SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
งานวิจัยในชั้นเรียน

ชื่อเรื่อง      สูตรคูณนั้นสําคัญฉะไน
ผูวิจัย        นางสาวปยะมาศ แกวเกษการณ

จุดมุงหมาย
          1. ใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญ และประโยชนของการทองสูตรคูณ
          2. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว
          3. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได
วิธีดําเนินการ
          1 .วางแผนการทําวิจัย และการสรางเกมการศึกษา
          2. ทําการวิจัย
          3. รวบรวมขอมูล วิเคราะหและสรุปผลการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย
          1. กลุมตัวอยาง
                   นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1- 3 จํานวน 39 คน
          ประชากร
                   ประถมศึกษาปที่ 1-มัธยมศึกษาปที่ 3 จํานวน 130 คน
          2. เนื้อหาที่ใชในการทําวิจัย ไดแก บททองสูตรคูณ

เครื่องมือที่ใช
      1. บททองสูตรคูณ
      2. ตารางบันทึกการทองสูตรคูณ
      3. เกมการศึกษาเกี่ยวกับสูตรคูณที่สรางขึ้น

ผลการประเมิน
        หลังจากทําการวิจัยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ผานการประเมิน 28 คน คิดเปนรอยละ
71.03 มีผูไมผานการประเมิน 11 คน คิดเปนรอยละ 28.97 ผูวิจัยสามารถใหเหตุผลที่ทําใหนักเรียนสอบ
ไมผานมีดังนี้ นักเรียนไมคอยทองแมสูตรคูณ ,นักเรียนทองไดแตชาไมทันเวลาที่กําหนด,นักเรียน
บางสวนเปนเด็กพิเศษ




                                                                                                 1
บทที่ 1
                                           บทนํา


ความเปนมาและความสําคัญของงานวิจัย

         ในวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานที่สําคัญอยางหนึ่งก็คือ การคิดคํานวณ ไดแก การบวก การลบ
การคูณ และการหาร ถานักเรียนมีทักษะการคิดคํานวณที่ไมดี การเรียนคณิตศาสตรใหดีไดนั้นก็จะทํา
ไดยาก จากการไดทดสอบนักเรียนรุนที่ผานๆ มา ไดพบปญหา คือ นักเรียนมีทักษะการคูณเลข และ
หารเลขที่ไมดี โดยสวนมากจะคูณผิดและหารผิด หรือบางคนทําไดแตทําไดชามาก จึงทําการสอบถาม
นักเรียนเกี่ยวกับปญหานี้ ปรากฏวา นัก เรียนสวนนอยไมเขาใจในวิธีการคิด แตสวนมากทําไมได
เพราะ ทองสูตรคูณไมได หรือทองไดแตทองไดชามาก จึงทําใหเกิดความคิดที่จะแกปญหาในเรื่อง
การทองสูตรคูณนี้ นอกจากนักเรียนจะตองใชการทองสูตรคูณในการคิดคํานวณแลว นักเรียนยัง
สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอีกดวย แตในงานวิจัยชิ้นนี้จะศึกษาวิจัยเฉพาะนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1 – มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2554 จํานวน 39 คน เทานั้น
         ดังนั้นผูวิจัยจึงไดพยายามหาแนวทางที่จะชวยใหนักเรียนสามารถทองสูตรคูณได และสามารถ
นําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได

จุดมุงหมาย
       1. ใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญ และประโยชนของการทองสูตรคูณ
       2. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว
       3. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได

ตัวแปรที่ศึกษา

       ตัวแปรตน
       นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2554 จํานวน 39 คน
       ตัวแปรตาม
       1. การทองสูตรคูณ
       2. ผลการทดสอบทองสูตรคูณปากเปลา และคะแนนจากเกมการศึกษาที่สรางขึ้น




                                                                                            2
กรอบแนวคิดในการวิจัย

                                      ฝกทองสูตรคูณ



       การทดสอบทองสูตร                                          คะแนนจากการทดสอบ
          คูณปากเปลา                                              กับเกมการศึกษา

                           รูปแสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย



ประโยชนที่คาดวาจะได
      1. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว
      2. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได




                                                                                    3
บทที่ 2
                               เอกสารและงานวิจัยอางอิง

ผูคนพบแมสูตรคูณ
        ปทาโกรัส เปนที่รูจักกันดีในฐานะของนักคณิตศาสตรผูคิดคนสูตรคูณ หรือตารางปทาโกเรียน

สูตรคูณ

        (ซึ่งมีไวสําหรับสอนการคูณกับเด็กนักเรียน) เปนตารางกริดที่แถวและคอลัมนมีหัวเปนตัว
เลขที่จะนํามาคูณ และตัวเลขในแตละชองคือผลคูณของหัวแถวและคอลัมน




                                                                                               4
บทที่ 3
                                     วิธีดําเนินการวิจัย

ขอบเขตของการวิจัย
       1. กลุมตัวอยาง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-มัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ป
การศึกษา 2554 โรงเรียนบานหนองกระทุม จํานวน 39 คน
       2. เนื้อหาที่ใชในการทําวิจัย ไดแก บททองสูตรคูณ

วิธีดําเนินการวิจัย
ระยะเวลาในการดําเนินงาน
       15 พฤศจิกายน 2554 – 1 มีนาคม 2555

                                     ตารางดําเนินการวิจัย
     วัน/เดือน/ป                   กิจกรรม/ขั้นตอนการดําเนินงาน                          หมายเหตุ
15 พ.ย. 54              วางแผนการทําวิจัย และการสรางเกมการศึกษา
21-23 พ.ย. 54           ทดสอบการทองสูตรคูณของนักเรียนโดยวิธีทองปากเปลา             บันทึกผลการทอง
                                                                                           สูตรคูณ
28 พ.ย.54–17 ก.พ.55     นักเรียนทุกคนทองสูตรคูณตอนเขาแถวกอนกลับบาน                 ทําเชนนี้ทุกวัน
20 - 24 ก.พ. 55         ใหนักเรียนทดสอบกับเกมการศึกษาที่สรางขึ้น                      บันทึกคะแนน
27-29 ก.พ. 55           รวบรวมและวิเคราะหขอมูล
1 มี.ค. 55              สรุปผลการวิจัย


เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
    4. บททองสูตรคูณ
    5. ตารางบันทึกการทองสูตรคูณ
    6. เกมการศึกษาเกี่ยวกับสูตรคูณที่สรางขึ้น




                                                                                                 5

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docหน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docamppbbird
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1Siwaphon Tonpui
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังแบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docหน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1 2
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1   2โจทย์การหารที่มีเศษป. 1   2
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1 2
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังแบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 

Similar to ท่องสูตรคูณ

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555wongsrida
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตkrupornpana55
 

Similar to ท่องสูตรคูณ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
Research 2005 29
Research 2005 29Research 2005 29
Research 2005 29
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
962
962962
962
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิต
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 

ท่องสูตรคูณ

  • 1. งานวิจัยในชั้นเรียน ชื่อเรื่อง สูตรคูณนั้นสําคัญฉะไน ผูวิจัย นางสาวปยะมาศ แกวเกษการณ จุดมุงหมาย 1. ใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญ และประโยชนของการทองสูตรคูณ 2. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว 3. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได วิธีดําเนินการ 1 .วางแผนการทําวิจัย และการสรางเกมการศึกษา 2. ทําการวิจัย 3. รวบรวมขอมูล วิเคราะหและสรุปผลการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย 1. กลุมตัวอยาง นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1- 3 จํานวน 39 คน ประชากร ประถมศึกษาปที่ 1-มัธยมศึกษาปที่ 3 จํานวน 130 คน 2. เนื้อหาที่ใชในการทําวิจัย ไดแก บททองสูตรคูณ เครื่องมือที่ใช 1. บททองสูตรคูณ 2. ตารางบันทึกการทองสูตรคูณ 3. เกมการศึกษาเกี่ยวกับสูตรคูณที่สรางขึ้น ผลการประเมิน หลังจากทําการวิจัยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ผานการประเมิน 28 คน คิดเปนรอยละ 71.03 มีผูไมผานการประเมิน 11 คน คิดเปนรอยละ 28.97 ผูวิจัยสามารถใหเหตุผลที่ทําใหนักเรียนสอบ ไมผานมีดังนี้ นักเรียนไมคอยทองแมสูตรคูณ ,นักเรียนทองไดแตชาไมทันเวลาที่กําหนด,นักเรียน บางสวนเปนเด็กพิเศษ 1
  • 2. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของงานวิจัย ในวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานที่สําคัญอยางหนึ่งก็คือ การคิดคํานวณ ไดแก การบวก การลบ การคูณ และการหาร ถานักเรียนมีทักษะการคิดคํานวณที่ไมดี การเรียนคณิตศาสตรใหดีไดนั้นก็จะทํา ไดยาก จากการไดทดสอบนักเรียนรุนที่ผานๆ มา ไดพบปญหา คือ นักเรียนมีทักษะการคูณเลข และ หารเลขที่ไมดี โดยสวนมากจะคูณผิดและหารผิด หรือบางคนทําไดแตทําไดชามาก จึงทําการสอบถาม นักเรียนเกี่ยวกับปญหานี้ ปรากฏวา นัก เรียนสวนนอยไมเขาใจในวิธีการคิด แตสวนมากทําไมได เพราะ ทองสูตรคูณไมได หรือทองไดแตทองไดชามาก จึงทําใหเกิดความคิดที่จะแกปญหาในเรื่อง การทองสูตรคูณนี้ นอกจากนักเรียนจะตองใชการทองสูตรคูณในการคิดคํานวณแลว นักเรียนยัง สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอีกดวย แตในงานวิจัยชิ้นนี้จะศึกษาวิจัยเฉพาะนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 – มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2554 จํานวน 39 คน เทานั้น ดังนั้นผูวิจัยจึงไดพยายามหาแนวทางที่จะชวยใหนักเรียนสามารถทองสูตรคูณได และสามารถ นําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได จุดมุงหมาย 1. ใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญ และประโยชนของการทองสูตรคูณ 2. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว 3. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2554 จํานวน 39 คน ตัวแปรตาม 1. การทองสูตรคูณ 2. ผลการทดสอบทองสูตรคูณปากเปลา และคะแนนจากเกมการศึกษาที่สรางขึ้น 2
  • 3. กรอบแนวคิดในการวิจัย ฝกทองสูตรคูณ การทดสอบทองสูตร คะแนนจากการทดสอบ คูณปากเปลา กับเกมการศึกษา รูปแสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย ประโยชนที่คาดวาจะได 1. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว 2. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได 3
  • 4. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยอางอิง ผูคนพบแมสูตรคูณ ปทาโกรัส เปนที่รูจักกันดีในฐานะของนักคณิตศาสตรผูคิดคนสูตรคูณ หรือตารางปทาโกเรียน สูตรคูณ (ซึ่งมีไวสําหรับสอนการคูณกับเด็กนักเรียน) เปนตารางกริดที่แถวและคอลัมนมีหัวเปนตัว เลขที่จะนํามาคูณ และตัวเลขในแตละชองคือผลคูณของหัวแถวและคอลัมน 4
  • 5. บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย 1. กลุมตัวอยาง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-มัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2554 โรงเรียนบานหนองกระทุม จํานวน 39 คน 2. เนื้อหาที่ใชในการทําวิจัย ไดแก บททองสูตรคูณ วิธีดําเนินการวิจัย ระยะเวลาในการดําเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2554 – 1 มีนาคม 2555 ตารางดําเนินการวิจัย วัน/เดือน/ป กิจกรรม/ขั้นตอนการดําเนินงาน หมายเหตุ 15 พ.ย. 54 วางแผนการทําวิจัย และการสรางเกมการศึกษา 21-23 พ.ย. 54 ทดสอบการทองสูตรคูณของนักเรียนโดยวิธีทองปากเปลา บันทึกผลการทอง สูตรคูณ 28 พ.ย.54–17 ก.พ.55 นักเรียนทุกคนทองสูตรคูณตอนเขาแถวกอนกลับบาน ทําเชนนี้ทุกวัน 20 - 24 ก.พ. 55 ใหนักเรียนทดสอบกับเกมการศึกษาที่สรางขึ้น บันทึกคะแนน 27-29 ก.พ. 55 รวบรวมและวิเคราะหขอมูล 1 มี.ค. 55 สรุปผลการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 4. บททองสูตรคูณ 5. ตารางบันทึกการทองสูตรคูณ 6. เกมการศึกษาเกี่ยวกับสูตรคูณที่สรางขึ้น 5