 6216 *** ใชวิธีที่ 2 16) 98 6 เหลือเศษ 2 ∴ 9810 = 6216 *** 1.5.4 การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสิบ การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกทําได 2 วิธี คือ 1) เปลี่ยนเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสองและเปลี่ยนเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบ 2) ใหเลขยกกําลังของ 16 ตามคาของแตละตําแหนงหรือน้ําหนักในแตละหลัก ตัวอยางที่ 1.28 ใหเปลี่ยนเลขฐานสิบดังตอไปนี้เปนเลขฐานสอง เลขฐานแปดและเลขฐานสิบหก ก) 45 ข) 128 วิธีทํา ก) 45 10 2 ) 45 2 ) 22 1 5 ) 11 0 2) 5 1 2) 2 1 1 0 ∴ 45 10 = 1011012 *** 1011012 = 101 1012 = 558 ∴ 4510 = 558 ***
  • 24. 24 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 1011012 = 0010 11012 = 2D16 ∴ 4510 = 2D16 ข) 12810 2) 128 2)64 0 2)32 0 2)16 0 2)8 0 2) 4 0 2)2 0 1 0 ∴ 12810 = 100000002 100000002 = 010 000 0002 = 2008 ∴ 12810 = 2008 *** 100000002 = 1000 00002 = 8016 ∴ 12810 = 8016 *** แบบทดสอบทายบท คําชี้แจง ใหนกศึกษาตอบคําถามตอไปนี้ใหถูกตอง ั
  • 25. 25 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา 1. ใหเปลี่ยนเลขฐานสองตอไปนี้เปนเลขฐานสิบ ก. 11010 ข. 100011 2. ใหเปลี่ยนเลขฐานสิบตอไปนี้เปนเลขฐานสอง ก. 3.037510 ข. 6.2510 3. ใหบวกเลขฐานสองดังตอไปนี้ ก. 1001 + 1010 ข. 1010 + 101 4. ใหบวกเลขฐานสองของ 1011.012 กับ 1001.112 5. ใหลบเลขฐานสองดังตอไปนี้ ก. 111 – 101 ข. 1000 – 11 6. ใหหาคาผลลัพธของตัวเลขเหลานี้โดยใชเลขฐานสอง ก. 6410 – 3210 ข. 710 + 1110 7. ใหหาผลลัพธของ 100011 ลบกับ 111010 8. ใหหา 1’S คอมพลีเมนตของเลขฐานสองตอไปนี้ ก. 10101 ข. 1111 9. ใหหา 2’S คอมพลีเมนตของเลขฐานสองตอไปนี้ ก. 1010 ข. 10011.11 10. ใหใช 1’S คอมพลีเมนต และ 2’S คอมพลีเมนตในการลบกันของเลขฐานสองดังตอไปนี้ ก. 100011 – 111010 ข. 1111 – 1011 ค. 110011 – 100101 ง. 10010 – 10111 11. ใหหาผลคูณของเลขฐานสองดังตอไปนี้ ก. 1110 x 111 ข. 1011 x 101 ค. 10101 x 101 ง. 1100 x 101 12. ใหหาผลลัพธของการหารกันของเลขฐานสองดังตอไปนี้ ก. 1100010 ÷111 ข. 1110011 ÷ 101 ค. 11011 ÷ 100 ง. 110110 ÷ 1011
  • 26. 26 ดิจิตอลประยุกต 31041003 ระบบเลขฐาน พงษ พร สัทธา