SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
เส้นทางสู่คุณภาพการศึกษา
วิจารณ์ พานิช
ประธานมูลนิธิสถาบันการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
บรรยายใการประชุมและนาเสนอผลงานวิชาการทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 4 เรื่อง “เส้นทางสู่คุณภาพการศึกษายุค ไทยแลนด์ 4.0
จัดโดยคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ที่ศูนย์ประชุมสตาร์เวลล์ นครราชสีมา
ยุคประเทศไทย ๔.๐
ข้อจากัด
• ไม่มีพื้นฐานทฤษฎีทางการศึกษา
• ไม่ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ
• ไม่รู้จริง
• พึงรับฟังโดยยึดหลักกาลามสูตร
ประเด็นนาเสนอ
• การศึกษาเพื่อประเทศไทย ๔.๐
• คุณภาพการศึกษาสาหรับเยาวชน
• การเรียนรู้ของคนทางาน
• บทบาทของมหาวิทยาลัย
• บทบาทของคณะศึกษาศาสตร์
ประเด็นนาเสนอ
• การศึกษาเพื่อประเทศไทย ๔.๐
• คุณภาพการศึกษาสาหรับเยาวชน
• การเรียนรู้ของคนทางาน
• บทบาทของมหาวิทยาลัย
• บทบาทของคณะศึกษาศาสตร์
การศึกษาเพื่อประเทศไทย ๔.๐
• Creative Economy & Society
• Innovative Thailand
• Disruptive Change / Development
ตีความแผน ๒๐ ปี
สู่
การศึกษาเพื่อประเทศไทย ๔.๐
• เพื่อสร้างนวัตกรรมในทุกงาน ทุก sector ทุกระดับ
สังคม
• คนทุกคน/ทุกอายุเป็น “ผู้ทางานด้วยความรู้”
(knowledge worker)
• มีการเรียนรู้ ณ ทุกจุดของชีวิต ทุกหย่อมหญ้า
• ทุกคนมีทักษะเรียนรู้ (learning skills)
การเรียนรู้เพื่อประเทศไทย ๔.๐
• แต่ละคน เป็นเจ้าของ/จัดการ การเรียนรู้ของตน
• ท้องถิ่น เป็นเจ้าของ/จัดการ การเรียนรู้ของท้องถิ่น
• ชาวบ้านรวมตัวกันเรียนรู้ เพื่อชีวิตที่ดีของตน
หลากหลายรูปแบบ
• รัฐจัดอานวยความสะดวก ไม่ใช่จัดบงการอย่าง
ปัจจุบัน จัด eLearning Tools ให้
การเรียนรู้เพื่อประเทศไทย ๔.๐
• เป็นการเรียนรู้แบบ “ประชาธิปไตย”
• โดยประชาชน ของประชาชน เพื่อประชาชน เพื่อ
ประเทศไทย ๔.๐
• จัดการจากฐานล่าง ไม่ใช่สั่งการจากส่วนกลาง
• เพื่อทุกหย่อมหญ้า มี & ใช้ความริเริ่มสร้างสรรค์ สู่
นวัตกรรม เพื่อ creative economy & creative society
การเรียนรู้เพื่อประเทศไทย ๔.๐
• จาก Command & Control สู่ Empowerment
• ให้ประชาชนติดอาวุธทางปัญญาให้แก่ตนเอง
• ติดอาวุธทางปัญญาแก่กันและกัน
• เพื่อเปลี่ยนเศรษฐกิจและสังคม แบบ disruptive
change
เปลี่ยนบทบาทของภาครัฐ
บ้านเมืองมั่นคงยิ่งขึ้น
ประเด็นนาเสนอ
• การศึกษาเพื่อประเทศไทย ๔.๐
• คุณภาพการศึกษาสาหรับเยาวชน
• การเรียนรู้ของคนทางาน
• บทบาทของมหาวิทยาลัย
• บทบาทของคณะศึกษาศาสตร์
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
• ของเด็กทุกคน ไม่ใช่เฉพาะเด็กเก่ง/สมองดี
• นิยาม “สมองดี” ใหม่
• ผลลัพธ์ทุกด้าน ไม่ใช่เฉพาะด้านวิชา
คุณภาพอยู่ที่ผลลัพธ์การเรียนรู้
วิธียกระดับผลลัพธ์การเรียนรู้อย่างง่าย
ตั้งความหวังให้สูง ส่งเสริมเต็มที่ (High expectation,
High support)
https://www.gotoknow.org/posts/619876
ลงทุนที่ห้องเรียน
วิธียกระดับผลลัพธ์การเรียนรู้อย่างง่าย
ตั้งความหวังให้สูง ส่งเสริมเต็มที่ (High expectation,
High support)
https://www.gotoknow.org/posts/619876
ลงทุนที่ห้องเรียน
พยายามเต็มที่
(High effort)
จับเส้นวัยรุ่น
แก้ปัญหาเด็กออก
กลางคัน ปีละ ๓ แสนคน
https://www.gotoknow.org/posts/620818
https://www.scientificamerican.com/
article/a-surprising-new-way-to-
encourage-healthy-
eating/?WT.mc_id=SA_MB_20161207
วัยรุ่นชอบท้าทาย ต่อต้าน
อานาจ ต้องการเป็น
บุคคลสาคัญ
วิถีการเรียนรู้ใหม่
• เรียนโดยลงมือทา เพื่อให้เกิดทักษะ (Learning by Doing)
• สุดยอดทักษะ ๔ ประการ (๓ร ๑ว) : แรงบันดาลใจ/ไฟ
(Inspiration Skills) เรียนรููู้ (Learning Skills) ร่วมมือ
(Collaboration Skills) วินัย (ในตน) (Self-Discipline
Skills)
• เรียนโดยการลงมือทาเป็นทีม แล้วร่วมกันไตร่ตรองว่าได้
เรียนรู้อะไร ต้องการเรียนอะไรต่อ/เพิ่ม
คุณภาพครู
• ความเป็นครู วิญญาณครู คุณธรรมของครู
• ทักษะครู ทักษะห้องเรียน
• แรงจูงใจครู ระบบรางวัลและยกย่อง ความ
เจริญก้าวหน้า
• การพัฒนาครูประจาการ
• หลักสูตรผลิตครูใหม่
สิ่งที่ครูในศตวรรษที่ ๒๑ เผชิญ
• ความรู้เปลี่ยนเร็ว
• ความเข้าใจกลไกการเรียนรู้เปลี่ยน
• ตัวช่วย / ตัวขัดขวาง (ICT) เปลี่ยน
• เด็กเปลี่ยน
• สังคม/โลกเปลี่ยน
• เป้าหมายของการเรียนรู้เปลี่ยน
ครูทาอะไรให้แก่ศิษย์
• Inspirator กระตุ้นแรงบันดาลใจ
• Designer ออกแบบกิจกรรม และ “นั่งร้าน” (Scaffold)
• Facilitator โดยตั้งคาถาม ชวนคิด
• Assessor (Formative Assessment) ประเมินเพื่อพัฒนา
• Constructive Feedback ให้คิดไปข้างหน้า มุมานะ GrowthMindset
• Summative Evaluation ยืนยันว่าบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
ครูทาอะไรให้แก่ตน
• Inspirator
• Designer ออกแบบกิจกรรม และ “นั่งร้าน” (Scaffold)
• Facilitator โดยตั้งคาถาม ชวนคิด
• Assessor (Formative Assessment) ประเมินเพื่อพัฒนา
• Constructive Feedback ให้คิดไปข้างหน้า มุมานะ
• Summative Evaluation ยืนยันว่าบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
ทาสิ่งเดียวกันให้แก่ตนเอง และแก่เพื่อนครู
ชีวิตครู คือชีวิต(แห่งการเดินทาง)เพื่อการเรียนรู้
ครูต้องเข้าใจและพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตน
ประเมินขณะสอน(แบบไม่สอน)
• ประเมินเพื่อหนุนการเรียนรู้ (Formative
Assessment)
• ตามด้วยคาแนะนาป้อนกลับแบบ
สร้างสรรค์(Constructive Feedback)
• แล้วจึงประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้
(Summative Evaluation) เพื่อยืนยันว่าบรรลุเป้าหมาย
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Dylan_Wiliam
บทบาทครูไทยในศตวรรษที่ ๒๑
• ต้องเปลี่ยนจากการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๑๙ และ ๒๐ ทั้งด้านเป้าหมาย
และวิธีการ
• ต้องเป็น CBL, PBL, AL, SBL (Service-Based), WIL, TBL
(Team-Based)
• เรียนโดยลงมือทา ตามด้วยการไตร่ตรองสะท้อนคิด
• ผู้เรียนเกิดการพัฒนา meta-cognition skills
ประเมินและปรับปรุงวิธีการเรียนรู้ของตนได้
บทบาทครูไทยในศตวรรษที่ ๒๑ (๒)
• เปลี่ยนบทบาทเป็น Inspirator, Designer, Facilitator,
Coach, Scaffolding Provider, AAR/Reflection
Facilitator, Formative Assessor, Constructive
Feedback Provider, Summative Evaluator
• โดยที่การทาหน้าที่เหล่านั้นซ้อนเหลื่อมกัน
• เกิดขึ้นอย่างอัตโนมัติในชั้นเรียน
บทบาทครูไทยในศตวรรษที่ ๒๑ (๓)
• เป็น Learner ใน PLC ... เรียนรู้ร่วมกัน
กับเพื่อนครู ผ่านการปฏิบัติหน้าที่ครู
• เป็นการเรียนรู้แบบไม่รู้จบ
• ต้องการการจัดการการเปลี่ยนแปลง ใน
ระดับสถาบัน
• เป็น “ผู้ปฏิบัติงาน” เพื่อเรียนรู้
ประเด็นนาเสนอ
• การศึกษาเพื่อประเทศไทย ๔.๐
• คุณภาพการศึกษาสาหรับเยาวชน
• การเรียนรู้ของคนทางาน
• บทบาทของมหาวิทยาลัย
• บทบาทของคณะศึกษาศาสตร์
การเรียนรู้ของคนทางาน
• ทุกคนเป็น knowledge worker
• เรียนก่อน ระหว่าง และหลัง การทางาน
• เรียนรู้ร่วมกันในหมู่เพื่อนร่วมงาน
• มีการเก็บ “บทเรียน” (Lessons Learned) จากการ
ทางาน วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดระบบความรู้
ส่งเสริมการนาไปใช้ใหม่ และยกระดับความรู้
• มี Knowledge Facilitators
การเรียนรู้ของคนทางาน
• ทุกคนเป็น knowledge worker
• เรียนก่อน ระหว่าง และหลัง การทางาน
• เรียนรู้ร่วมกันในหมู่เพื่อนร่วมงาน
• มีการเก็บ “บทเรียน” (Lessons Learned) จากการทางาน วิเคราะห์
สังเคราะห์ จัดระบบความรู้ ส่งเสริมการนาไปใช้ใหม่ และยกระดับ
ความรู้
• มี Knowledge Facilitators
KM 4.0
หัวใจ KM : การปฏิบัติ
• เรียนรู้จากการปฎิบัติ
• นา ความรู้ สู่การปฏิบัติ
• ยกระดับความรู้จากการปฏิบัติ
• เรียนรู้เป็นทีม
• ผลลัพธ์ : งาน คน องค์กร ทีม
หลักการสาคัญ ของ KM 4.0
• เป็น Change management เปลี่ยนวัฒนธรรม
• มี KM Framework มีแผนงานเป็นขั้นตอน
มีการจัดการ KM Enablers
• เป็น journey สู่สภาพที่ KM ฝังอยู่ในงาน
ประจา
• โฟกัสเป้าหมาย
• ทาอย่างเป็นระบบ เพื่อใช้พลังความรู้ ใน
การบรรลุเป้าหมายงานที่ยกระดับต่อเนื่อง
http://kmi.or.th/wp-content/uploads/2015/11/new-sky-of-km.pdf
https://www.gotoknow.org/posts/tags/จัดการความรู้สู่เนื้อในองค์กร
ประเด็นนาเสนอ
• การศึกษาเพื่อประเทศไทย ๔.๐
• คุณภาพการศึกษาสาหรับเยาวชน
• การเรียนรู้ของคนทางาน
• บทบาทของมหาวิทยาลัย
• บทบาทของคณะศึกษาศาสตร์
บทบาทของมหาวิทยาลัยต่อ ปทท. ๔.๐
สร้าง creativity ให้แก่สังคม
- เข้าไปช่วยปฏิรูปการเรียนรู้ในโรงเรียน
- ปรับหลักสูตรการเรียนการสอนของตน
- University – Social Engagement ร่วมคิด
ร่วมพัฒนา ร่วมเรียนรู้ ร่วมรับผล
- บริการรายวิชาแก่ผู้ใหญ่
บทบาทของมหาวิทยาลัยต่อ ปทท. ๔.๐
สร้าง creativity ให้แก่สังคม
- เข้าไปช่วยปฏิรูปการเรียนรู้ในโรงเรียน
- ปรับหลักสูตรการเรียนการสอนของตน
- University – Social Engagement ร่วมคิด
ร่วมพัฒนา ร่วมเรียนรู้ ร่วมรับผล
- บริการรายวิชาแก่ผู้ใหญ่
โดยการเรียนรู้ร่วมกันผ่านการปฏิบัติ แล้ว
ร่วมกันไตร่ตรองสะท้อนคิด
บทบาทของมหาวิทยาลัยต่อ ปทท. ๔.๐
• เปลี่ยนจากแหล่งถ่ายทอดความรู้สาเร็จรูป
• เป็นแหล่งเรียนรู้ โดยการปฏิบัติในสภาพจริง ชีวิต
จริง ตามด้วย collective reflection
• From preach to TEACH …. To … Act & Reflect to
LEARN – Learn Together
ปรับเปลี่ยนมหาวิทยาลัยเพื่อ ปทท. ๔.๐
• การเรียนการสอน วิจัย บริการวิชาการ และทานุ
บารุงศิลปวัฒนธรรมเป็นกิจกรรมเดียวกัน(บูรณา
การภารกิจ) ... ทางานแล้วไตร่ตรองสะท้อนคิด
ร่วมกัน
• เป็น Service Learning ไปในตัว นศ. & อจ. พัฒนา
จิตสาธารณะ
ปรับเปลี่ยนมหาวิทยาลัยเพื่อ ปทท. ๔.๐
• การเรียนการสอน วิจัย บริการวิชาการ และทานุบารุง
ศิลปวัฒนธรรมเป็นกิจกรรมเดียวกัน (บูรณาการภารกิจ)
... ทางานแล้วไตร่ตรองสะท้อนคิดร่วมกัน
• เป็น Service Learning ไปในตัว นศ. & อจ. พัฒนาจิต
สาธารณะ
Learning Reform
Learning Reform
• ปูพื้นทฤษฎีด้วย flipped classroom 1 ส่วน
• เรียนในการปฏิบัติ 3 ส่วน integrate reflection เพื่อ
ทาความเข้าใจทฤษฎีในมิติที่ลึก
• อาจารย์ต้องฝึกออกแบบการเรียนรู้แบบใหม่
• ฝึก coaching, facilitating, mentoring
ประเด็นนาเสนอ
• การศึกษาเพื่อประเทศไทย ๔.๐
• คุณภาพการศึกษาสาหรับเยาวชน
• การเรียนรู้ของคนทางาน
• บทบาทของมหาวิทยาลัย
• บทบาทของคณะศึกษาศาสตร์
ฟื้นศักดิ์ศรีครู
• คุณธรรม จริยธรรม ความน่าเชื่อถือ
• ความสาเร็จในชีวิตครู : ใครคือครู ครูคือใคร
• สร้างผู้นา ผู้รับผิดชอบต่อสังคม ผู้ให้
• เป็นผู้นา ผู้เรียนรู้ มีทักษะเรียนรู้
• สร้างศาสตร์ว่าด้วยการเรียนรู้ ในสังคมยุคใหม่
• นักตั้งคาถาม
ฟื้นศักดิ์ศรีครู
• คุณธรรม จริยธรรม ความน่าเชื่อถือ
• ความสาเร็จในชีวิตครู : ใครคือครู ครูคือใคร
• สร้างผู้นา ผู้รับผิดชอบต่อสังคม ผู้ให้
• เป็นผู้นา ผู้เรียนรู้ มีทักษะเรียนรู้
• สร้างศาสตร์ว่าด้วยการเรียนรู้ ในสังคมยุคใหม่
• นักตั้งคาถาม
ศักดิ์ศรีได้จากการปฏิบัติ การให้
ฟื้นศักดิ์ศรีครู
• คุณธรรม จริยธรรม ความน่าเชื่อถือ
• ความสาเร็จในชีวิตครู : ใครคือครู ครูคือใคร
• สร้างผู้นา ผู้รับผิดชอบต่อสังคม ผู้ให้
• เป็นผู้นา ผู้เรียนรู้ มีทักษะเรียนรู้
• สร้างศาสตร์ว่าด้วยการเรียนรู้ ในสังคมยุคใหม่
• นักตั้งคาถาม
ศักดิ์ศรีได้จากการปฏิบัติ การให้
คณะศึกษาศาสตร์ทาอย่างไร
บทบาทต่อการพัฒนาครูประจาการ
• เปลี่ยนจาก training-based เป็น learning-
based
• เปลี่ยนห้องสอนเป็นห้องเรียน ... ของ
นักเรียนและของครู
• ครูเรียนจากพฤติกรรมในห้องเรียนของ
ศิษย์
• เอามา ลปรร. ใน PLC ของครู
https://www.gotoknow.org/posts/617459
บทบาทสร้างครูพันธุ์ใหม่
• ทาอย่างไร
• ไม่ทาอย่างไร
บทบาทสร้างครูพันธุ์ใหม่
• ทาอย่างไร
• ไม่ทาอย่างไร
สร้าง ครูเพื่อศิษย์
บทบาทสร้างครูพันธุ์ใหม่
• ทาอย่างไร
• ไม่ทาอย่างไร
สร้าง ครูเพื่อศิษย์
สร้างจากห้องเรียน
บทบาทสร้างครูพันธุ์ใหม่
• ทาอย่างไร
• ไม่ทาอย่างไร
สร้างคุณค่า
ของการเป็น “ครูเพื่อศิษย์”
“ ถ้าครูไม่ห่วงประโยชน์ที่ควรจะห่วง หันไปห่วงอานาจ
ห่วงตาแหน่ง ห่วงสิทธิ์ และ ห่วงรายได้กันมากเข้า ๆ แล้ว
จะเอาจิตเอาใจที่ไหน มาห่วงความรู้ ความดี ความเจริญของ
เด็ก ความห่วงในสิ่งเหล่านั้น ก็จะค่อย ๆ บั่นทอนทาลาย
ความเป็นครูไปจนหมดสิ้น จะไม่มีอะไรเหลือไว้พอที่ตัวเอง
จะภาคภูมิใจ หรือผูกใจใครไว้ได้ความเป็นครูก็จะไม่มีค่า
เหลืออยู่ให้เป็นที่เคารพบูชาอีกต่อไป ”
พระราชดารัสแก่ครูอาวุโส ในโอกาสเข้าเฝ้าฯ
วันเสาร์ ที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๒๑
ทั้งโรงพยาบาลสามารถสร้างแรงบันดาล
ใจได้ในทุกๆ ส่วนครับ ไม่ว่าจะเป็นการ
ตกแต่ง การเอางานศิลปะมาตั้งแสดง อีก
ทั้งกระบวนการพัฒนาและหลอมคนให้
เข้าใจคาว่า Needs of the patients come
first เป็นแกนหลัก แล้วงานทั้งหมดสร้าง
ขึ้นมาเพื่อตอบคาๆ นี้ จึงทาให้ทุกคน
ตั้งใจทางานเพื่อทาสิ่งที่เขายึดเหมือนกัน
ทั้งหมดก็คือ คนไข้
อีเมล์ของ นพ. ก้องเกียรติ เกษเพ็ชร์
ถึง ศ. นพ. ธาดา ยิบอินซอย ๒๕๕๓
จากการไปเยี่ยมโรงพยาบาลเมโย ๓ วัน
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Nilson
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Mezirow
https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/001/118/349/original_8a511172e210f2942a79c400363f4033.jpg
การท้าทายระบบโลกทัศน์
เปลี่ยนทั้งเนื้อทั้งตัว
ประสบการณ์ตรง + ไตร่ตรองสะท้อนคิด
ใจ คิด พฤติกรรม
+ อารมณ์
พลังทั้งหก
คุณภาพการเรียนรู้เพื่อประเทศไทย ๔.๐
• เป็นคุณภาพคนละกระบวนทัศน์กับแนวเดิม
• เรียน “เพื่อสร้างความรู้ในตน” ๓ มิติ : ความรู้ ทักษะ
บุคลิกและคุณธรรม (คุณงามความดี)
• เรียนจากการทางาน + สะท้อนคิด
• เรียนเป็นทีม
• เพื่อกล้าแหวกแนว เพื่อเป็นผู้เปลี่ยนแปลงสังคม

More Related Content

What's hot

การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
Prachyanun Nilsook
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology Research
Tar Bt
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
likhit j.
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
Nisachol Poljorhor
 

What's hot (20)

Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology Research
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environment
 
Develop school
Develop schoolDevelop school
Develop school
 
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-ResearchFlipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การพัฒนาครูอาชีวศึกษา
การพัฒนาครูอาชีวศึกษาการพัฒนาครูอาชีวศึกษา
การพัฒนาครูอาชีวศึกษา
 
Flipped 2014
Flipped 2014Flipped 2014
Flipped 2014
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0
 
Todsalak610802
Todsalak610802Todsalak610802
Todsalak610802
 
Education psu
Education psuEducation psu
Education psu
 
Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1
 
Teacher Tools for competency-based classroom
Teacher Tools for competency-based classroomTeacher Tools for competency-based classroom
Teacher Tools for competency-based classroom
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 

Viewers also liked

สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิชสอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
Utai Sukviwatsirikul
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
แผนงาน นสธ.
 

Viewers also liked (6)

สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิชสอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
สอนเด็กให้เป็นคนดี ศ นพ วิจารณ์ พานิช
 
พลังผู้นำ สพฐ. 601002
พลังผู้นำ สพฐ. 601002พลังผู้นำ สพฐ. 601002
พลังผู้นำ สพฐ. 601002
 
Pmac assessment
Pmac assessmentPmac assessment
Pmac assessment
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
 
ขอบฟ้าใหม่ในการจัดการความรู้ Mu 591129
ขอบฟ้าใหม่ในการจัดการความรู้ Mu 591129ขอบฟ้าใหม่ในการจัดการความรู้ Mu 591129
ขอบฟ้าใหม่ในการจัดการความรู้ Mu 591129
 
R2R_KM4.0Thailand4
R2R_KM4.0Thailand4R2R_KM4.0Thailand4
R2R_KM4.0Thailand4
 

Similar to คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0

แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
WC Triumph
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
Nirut Uthatip
 

Similar to คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0 (20)

Teach pro bu_610524
Teach pro bu_610524Teach pro bu_610524
Teach pro bu_610524
 
Gd610910 n
Gd610910 nGd610910 n
Gd610910 n
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716
 
Ku 620507
Ku 620507Ku 620507
Ku 620507
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
High education21
High education21High education21
High education21
 
Sripatum learning
Sripatum learningSripatum learning
Sripatum learning
 
Tl 620719 n_2
Tl 620719 n_2Tl 620719 n_2
Tl 620719 n_2
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-lastการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
 
Upeswu 610712 n
Upeswu 610712 nUpeswu 610712 n
Upeswu 610712 n
 
การ ปป. ที่มีผลต่อการบริหารและพัฒนามหาฯ 601113
การ ปป. ที่มีผลต่อการบริหารและพัฒนามหาฯ 601113การ ปป. ที่มีผลต่อการบริหารและพัฒนามหาฯ 601113
การ ปป. ที่มีผลต่อการบริหารและพัฒนามหาฯ 601113
 
H aforum21
H aforum21H aforum21
H aforum21
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
LifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptxLifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptx
 
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
 
Educate21 4
Educate21 4Educate21 4
Educate21 4
 

More from Pattie Pattie

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0