SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
1
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา เคมีเพิ่มเติม 1 ( ว 30221)
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
2
อะตอม โมเลกุล และไอออน
Atoms Molecules and Ions
อะตอม (Atom) คือ หน่วยพื้นฐานของธาตุที่เข้าทาปฏิกิริยาเคมี
ชนิดของอนุภาค ประจุ มวล (g)
โปรตอน (proton, p)
นิวตรอน (neutron,n)
อิเล็กตรอน (electron,e- )
+
0
-
1.67  10 –24 g = 1 amu
1.67  10 –24 g = 1 amu
9.11  10 –28 g = 0.00055 amu
3
สัญลักษณ์ของธาตุ (Atomic symbol)
A
Z X สัญลักษณ์ธาตุเลขมวล
เลขอะตอม
ไอโซโทป (Isotope) คือ อะตอมที่มีเลขอะตอมเท่ากันแต่มีเลขมวลต่างกัน เช่น
ไฮโดรเจน ดิวทีเรียม ทริเทียม
H H H1 1 1
1 2 3
ตัวอย่าง จงเติมคาตอบที่ถูกต้องในช่องว่าง
56 2+Fe26สัญลักษณ์
โปรตอน 5 79 86
นิวตรอน 6 16 117 136
อิเล็กตรอน 5 18 79
ประจุสุทธิ 3- 0
4
เลขอะตอม (Atomic number, Z) คือ จานวนโปรตอนในนิวเคลียสของแต่
ละอะตอมของธาตุ
Z = p
@ ในอะตอมที่ เป็นกลาง จานวนโปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน
@ ดังนั้นเลขอะตอมจึงบอกจานวนอิเล็กตรอนในอะตอมด้วย
p = e-
เลขมวล (Mass number, A) คือ ผลรวมของนิวตรอนและโปรตอนที่มีอยู่
ในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ
A = p + n
เลขมวล = จานวนโปรตอน + จานวนนิวตรอน
= เลขอะตอม + จานวนนิวตรอน
มวลอะตอม (Atomic mass)
คือ ตัวเลขที่ได้จากการเปรียบเทียบมวลของธาตุ 1 อะตอม
กับมวลของธาตุมาตรฐาน 1 อะตอม
มวลอะตอมของธาตุ
คือ มวลเปรียบเทียบที่บอกให้ทราบว่า 1 อะตอมของธาตุนั้น
หนักเป็นกี่เท่าของธาตุมาตรฐาน
ในรูปของหน่วยมวลอะตอม (atomic mass unit, amu) เช่น
= 1.00 amu = 12.00 amu
(เดิม) (ปัจจุบัน)
1
H 12
C
5
หน่วยมาตรฐาน : amu (atomic mass unit)
1 อะตอมของ C-12 (มี 6 โปรตอน และ 6 นิวตรอน) มีมวลอะตอม 12 amu
1 amu = 1/12 ของมวล C-12 1 อะตอม
= 1.66 x 10-24 g
มวลอะตอมของธาตุใดๆ จึงเป็นตัวเลขที่แสดงว่าธาตุนั้นๆ 1 อะตอม
มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 ของมวล C-12 1 อะตอม
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม
1/12 ของมวล C-12 1 อะตอม
6
ตัวอย่างโพแทสเซียม 1 อะตอมมีมวล 64.74x10-24 กรัม จะมีมวลอะตอม
เท่าไหร่
วิธีทา
มวลอะตอมของ K =มวลของ K 1 อะตอม
1.66x10-24
มวลอะตอมของ K =64.74x10-24 กรัม
1.66x10-24 กรัม
มวลอะตอมของ K = 39
โดยทั่วไปธาตุต่างๆมักมีหลายไอโซโทปในธรรมชาติ แต่ละ
ไอโซโทปจะมีมวลอะตอมไม่เท่ากัน
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม
1.66x10-24
7
8
e.g. I หามวลอะตอมของกามะถัน เมื่อกามะถัน 1 อะตอม มีมวล
32 x 1.66 x 1024
ลองทาดู
9
ลองทาดู
e.g.II ออกซิเจน มีมวลอะตอม 16.00 ธาตุ X จะมีมวลอะตอมเท่าใด
เมื่อธาตุ X 1 อะตอม มีมวล เป็น 4 เท่าของมวลอะตอมออกซิเจน 2
อะตอม
มวลอะตอมเฉลี่ย (Average atomic mass)
: นามวลอะตอมของธาตุที่มีหลายไอโซโทปมาหามวลอะตอมเฉลี่ย
มวลอะตอมเฉลี่ย =
(ปริมาณ%ของไอโซโทป×มวลของไอโซโทป)
100

=
(%ในธรรมชาติ×มวล)
100

10
11
ตัวอย่าง ทองแดงเป็นโลหะที่มนุษย์รู้จักมาตั้งแต่สมัยโบราณใช้ทาสายไฟฟ้า
และเหรียญกษาปณ์ เป็นต้น มวลอะตอมของไอโซโทปที่เสถียร 2 ชนิด
ของทองแดง (69.09%) และ (30.91%) มีค่า 62.93
และ 64.9278 amu ตามลาดับ จงคานวณมวลอะตอมเฉลี่ยของทองแดง
63Cu29
65Cu29
มวลอะตอมเฉลี่ย =
(ปริมาณ%ของไอโซโทป×มวลของไอโซโทป)
100

=
(%ในธรรมชาติ×มวล)
100

มวลอะตอมเฉลี่ย =
= 63.55 amu
69.09×62.93 30.91×64.9278
+
100 100
12
ตัวอย่าง มวลอะตอมของไอโซโทปที่เสถียร 2 ไอโซโทปของโบรอน คือ
(19.78 %) และ (80.22 %) มีค่า 10.0129 และ 11.0093 amu
ตามลาดับ จงคานวณมวลอะตอมเฉลี่ยของโบรอน
10B5
11B5
มวลอะตอมเฉลี่ย =
(ปริมาณ%ของไอโซโทป×มวลของไอโซโทป)
100

=
(%ในธรรมชาติ×มวล)
100

มวลอะตอมเฉลี่ย =
= 10.81 amu
19.78×10.0129 80.22×11.0093
+
100 100
13
ลองทาดู
e.g. III จงหามวลอะตอมของอิริเดียม (Ir) จากข้อมูลต่อไปนี้
14
ลองทาดู
e.g. IV ธาตุซิลิคอนที่พบในธรรมชาติ มี 3 ไอโซโทป มีมวลอะตอม
เท่ากับ 27.977 28.976 และ 29.974 คิดเป็นปริมาณร้อยละ 92.21
4.70 และ 3.09 ตามลาดับ จงหามวลอะตอมของ ธาตุ ซิลิคอน
1/12 ของมวล C-12 1 อะตอม
น้าหนักโมเลกุล (Molecular Weight)
ใช้วิธีเปรียบเทียบกับมวลของธาตุมาตรฐาน C-12 เช่นเดียวกับมวลอะตอม
มวลโมเลกุลของสารใดๆ บอกให้ทราบว่า สารนั้น 1 โมเลกุลมีมวลเป็นกี่เท่า
ของ 1/12 ของมวล C-12 1 อะตอม
มวลโมเลกุล = มวลของสาร 1 โมเลกุล
15
16
มวลโมเลกุล (Molecular mass)
: ผลบวกของมวลอะตอม (เป็น amu) ของอะตอมทั้งหมดในโมเลกุล
หรือ ผลบวกของ จานวนอะตอม X มวลอะตอม ของธาตุ
มวลโมเลกุลของ NO2 = (1  มวลอะตอมของ N) + (2  มวลอะตอมของ O)
= (1  14 amu) + (2  16 amu)
= 46 amu
มวลโมเลกุลของสาร หาได้จากผลบวกของมวลอะตอม
ของธาตุทั้งหมดในโมเลกุล
เช่น SO2 = 1 S + 2 O
= (1x 32) + (2 x 16 )
= 64
H2SO4 = 2 H + 1 S + 4 O
= (2 x 1) + (1 x 32) + (4 x 16)
= 98
CH3COOH = 2 C + 2 O + 4 H
= (2 x 12) + (2 x 16) + (4 x 1)
= 6017
18
จงคานวณมวลโมเลกุลของสารประกอบต่อไปนี้
(H = 1, C = 12, N = 14, O = 16)
1) HNO3
= (1 x H) + (1 x N) + (3 x O) = (1 x 1) + (1 x 14) + (3 x 16) = 63 amu
2) C6H8O6
= (6x C) + (8 x H) + (6 x O) = (6 x 12) + (8 x 1) + (6 x 16) = 176 amu
3) H2O
= (2 x H) + (1 x O) = (2 x 1) + (1 x 16) = 18 amu
4) CH3COOH
= (2 x C) + (4 x H) + (2 x O) = (2 x 12) + (4 x 1) + (2 x 16) = 60 amu
5) C2H5OH = (2 x C) + (6 x H) + (1 x O) = (2 x 12) + (6 x 1) + (1 x 16) = 46 amu
ลองทาดู
19
ไอออน (Ion) : อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่มีการให้หรือรับอิเล็กตรอน
1. ไอออนบวก (Cation) คือ อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่มีการให้ e-
2. ไอออนลบ (Anion) คือ อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่มีการรับ e-
เช่น + + 2+ 2+ 3+ - - - -
Na K Mg Ca Al Cl Br I F
+ - 2- 2- 3-
4 3 4 3 4NH NO SO CO PO
มวลสูตร (Formula Mass)
สาหรับสารประกอบไอออนิก ผลบวกของมวลอะตอมในสูตรเคมี
คือ formula mass
เช่น formula mass ของ NaCl = 23 amu + 35.5 amu
= 58.5 amu
20
ตัวอย่าง จงคานวณ formula mass ของสารต่อไปนี้
(H = 1, Li = 7, C = 12, N = 14, O = 16, Na = 23, P = 31, S = 32, Cl = 35.5, K = 39, Br = 80)
1) KBr = (1 x K) + (1 x Br) = (1 x 39) + (1 x 80)
= 119 amu
2) Na2SO4 = (2 x Na) + (1 x S) + (4 x O) = (2 x 23) + (1 x 32) + (4 x 16)
= 142 amu
3) Li2CO3 = (2 x Li) + (1 x C) + (3 x O) = (2 x 7) + (1 x 12) + (3 x 16)
= 74 amu
4) KH2PO4 = (1 x K) + (2 x H) + (1 x P) + (4 x O) = (1 x 39) + (2 x 1) +
(1 x 31) + (4 x 16) = 136 amu
5) NH4Cl = (1 x N) + (4 x H) + (1 x Cl) = (1 x14) + (4 x 1) + (1 x 35.5)
= 53.5 amu

More Related Content

What's hot

เคมี
เคมีเคมี
เคมี
crazygno
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
Aon Narinchoti
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 

What's hot (20)

เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
Mole
MoleMole
Mole
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 

Similar to มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน

Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
kruannchem
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
Chuanchen Malila
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
krupatcharee
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
oraneehussem
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
krupatcharee
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
kruannchem
 

Similar to มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน (20)

Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
1482139114.ppt
1482139114.ppt1482139114.ppt
1482139114.ppt
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน

  • 1. 1 มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา เคมีเพิ่มเติม 1 ( ว 30221) โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
  • 2. 2 อะตอม โมเลกุล และไอออน Atoms Molecules and Ions อะตอม (Atom) คือ หน่วยพื้นฐานของธาตุที่เข้าทาปฏิกิริยาเคมี ชนิดของอนุภาค ประจุ มวล (g) โปรตอน (proton, p) นิวตรอน (neutron,n) อิเล็กตรอน (electron,e- ) + 0 - 1.67  10 –24 g = 1 amu 1.67  10 –24 g = 1 amu 9.11  10 –28 g = 0.00055 amu
  • 3. 3 สัญลักษณ์ของธาตุ (Atomic symbol) A Z X สัญลักษณ์ธาตุเลขมวล เลขอะตอม ไอโซโทป (Isotope) คือ อะตอมที่มีเลขอะตอมเท่ากันแต่มีเลขมวลต่างกัน เช่น ไฮโดรเจน ดิวทีเรียม ทริเทียม H H H1 1 1 1 2 3 ตัวอย่าง จงเติมคาตอบที่ถูกต้องในช่องว่าง 56 2+Fe26สัญลักษณ์ โปรตอน 5 79 86 นิวตรอน 6 16 117 136 อิเล็กตรอน 5 18 79 ประจุสุทธิ 3- 0
  • 4. 4 เลขอะตอม (Atomic number, Z) คือ จานวนโปรตอนในนิวเคลียสของแต่ ละอะตอมของธาตุ Z = p @ ในอะตอมที่ เป็นกลาง จานวนโปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน @ ดังนั้นเลขอะตอมจึงบอกจานวนอิเล็กตรอนในอะตอมด้วย p = e- เลขมวล (Mass number, A) คือ ผลรวมของนิวตรอนและโปรตอนที่มีอยู่ ในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ A = p + n เลขมวล = จานวนโปรตอน + จานวนนิวตรอน = เลขอะตอม + จานวนนิวตรอน
  • 5. มวลอะตอม (Atomic mass) คือ ตัวเลขที่ได้จากการเปรียบเทียบมวลของธาตุ 1 อะตอม กับมวลของธาตุมาตรฐาน 1 อะตอม มวลอะตอมของธาตุ คือ มวลเปรียบเทียบที่บอกให้ทราบว่า 1 อะตอมของธาตุนั้น หนักเป็นกี่เท่าของธาตุมาตรฐาน ในรูปของหน่วยมวลอะตอม (atomic mass unit, amu) เช่น = 1.00 amu = 12.00 amu (เดิม) (ปัจจุบัน) 1 H 12 C 5
  • 6. หน่วยมาตรฐาน : amu (atomic mass unit) 1 อะตอมของ C-12 (มี 6 โปรตอน และ 6 นิวตรอน) มีมวลอะตอม 12 amu 1 amu = 1/12 ของมวล C-12 1 อะตอม = 1.66 x 10-24 g มวลอะตอมของธาตุใดๆ จึงเป็นตัวเลขที่แสดงว่าธาตุนั้นๆ 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 ของมวล C-12 1 อะตอม มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม 1/12 ของมวล C-12 1 อะตอม 6
  • 7. ตัวอย่างโพแทสเซียม 1 อะตอมมีมวล 64.74x10-24 กรัม จะมีมวลอะตอม เท่าไหร่ วิธีทา มวลอะตอมของ K =มวลของ K 1 อะตอม 1.66x10-24 มวลอะตอมของ K =64.74x10-24 กรัม 1.66x10-24 กรัม มวลอะตอมของ K = 39 โดยทั่วไปธาตุต่างๆมักมีหลายไอโซโทปในธรรมชาติ แต่ละ ไอโซโทปจะมีมวลอะตอมไม่เท่ากัน มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม 1.66x10-24 7
  • 8. 8 e.g. I หามวลอะตอมของกามะถัน เมื่อกามะถัน 1 อะตอม มีมวล 32 x 1.66 x 1024 ลองทาดู
  • 9. 9 ลองทาดู e.g.II ออกซิเจน มีมวลอะตอม 16.00 ธาตุ X จะมีมวลอะตอมเท่าใด เมื่อธาตุ X 1 อะตอม มีมวล เป็น 4 เท่าของมวลอะตอมออกซิเจน 2 อะตอม
  • 10. มวลอะตอมเฉลี่ย (Average atomic mass) : นามวลอะตอมของธาตุที่มีหลายไอโซโทปมาหามวลอะตอมเฉลี่ย มวลอะตอมเฉลี่ย = (ปริมาณ%ของไอโซโทป×มวลของไอโซโทป) 100  = (%ในธรรมชาติ×มวล) 100  10
  • 11. 11 ตัวอย่าง ทองแดงเป็นโลหะที่มนุษย์รู้จักมาตั้งแต่สมัยโบราณใช้ทาสายไฟฟ้า และเหรียญกษาปณ์ เป็นต้น มวลอะตอมของไอโซโทปที่เสถียร 2 ชนิด ของทองแดง (69.09%) และ (30.91%) มีค่า 62.93 และ 64.9278 amu ตามลาดับ จงคานวณมวลอะตอมเฉลี่ยของทองแดง 63Cu29 65Cu29 มวลอะตอมเฉลี่ย = (ปริมาณ%ของไอโซโทป×มวลของไอโซโทป) 100  = (%ในธรรมชาติ×มวล) 100  มวลอะตอมเฉลี่ย = = 63.55 amu 69.09×62.93 30.91×64.9278 + 100 100
  • 12. 12 ตัวอย่าง มวลอะตอมของไอโซโทปที่เสถียร 2 ไอโซโทปของโบรอน คือ (19.78 %) และ (80.22 %) มีค่า 10.0129 และ 11.0093 amu ตามลาดับ จงคานวณมวลอะตอมเฉลี่ยของโบรอน 10B5 11B5 มวลอะตอมเฉลี่ย = (ปริมาณ%ของไอโซโทป×มวลของไอโซโทป) 100  = (%ในธรรมชาติ×มวล) 100  มวลอะตอมเฉลี่ย = = 10.81 amu 19.78×10.0129 80.22×11.0093 + 100 100
  • 14. 14 ลองทาดู e.g. IV ธาตุซิลิคอนที่พบในธรรมชาติ มี 3 ไอโซโทป มีมวลอะตอม เท่ากับ 27.977 28.976 และ 29.974 คิดเป็นปริมาณร้อยละ 92.21 4.70 และ 3.09 ตามลาดับ จงหามวลอะตอมของ ธาตุ ซิลิคอน
  • 15. 1/12 ของมวล C-12 1 อะตอม น้าหนักโมเลกุล (Molecular Weight) ใช้วิธีเปรียบเทียบกับมวลของธาตุมาตรฐาน C-12 เช่นเดียวกับมวลอะตอม มวลโมเลกุลของสารใดๆ บอกให้ทราบว่า สารนั้น 1 โมเลกุลมีมวลเป็นกี่เท่า ของ 1/12 ของมวล C-12 1 อะตอม มวลโมเลกุล = มวลของสาร 1 โมเลกุล 15
  • 16. 16 มวลโมเลกุล (Molecular mass) : ผลบวกของมวลอะตอม (เป็น amu) ของอะตอมทั้งหมดในโมเลกุล หรือ ผลบวกของ จานวนอะตอม X มวลอะตอม ของธาตุ มวลโมเลกุลของ NO2 = (1  มวลอะตอมของ N) + (2  มวลอะตอมของ O) = (1  14 amu) + (2  16 amu) = 46 amu
  • 17. มวลโมเลกุลของสาร หาได้จากผลบวกของมวลอะตอม ของธาตุทั้งหมดในโมเลกุล เช่น SO2 = 1 S + 2 O = (1x 32) + (2 x 16 ) = 64 H2SO4 = 2 H + 1 S + 4 O = (2 x 1) + (1 x 32) + (4 x 16) = 98 CH3COOH = 2 C + 2 O + 4 H = (2 x 12) + (2 x 16) + (4 x 1) = 6017
  • 18. 18 จงคานวณมวลโมเลกุลของสารประกอบต่อไปนี้ (H = 1, C = 12, N = 14, O = 16) 1) HNO3 = (1 x H) + (1 x N) + (3 x O) = (1 x 1) + (1 x 14) + (3 x 16) = 63 amu 2) C6H8O6 = (6x C) + (8 x H) + (6 x O) = (6 x 12) + (8 x 1) + (6 x 16) = 176 amu 3) H2O = (2 x H) + (1 x O) = (2 x 1) + (1 x 16) = 18 amu 4) CH3COOH = (2 x C) + (4 x H) + (2 x O) = (2 x 12) + (4 x 1) + (2 x 16) = 60 amu 5) C2H5OH = (2 x C) + (6 x H) + (1 x O) = (2 x 12) + (6 x 1) + (1 x 16) = 46 amu ลองทาดู
  • 19. 19 ไอออน (Ion) : อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่มีการให้หรือรับอิเล็กตรอน 1. ไอออนบวก (Cation) คือ อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่มีการให้ e- 2. ไอออนลบ (Anion) คือ อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่มีการรับ e- เช่น + + 2+ 2+ 3+ - - - - Na K Mg Ca Al Cl Br I F + - 2- 2- 3- 4 3 4 3 4NH NO SO CO PO มวลสูตร (Formula Mass) สาหรับสารประกอบไอออนิก ผลบวกของมวลอะตอมในสูตรเคมี คือ formula mass เช่น formula mass ของ NaCl = 23 amu + 35.5 amu = 58.5 amu
  • 20. 20 ตัวอย่าง จงคานวณ formula mass ของสารต่อไปนี้ (H = 1, Li = 7, C = 12, N = 14, O = 16, Na = 23, P = 31, S = 32, Cl = 35.5, K = 39, Br = 80) 1) KBr = (1 x K) + (1 x Br) = (1 x 39) + (1 x 80) = 119 amu 2) Na2SO4 = (2 x Na) + (1 x S) + (4 x O) = (2 x 23) + (1 x 32) + (4 x 16) = 142 amu 3) Li2CO3 = (2 x Li) + (1 x C) + (3 x O) = (2 x 7) + (1 x 12) + (3 x 16) = 74 amu 4) KH2PO4 = (1 x K) + (2 x H) + (1 x P) + (4 x O) = (1 x 39) + (2 x 1) + (1 x 31) + (4 x 16) = 136 amu 5) NH4Cl = (1 x N) + (4 x H) + (1 x Cl) = (1 x14) + (4 x 1) + (1 x 35.5) = 53.5 amu