SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี 
และสื่อการศึกษา 
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING กลุ่ม 8
ภารกิจที่1 
วิเคราะห์หาสาเหตุทที่า ให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ 
ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
สาเหตุที่ทา ให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ 
ที่ต้องการให้เกิดขึ้น เพราะครูสมศรีด้สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และ 
ประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ 
อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู 
และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆเข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตาม 
แนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีระสิทธิภาพมากขึน้ 
ครูสมศรีใช้คาความคิดของตนเองในการสร้างสื่อการสอน ไม่ได้ 
คานึงหรือเน้นผู้สอนเป็นสาคัญ ช่วงแรกผู้เรียนอาจจะสนใจในสื่อการสอน 
แต่พอใช้สื่อเดิมๆ ทาให้ผู้เรียนเบื่อ ไม่มีอะไรน่าสนใจ ไม่มีตัวกระตุ้น จึงทา 
ให้การสอนของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าหมายที่กา หนด
ภารกิจที่2 
วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจาก 
พื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
• เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม 
การออกแบบสื่อตามพื้นฐานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมจะถูกเรียกว่า การออกแบบการสอน 
ในช่วงเริ่มแรก มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจา ความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด 
บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้สอนจะเป็นผู้นา เสนอข้อมูลสารสนเทศ 
เช่น ตา ราเรียน การบรรยาย 
• เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพุทธิปัญญานิยม 
แนวคิดที่สาคัญของการออกแบบมุ่งเน้นการสนับสนุนกระบวนการทางพุทธิปัญญาของ 
ผู้เรียนโดยเฉพาะบทบาทของการใช้หน่วยความจา เพื่อช่วยในการแปลสารสนเทศใหม่ 
ลงไปในรูปแบบที่มีความหมายสา หรับผู้เรียนในการบันทึกความรู้และการนา ความรู้ที่เก็บไว้กลับมา 
ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยลักษณะที่สาคัญของการออกแบบเทคโนโลยีและสื่อตามแนวพุทธิ 
ปัญญาเป็นดังนี้
1) การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศให้กับผู้เรียน 
2) การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม วิธีการนี้จะช่วยให้ 
ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 
3) ใช้เทคนิคเพื่อแนะน าและสนับสนุนให้ผู้เรียนใส่ใจ เข้ารหัสและเรียกสารสนเทศกลับมาใช้ 
ใหม่ได้ 
• เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
รูปแบบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสานร่วมกันระหว่าง สื่อ กับ วิธีการ โดยการนาทฤษฎี 
คอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของ 
สื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน โดยมีองค์ประกอบ และหลักการส าคัญที่ใช้ในการออกแบบดังนี้ 
(1)สถานการณ์ปัญหา 
(2) แหล่งการเรียนรู้ 
(3) ฐานการช่วยเหลือ 
(4) การร่วมมือกันแก้ปัญหา และ 
(5) การโค้ช
ภารกิจที่3 
วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ 
ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่ง 
ใดบ้างอธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
• ในช่วงทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา กระบวนทัศน์ใหม่ทางการเรียนรู้ คือ คอนสตรัคติวิสต์ 
ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการศึกษา และงานทางเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งมีความเชื่อว่า การรู้จักและ 
ตีความหมายของสิ่งต่างๆ ในโลกของแต่ละบุคคลนัน้ เกิดจากการสร้างแนวคิดของตนเองเกี่ยวกับ 
สิ่งที่เป็นวัตถุจริง ดังนัน้ นักการศึกษาที่เชื่อในกระบวนทัศน์ เดิมคือทัง้พฤติกรรมนิยมและพุทธิ 
ปัญญานิยม จะพยามจัดการสอนโดยเปรียบผู้เรียนเป็นถัง หรือภาชนะที่จะต้องเท หรือเติมความรู้ 
โดยครูผู้สอน หนังสือเรียน ต ารา สื่อการสอนต่าง ๆ แต่ในทางตรงข้ามตามแนวคิดของคอนสตรัคติ 
วิสต์ ผู้เรียนจะเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการสังเกต ลงมือกระท า และอธิบายความหมายโลกรอบ ๆ 
ตัวผู้เรียนและแนวโน้มต่อไปเกี่ยวกับการน าทฤษฎีมาสู่งานทางด้านเทคโนโลยีการศึกษานัน้จะ 
ผสมผสาน หลักการต่างๆ ทัง้ 3 มาใช้เป็นวิธีการใหม่ ดังนัน้ ผู้เขียนมีความเห็นว่า ครูผู้สอน นัก 
ออกแบบการสอน และผู้ที่เกี่ยวข้องจา เป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้ทัง้ 3 
ดังกล่าวให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึง้ และสามารถ น ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ 
อย่างเหมาะสม หรือในบางกรณีอาจเป็นการผสมผสานแนวคิด หลักการดังกล่าวให้ สอดคล้องกับ 
การจัดการเรียนรู้และสภาพบริบท รวมถึงวัฒนธรรมไทย
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 
1.นางสาว เกศรินทร์ ภักดี 563050524-8 
2.นางสาว สุนิสา สุดเพาะ 563050546-8 
3.นางสาว อรอุมา กา ไรทอง 563050550-7

More Related Content

What's hot

Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
pompompam
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Dee Arna'
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
N'Fern White-Choc
 

What's hot (17)

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter3..
Chapter3..Chapter3..
Chapter3..
 
Chapter35630505256
Chapter35630505256Chapter35630505256
Chapter35630505256
 
C3
C3C3
C3
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapte3
Chapte3Chapte3
Chapte3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 

Similar to งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
sinarack
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
P-zhiie Chic'
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
P-zhiie Chic'
 
บท 3 แจน
บท 3 แจนบท 3 แจน
บท 3 แจน
jittraphorn
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
a35974185
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรม
Ayumu Black
 

Similar to งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้ (18)

Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
บท 3 แจน
บท 3 แจนบท 3 แจน
บท 3 แจน
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter3 jp
Chapter3 jpChapter3 jp
Chapter3 jp
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรม
 
Chapter3 (1)
Chapter3 (1)Chapter3 (1)
Chapter3 (1)
 
Chapter3(1)
Chapter3(1)Chapter3(1)
Chapter3(1)
 
Chapter3.1
Chapter3.1Chapter3.1
Chapter3.1
 

งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้

  • 1. มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING กลุ่ม 8
  • 3. สาเหตุที่ทา ให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ ที่ต้องการให้เกิดขึ้น เพราะครูสมศรีด้สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และ ประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆเข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตาม แนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีระสิทธิภาพมากขึน้ ครูสมศรีใช้คาความคิดของตนเองในการสร้างสื่อการสอน ไม่ได้ คานึงหรือเน้นผู้สอนเป็นสาคัญ ช่วงแรกผู้เรียนอาจจะสนใจในสื่อการสอน แต่พอใช้สื่อเดิมๆ ทาให้ผู้เรียนเบื่อ ไม่มีอะไรน่าสนใจ ไม่มีตัวกระตุ้น จึงทา ให้การสอนของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าหมายที่กา หนด
  • 5. • เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม การออกแบบสื่อตามพื้นฐานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมจะถูกเรียกว่า การออกแบบการสอน ในช่วงเริ่มแรก มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจา ความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้สอนจะเป็นผู้นา เสนอข้อมูลสารสนเทศ เช่น ตา ราเรียน การบรรยาย • เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพุทธิปัญญานิยม แนวคิดที่สาคัญของการออกแบบมุ่งเน้นการสนับสนุนกระบวนการทางพุทธิปัญญาของ ผู้เรียนโดยเฉพาะบทบาทของการใช้หน่วยความจา เพื่อช่วยในการแปลสารสนเทศใหม่ ลงไปในรูปแบบที่มีความหมายสา หรับผู้เรียนในการบันทึกความรู้และการนา ความรู้ที่เก็บไว้กลับมา ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยลักษณะที่สาคัญของการออกแบบเทคโนโลยีและสื่อตามแนวพุทธิ ปัญญาเป็นดังนี้
  • 6. 1) การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศให้กับผู้เรียน 2) การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม วิธีการนี้จะช่วยให้ ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 3) ใช้เทคนิคเพื่อแนะน าและสนับสนุนให้ผู้เรียนใส่ใจ เข้ารหัสและเรียกสารสนเทศกลับมาใช้ ใหม่ได้ • เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ รูปแบบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสานร่วมกันระหว่าง สื่อ กับ วิธีการ โดยการนาทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของ สื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน โดยมีองค์ประกอบ และหลักการส าคัญที่ใช้ในการออกแบบดังนี้ (1)สถานการณ์ปัญหา (2) แหล่งการเรียนรู้ (3) ฐานการช่วยเหลือ (4) การร่วมมือกันแก้ปัญหา และ (5) การโค้ช
  • 7. ภารกิจที่3 วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่ง ใดบ้างอธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
  • 8. • ในช่วงทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา กระบวนทัศน์ใหม่ทางการเรียนรู้ คือ คอนสตรัคติวิสต์ ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการศึกษา และงานทางเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งมีความเชื่อว่า การรู้จักและ ตีความหมายของสิ่งต่างๆ ในโลกของแต่ละบุคคลนัน้ เกิดจากการสร้างแนวคิดของตนเองเกี่ยวกับ สิ่งที่เป็นวัตถุจริง ดังนัน้ นักการศึกษาที่เชื่อในกระบวนทัศน์ เดิมคือทัง้พฤติกรรมนิยมและพุทธิ ปัญญานิยม จะพยามจัดการสอนโดยเปรียบผู้เรียนเป็นถัง หรือภาชนะที่จะต้องเท หรือเติมความรู้ โดยครูผู้สอน หนังสือเรียน ต ารา สื่อการสอนต่าง ๆ แต่ในทางตรงข้ามตามแนวคิดของคอนสตรัคติ วิสต์ ผู้เรียนจะเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการสังเกต ลงมือกระท า และอธิบายความหมายโลกรอบ ๆ ตัวผู้เรียนและแนวโน้มต่อไปเกี่ยวกับการน าทฤษฎีมาสู่งานทางด้านเทคโนโลยีการศึกษานัน้จะ ผสมผสาน หลักการต่างๆ ทัง้ 3 มาใช้เป็นวิธีการใหม่ ดังนัน้ ผู้เขียนมีความเห็นว่า ครูผู้สอน นัก ออกแบบการสอน และผู้ที่เกี่ยวข้องจา เป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้ทัง้ 3 ดังกล่าวให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึง้ และสามารถ น ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ อย่างเหมาะสม หรือในบางกรณีอาจเป็นการผสมผสานแนวคิด หลักการดังกล่าวให้ สอดคล้องกับ การจัดการเรียนรู้และสภาพบริบท รวมถึงวัฒนธรรมไทย
  • 9. รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว เกศรินทร์ ภักดี 563050524-8 2.นางสาว สุนิสา สุดเพาะ 563050546-8 3.นางสาว อรอุมา กา ไรทอง 563050550-7